อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 ·...

Post on 26-Dec-2019

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

อัญชลี จนัทาโภ

https://www.youtube.com/watch?v=VwdCDFZBETI การเชด็ตวัลดไข ้10 นาท ี

https://youtu.be/FfWnO3QOrd0 เชด็ตวัลดไขใ้นเดก็

การวดัสญัญาณชีพ และ การเชด็ตวัลดไข้ ใหน้กัศกึษาศกึษา youtube การวดัสญัญาณชพี และ การเชด็ตวัลดไข ้ ตวัอยา่ง url

สญัญาชีพ (vital signs) เป็นสญัญาณท่ีบง่บอกถึงการมีชีวิต ความปกติหรือความผิดปกติของรา่งกาย สญัญาณชีพประกอบด้วย 4 อาการแสดงคือ

1) อณุหภมิูร่างกาย หรือ Body Temperature ตวัย่อคือ T

2) ชีพจร หรือ อตัราการเต้นของหวัใจ หรือ Pulse หรือ Pulse rate ตวัย่อคือ P

3) อตัราการหายใจ หรือ Respiratory rate ใช้ตวัย่อ RR หรือ R

4) ความดนัโลหิต หรือ Blood pressure ใช้ตวัย่อ BP

1. บอกความหมาย ความส าคญัและลกัษณะของสญัญาณชีพได้

2. บอกปัจจยัท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของสญัญาณชีพได้

3. ประเมินสญัญาณชีพได้

4. ให้การเชด็ตวัลดไข้ได้

การวดัสญัญาณชีพ Vital signs หมายถึงการวดั ความดนัโลหิต ชีพจร การหายใจ และอณุหภมิู ซ่ึงมีความส าคญัต่อการด ารงชีวิต และการการเปล่ียนแปลงภาวะสขุภาพ

ความส าคญัของการวดัสญัญาณชีพ เพ่ือประเมินการเปล่ียนแปลงของภาวะสขุภาพของบคุคล

คือการนับอตัราการเต้นของหวัใจ โดยนับผา่นการเต้นของหลอดเลือดแดงในระยะเวลา 1 นาที

ต าแหน่งท่ีนิยมวดั หรือ จบัชีพจร คือ ต าแหน่งด้านหน้าข้อมือส่วนท่ีต า่กว่าฐานของน้ิวหวัแม่มือ โดยการวางน้ิว ช้ีและน้ิวกลางลงบนต าแหน่งนัน้ กดลงเบาๆกจ็ะรบัรู้ได้ถึงการเต้นของหลอดเลือดแดง

อาย ุ อายเุพิม่ขึน้อตัราการเตน้ของชพีจรจะลดลง ในผูใ้หญ่อตัราการเตน้ของชพีจร 60-100 (เฉลีย่ 80 b/m)

เพศ หลงัวยัรุน่ คา่เฉลีย่ของอตัราการเตน้ของชพีจรของผูช้ายจะต ่ากวา่หญงิเลก็น้อย

การออกก าลงักาย อตัราการเตน้ของชพีจรจะเพิม่ขึน้เมือ่ออกก าลงักาย

ไข ้อตัราการเตน้ของชพีจรเพิม่ขึน้ เพือ่ปรบัตวัใหเ้ขา้กบัความดนัเลอืดทีต่ ่าลง ซึง่เป็นผลมาจากเสน้เลอืดสว่นปลายขยายตวัท าใหอุ้ณหภมูริา่งกายสงูขึน้ (เพิม่ metabolic

rate)

ยา ยาบางชนิด ลดอตัราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหวัใจ เช่น digitalis ลดอตัราการเต้นของชีพจร(กระตุ้น parasympathetic)

การสญูเสียเลือด (Hemorrhage) ท าให้อตัราการเต้นของชีพจรสงูขึน้

ความเครียด ความกลวั, ความวิตกกงัวล และอาการเจบ็ปวด จะกระตุ้น sympathetic nervous เพ่ิม การเต้นของชีพจร

