การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจced.wu.ac.th/seminar/coopwu/document/ekkarat/problem...การแก...

Post on 26-Jul-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจ

ผศ.ดร.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์

นายเอกราช แก้วเขียว

ประเด็นการน าเสนอ

1. ความหมาย และวัตถุประสงค์ 2. หลักการส าคัญในการให้ค าปรึกษา 3. ทักษะพื้นฐานในการให้ค าปรึกษา

และการแก้ไขปัญหา 4. KM การจัดการความรู้ในงานสหกิจศึกษา 5. กิจกรรมกลุ่ม (แก้ปัญหาสหกิจศึกษา)

แบบทดสอบ PAC ข้อแนะน า แบบทดสอบนี้ต้องการวัดความรู้สึกของท่าน เกี่ยวกับบุคลิกลักษณะของตัวท่าน ตามระดับความมากน้อยของลักษณะของท่านดังต่อไปนี้

0- ไม่จริงเลย 1- ไม่ค่อยจริง

2- จริงเพียงเลก็น้อย 3- จริงพอสมควร

4- จริงค่อนข้างมาก

5- จริงมาก

6- จริงมากที่สุด

บุคลิกภาพผู้ท าหน้าที่ให้ค าปรึกษา

1. ความหมาย การให้ค าปรึกษา

การให้ค าปรึกษา : เป็นกระบวนการ แห่งสัมพันธภาพ ระหว่าง ผู้ให้ค าปรึกษา และ ผู้ขอรับค าปรึกษา

ผู้ที่เกี่ยวข้องในการให้ค าปรึกษา

ผู้ให้ค าปรึกษา CO (Counselor) ได้แก่ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา

ผู้รับค าปรึกษา CL (Client) ได้แก่ นักศึกษาสหกิจศึกษา / ผู้นิเทศงาน

สัมพันธภาพแห่งการให้ค าปรึกษา

หลักการพื้นฐานในการให้ค าปรึกษา

ไม่ใช่การบ าบัดการผิดปกต ิ

ไม่ใช่การแนะน าสั่งสอน หรือ การให้

ไม่จ ากัดอยู่เพียงการแก้ปัญหา

เป็นกระบวนการพัฒนาตนเอง

ความเชื่อเก่ียวกับธรรมชาติของคน

ทุกชีวิตมีปัญหา การแก้ปัญหา จะเกิดขึ้นได้ เมื่อมีการยอมรับตามสภาพความเป็นจริง ปัญหาส่วนใหญ่มักมีสัญญาณล่วงหน้า

ชีวิตคนมี 3 มิติ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต

2. หลักการส าคัญในการให้ค าปรึกษา

ความยากล าบากของการใหค้ าปรึกษา

“ ต้องสืบค้น ปัญหาของที่ผู้รับค าปรึกษา

คืออะไร และเขาต้องการสื่อสารอะไรกับเรา ”

ต่างจากการสอน ที่ผู้สอนจะทราบข้อเท็จจริงมาก่อนแล้ว

หลักการส าคัญในการให้ค าปรึกษา (ต่อ)

ต้องมีบรรยากาศที่เป็นส่วนตัว ด าเนินการภายใต้จรรยาบรรณในการให้ค าปรึกษา เมื่อสัมพันธภาพ ระหว่างผู้ให้ค าปรึกษา และผู้รับ ค าปรึกษามีระดับสูงมากพอ ผู้รับค าปรึกษาจะเต็มใจ เปิดเผยความรู้สึกที่แท้จริงโดยไม่ปกปิด หรือซ่อนเร้น

ขั้นตอนการให้ค าปรึกษา 1. การเริ่มต้น (Attending)

2. การส ารวจปัญหา (Exploration)

3. ท าความเข้าใจปัญหา (Understanding)

4. ตั้งเป้าหมายและด าเนินการแก้ปัญหา (Action)