ท่าทาง เม่ืออยู่ในท่ายืนหรือนัง่ชีพจรจะเต้นเพ่ิมขึน้ (เรว็ขึน้) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า)

ส่ิงท่ีต้องสงัเกตในการจบัชีพจร อตัราการเต้นของชีพจร จ านวนครัง้ของความรู้สึกท่ีได้จากคล่ืนบนเส้นเลือดแดงกระทบน้ิวหรือการฟังท่ีapex ของหวัใจในเวลา 1 นาที หน่วยเป็นครัง้ต่อวินาที (bpm) อตัราการเต้นของชีพจรปกติอยู่ในช่วง

ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 bpm 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 bpm 12-2 ปี ประมาณ 80 – 130 bpm 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 bpm 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 bpm วยัรุ่น-วยัผูใ้หญ่ ประมาณ 60 – 100 bpm

Respiratory rate มกัเขียนย่อว่า RR หรือ R คือการจบัวดัอตัราการหายใจเข้าออกในระยะเวลา 1 นาทีอตัราการหายใจของผูใ้หญ่ปกติจะประมาณ 12-18 ครัง้ต่อนาที

อตัราการหายใจ หรือการตรวจนับอตัราการหายใจ ท าได้โดย ผูป่้วยอยู่ในท่านัง่ หรือ นอน ผูต้รวจนับจะให้ผูป่้วยหายใจตามปกติ และจะเฝ้าดูการขยายตวัของทรวงอกร่วมกบัการจบัเวลา เม่ือหน้าอกขยาย 1 ครัง้นับเป็น 1 และนับการขยายของหน้าอกไปเรื่อยๆจนครบ 1 นาที

- ขึน้กบัอาย ุ(เดก็จะหายใจเรว็กว่าผูใ้หญ่) -ช่วงพกัจะหายใจช้ากว่าเม่ือออกแรง - คนอ้วนจะหายใจเรว็กว่าคนผอม - อารมณ์ (เมื่อโกรธ กลวั จะหาย ใจเรว็ขึน้) - ภาวะผิดปกติต่างๆ รวมทัง้โรคกจ็ะส่งผลถึงอตัราการหายใจเช่นกนั เช่น อตัราการหายใจจะสงูขึน้เม่ือ มีไข้ ภาวะขาดน ้า ภาวะขาดสมดลุของเกลือแร่ในร่างกาย โรคของปอด หรือ โรคติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น

อณุหภมิูปกติของผูใ้หญ่ปกติท่ีวดัทางปาก คือ 37 +/- 0.5 องศาเซลเซียส/ Celsius

ต าแหน่งท่ีใช้วดัอณุหภมิูร่างกาย • วดัอณุหภมิูทางปาก โดยอณุหภมิูปกติ คือ 36.8 C

• วดัอณุหภมิูทางรกัแร ้โดยอณุหภมิูปกติ คือ 36.4 C

• วดัอณุหภมิูทวารหนัก (นิยมใช้ในเดก็เลก็) โดยอณุหภมิูปกติ คือ 37.6 C

หากวดัอณุหภมิูได้มากกว่า 37.8 C จะถือว่ามีไข้ ให้ปฐมพยาบาลด้วยการเชด็ตวัลดไข้ ซ่ึงสามารถท าได้บอ่ยครัง้รว่มกบัรบัประทนยาลดไข้ทกุ 4-6 ชัว่โมง

วิธีวดัปรอทหรือวิธีวดัไข้ โดยทัว่ไปใช้ปรอทวดัไข้อยู่ (Mercury glass

thermometer)

ความดนัโลหติคอืความดนัเลอืด คอืแรงดนัของเลอืดทีก่ระท าต่อผนังหลอดเลอืด

ในรา่งกายของเราประกอบไปดว้ยหลอดเลอืดแดง หลอดเลอืดด า และหลอดเลอืดฝอย โดยหลอดเลอืดจะมหีน้าทีล่ าเลยีงเลอืดทีป่ระกอบไปดว้ยน ้า ออกซเิจน และวติามนิแร่ธาตุสารอาหารต่างๆไปหลอ่เลีย้งเซลลต์่างๆในรา่งกาย

การทีห่ลอดเลอืดจน าสง่เลอืดไปสูเ่ซลลแ์ละอวยัวะต่างๆไดน้ัน้ จะตอ้งไดร้บัแรงดนัจากการบบีตวัของหวัใจ หวัใจจงึเป็นอวยัวะทีส่ าคญั ในการบบีตวัเพือ่ใหเ้ซลลไ์ดร้บัสารอาหารทีเ่พยีงพอ

หวัใจจะมกีารบบีตวัและคลายตวัเป็นจงัหวะ เกดิเป็นแรงดนัทีส่ง่ผลต่อหลอดเลอืดขึน้ และนัน่จงึเรยีกวา่ “ความดนัโลหติ” นัน่เอง

เมือ่หวัใจบบีตวัและคลายตวั จะเกดิความดนักบัหลอดเลอืด เมือ่หวัใจบบีตวัเพือ่สง่เลอืดไปเลีย้งเซลล ์จะท าใหเ้กดิแรงดนัสงูสดุต่อหลอดเลอืด และเมือ่หวัใจคลายตวั คา่ความดนัจะลดลงต ่าสุด เราจงึวดัคา่ทัง้สองเวลาเพือ่น ามาใชพ้จิารณาวา่เรามคีา่ความดนัเทา่ไร

คา่ความดนัโลหติปกต ิ

ความดนัโลหติตวับนควรน้อยกวา่ 120 มลิลเิมตรปรอทหรอือยา่งมากไมเ่กนิ 130 มลิลเิมตรปรอท

สว่นความดนัโลหติตวัล่างไมค่วรสงูกวา่ 80 มลิลเิมตรปรอทหรอือยา่งมากไมเ่กนิ 85 มลิลเิมตรปรอท จงึจะจดัอยูใ่นกลุม่ความดนัโลหติดหีรอืปกต ิ

ในการวดัความดนัดว้ยเคร่ืองวดัความดนัไม่วา่จะเป็นในส่วนของตน้แขนหรือขอ้มือมีขอ้ควรปฏิบติัดงัน้ี

ไม่ควรรัดแน่นเกินไป ควรรัดใหพ้อดีๆ อยา่เกร็งตวั ผอ่นคลาย ยดืแขนออกมาใหส้บายๆ เวลาวดัใหน้ัง่วดั หรือ นอน หากแขนเส้ือยาวมาบงัใหถ้กแขนเส้ือข้ึน ไม่ควรวดับนเส้ือผา้หนาๆ เอาผา้พนัตน้แขนในบริเวณท่ีสูงเท่ากบัหวัใจ และควรวดัใหสู้งข้ึนไปจากขอ้พบัแขน

มากกวา่ 2-3 ซม. หรือ 1 น้ิว ควรวดัค่าอยา่งสม ่าเสมอเพื่อเกบ็ขอ้มูลไดถู้กตอ้ง ไม่ควรวดัหลงัจากออกก าลงักาย หลงัจากเพิ่งสูบบุหร่ี และหลงัจากอาบน ้าเสร็จใหม่ๆ

เอกสารอ้างอิง http://thainurseclub.blogspot.com/2014/06/p-u-l-s-

e.html

Human body temperature http://en.wikipedia.org/wiki/Human_body_temperature [2013,March5]

Vital sign http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/002341.htm [2013,March5].

http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/003399.htm [2013,March4].

http://haamor.com/th/สัญญาณชีพ/

https://www.youtube.com/watch?v=VwdCDFZBETI

https://youtu.be/FfWnO3QOrd0

top related