5. ยุติการให้ค าปรึกษา (Termination) และติดตามผล

ทฤษฎีการให้ค าปรึกษา

1. การให้ค าปรึกษาแบบน าทาง

ทฤษฎีการให้ค าปรึกษา

2. การให้ค าปรึกษาแบบไม่น าทาง

ทฤษฎีการให้ค าปรึกษา

3. การให้ค าปรึกษาแบบผสมผสาน

3. ทักษะการให้ค าปรึกษา

1. การเปิดสนทนาเพื่อสร้างสายสัมพันธ์ (Establishing Rapport) บนพื้นฐานของความจริงใจ เริ่มต้นการให้ค าปรึกษา โดยการสนทนาด้วยเรื่องทั่ว ๆ ไป

เพื่อให้บรรยากาศมีความผ่อนคลาย

2. การฟังแบบลึก ฟังจากใจ เคารพความคิด แตะเบรค

ความคิดก่อน ไม่ด่วนตัดสิน และสรุปเป็นความคิดใหม่ 3. การทวนความ Reflection of Content or Paraphrasing 4. การเข้าใจความรู้สึก และเห็นใจอย่างลึกซึ้ง

Empathy VS Sympathy

3. ทักษะการให้ค าปรึกษา (ต่อ)

3. ทักษะการให้ค าปรึกษา (ต่อ) 5.เทคนิค (I-Message)

ควรใช้ “ครูไม่สบายใจเลย ที่เธอไปท างานสาย ครูอยากให้เธอ ไปท างานตรงเวลา” ครูจะดีใจมาก ถ้าเธอ ตั้งใจท างาน ครูอยากเห็นความส าเร็จของเธอ” หลีกเลี่ยง (You-Message) “เธอน่ีแย่มาก ไปท างานสายบ่อย / พี่เลี้ยงเธอ โทรฯ

มาบอกครูหลายครั้งแล้ว”

3. ทักษะการให้ค าปรึกษา (ต่อ)

6. การให้ก าลังใจ / การไม่แสดงความเบื่อหน่าย

7. การใช้ค าถามปลายเปิด / ปลายปิด

8. การท าให้กระจ่าง Clarifying

Cl. : ผมไม่มั่นใจว่า พี่ที่ปรึกษาจะให้ผมจะผ่านการประเมินหรือเปล่า

Co. : ไหนลองบอกครูซิว่าอะไรท าให้เธอไม่มั่นใจ

3. ทักษะการให้ค าปรึกษา (ต่อ)

9. การสะท้อนความรู้สึก (Reflection of feeling) Cl. : ผมเป็นคนเดียวที่ผู้จัดการมักจะคอยจับผิด

และมักจะใช้ผมท างานมากกว่าใคร Co. : ในความรู้สึกของเธอ เธอคิดว่าผู้จัดการไม่ให้

ความยุติธรรมแก่เธอเท่ากับเพื่อนๆ ใช่ไหม 10. การสรุปความ Summarizing 11. การชี้ความเป็นปกติธรรมดา Normalizing

การประยุกต์การให้ค าปรึกษาในงานสหกิจศึกษา

1. การให้ค าปรึกษาแบบออนไลน ์2. การให้ค าปรึกษาทางโทรศัพท์ 3. การให้ค าปรึกษาผ่าน ศูนย์ HOTLINE สหกิจศึกษาของสถาบันการศึกษา / Networking 4. การพัฒนา Super Counselor 5. คลังปัญหา ตัวอย่างปัญหาและ การแก้ไข และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผ่านระบบสารเทศ 6. การคัดกรองนักศึกษาที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตโดยแพทย์ หรือนักจิตวิทยาก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

4. KM การจัดการความรู้ในงานสหกิจศึกษา

ก่อนไปปฏิบัติงาน

ระหว่างการปฏิบัติงาน หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

ปัญหาที่เกิดขึ้นในการด าเนินงานสหกิจศึกษา

ด้านสถานศึกษา

ด้านสถานประกอบการ

ด้านนักศึกษา

ด้านอื่น ๆ

1. ปัญหาด้านสถานศึกษา

การเตรียมพร้อมนักศึกษา ไม่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ ท าให้สถานประกอบการต้องเตรียมนักศึกษาเพิ่มเติม

อาจารย์นิเทศไม่ได้ไปนิเทศ ณ สถานประกอบการ แต่ท าการนิเทศด้วยช่องทางอ่ืน

การก าหนดวันนิเทศ ณ สถานประกอบการท าได้ยาก เนื่องจากอาจารย์และ ผู้นิเทศงาน มีวันเวลาสะดวกไม่ตรงกัน

อาจารย์ขาดความเข้าใจ มองไม่เห็นถึงประโยชน์ที่ได้รับมองเป็นภาระ

1. ปัญหาด้านสถานศึกษา (ต่อ)

จ านวนคณาจารย์นิเทศมีไม่เพียงพอกับจ านวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น

มีภาระหน้าที่รับผิดชอบค่อนข้างมาก ท าให้การจัดเวลาในการนิเทศจึงท าได้ค่อนข้างยาก

ขาดประสบการณ์ในการให้ค าแนะน าการปฏิบัติงานของนักศึกษา

ขาดทักษะที่จ าเป็นต่อการนิเทศงานนักศึกษา

ความไม่คล่องตัวหรือการไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร เช่น การอนุมัติงบประมาณในการนิเทศ ความสะดวกในการเดินทางไปนิเทศ ระเบียบของทางมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง

2. ปัญหาด้านสถานประกอบการ

ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์และประโยชน์ในการรับนักศึกษามาปฏิบัติงาน

สถานประกอบการและผู้นิเทศงานมองเป็นภาระ

บุคลากรของสถานประกอบการมีความเชี่ยวชาญในวชิาชีพ แต่ขาดทักษะในการถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษา

มอบหมายงานที่ไม่เหมาะสมให้กับนักศึกษา

มีการปรับเปล่ียนโครงงานหรืองานที่ยากเกินศักยภาพนักศึกษา

2. ปัญหาด้านสถานประกอบการ (ต่อ)

จ านวนสถานประกอบการไม่สมดุลกับจ านวนของนักศึกษาที่ออกปฏิบัติงานในแต่ละภาคการศึกษา

ผู้นิเทศไม่ได้วางแผนการสอนงาน

ไม่จัดสวัสดิการให้นักศึกษาที่เข้ามาปฏิบัติงาน

เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการปฏิบัติงานจากที่เคยระบุไว้

3. ปัญหาด้านนักศึกษา

ไม่เห็นประโยชน์ของการออกปฏิบัติงาน มองเป็นการเสียโอกาสที่จะส าเร็จการศึกษาตามก าหนด

ขาดความตั้งใจในกระบวนการเตรียมความพร้อม

ความรู้พื้นฐานของนักศึกษาทางด้านวิชาชีพ ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน

การปรับตัวเพื่อเข้ากับผู้นิเทศงาน และสภาพแวดล้อมในการท างานของสถานประกอบการ

การตรงต่อเวลาของนักศึกษา

3. ปัญหาด้านนักศึกษา (ต่อ)

ขาดการติดต่อกับอาจารย์นิเทศ ไม่มีการรายงานความก้าวหน้า ในการปฏิบัติงาน

ขาดความอดทน และตั้งใจในการปฏิบัติงาน

ขาดทักษะด้านที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงาน การท าโครงงาน

ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน การเดินทาง / เกิดอุบัติเหตุจากการท างาน

มีปัญหาด้านสุขภาพ

การวางตัวที่ไม่เหมาะสม รวมถึงปัญหาชู้สาว

5. กิจกรรมกลุ่ม

Case – Study (แก้ปัญหาสหกิจศึกษา)

ถาม-ตอบ การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา

ผศ.ดร.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ดร.อัตนันท์ เตโชพิศาลวงศ์

นายเอกราช แก้วเขียว

top related