อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 ·...

23
อัญชลี จันทาโภ

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

อัญชลี จนัทาโภ

Page 2: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

https://www.youtube.com/watch?v=VwdCDFZBETI การเชด็ตวัลดไข ้10 นาท ี

https://youtu.be/FfWnO3QOrd0 เชด็ตวัลดไขใ้นเดก็

การวดัสญัญาณชีพ และ การเชด็ตวัลดไข้ ใหน้กัศกึษาศกึษา youtube การวดัสญัญาณชพี และ การเชด็ตวัลดไข ้ ตวัอยา่ง url

Page 3: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

สญัญาชีพ (vital signs) เป็นสญัญาณท่ีบง่บอกถึงการมีชีวิต ความปกติหรือความผิดปกติของรา่งกาย สญัญาณชีพประกอบด้วย 4 อาการแสดงคือ

1) อณุหภมิูร่างกาย หรือ Body Temperature ตวัย่อคือ T

2) ชีพจร หรือ อตัราการเต้นของหวัใจ หรือ Pulse หรือ Pulse rate ตวัย่อคือ P

3) อตัราการหายใจ หรือ Respiratory rate ใช้ตวัย่อ RR หรือ R

4) ความดนัโลหิต หรือ Blood pressure ใช้ตวัย่อ BP

Page 4: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

1. บอกความหมาย ความส าคญัและลกัษณะของสญัญาณชีพได้

2. บอกปัจจยัท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของสญัญาณชีพได้

3. ประเมินสญัญาณชีพได้

4. ให้การเชด็ตวัลดไข้ได้

Page 5: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

การวดัสญัญาณชีพ Vital signs หมายถึงการวดั ความดนัโลหิต ชีพจร การหายใจ และอณุหภมิู ซ่ึงมีความส าคญัต่อการด ารงชีวิต และการการเปล่ียนแปลงภาวะสขุภาพ

ความส าคญัของการวดัสญัญาณชีพ เพ่ือประเมินการเปล่ียนแปลงของภาวะสขุภาพของบคุคล

Page 6: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

คือการนับอตัราการเต้นของหวัใจ โดยนับผา่นการเต้นของหลอดเลือดแดงในระยะเวลา 1 นาที

ต าแหน่งท่ีนิยมวดั หรือ จบัชีพจร คือ ต าแหน่งด้านหน้าข้อมือส่วนท่ีต า่กว่าฐานของน้ิวหวัแม่มือ โดยการวางน้ิว ช้ีและน้ิวกลางลงบนต าแหน่งนัน้ กดลงเบาๆกจ็ะรบัรู้ได้ถึงการเต้นของหลอดเลือดแดง

Page 7: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 8: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 9: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

อาย ุ อายเุพิม่ขึน้อตัราการเตน้ของชพีจรจะลดลง ในผูใ้หญ่อตัราการเตน้ของชพีจร 60-100 (เฉลีย่ 80 b/m)

เพศ หลงัวยัรุน่ คา่เฉลีย่ของอตัราการเตน้ของชพีจรของผูช้ายจะต ่ากวา่หญงิเลก็น้อย

การออกก าลงักาย อตัราการเตน้ของชพีจรจะเพิม่ขึน้เมือ่ออกก าลงักาย

ไข ้อตัราการเตน้ของชพีจรเพิม่ขึน้ เพือ่ปรบัตวัใหเ้ขา้กบัความดนัเลอืดทีต่ ่าลง ซึง่เป็นผลมาจากเสน้เลอืดสว่นปลายขยายตวัท าใหอุ้ณหภมูริา่งกายสงูขึน้ (เพิม่ metabolic

rate)

Page 10: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

ยา ยาบางชนิด ลดอตัราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหวัใจ เช่น digitalis ลดอตัราการเต้นของชีพจร(กระตุ้น parasympathetic)

การสญูเสียเลือด (Hemorrhage) ท าให้อตัราการเต้นของชีพจรสงูขึน้

ความเครียด ความกลวั, ความวิตกกงัวล และอาการเจบ็ปวด จะกระตุ้น sympathetic nervous เพ่ิม การเต้นของชีพจร

ท่าทาง เม่ืออยู่ในท่ายืนหรือนัง่ชีพจรจะเต้นเพ่ิมขึน้ (เรว็ขึน้) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า)

Page 11: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

ส่ิงท่ีต้องสงัเกตในการจบัชีพจร อตัราการเต้นของชีพจร จ านวนครัง้ของความรู้สึกท่ีได้จากคล่ืนบนเส้นเลือดแดงกระทบน้ิวหรือการฟังท่ีapex ของหวัใจในเวลา 1 นาที หน่วยเป็นครัง้ต่อวินาที (bpm) อตัราการเต้นของชีพจรปกติอยู่ในช่วง

ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 bpm 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 bpm 12-2 ปี ประมาณ 80 – 130 bpm 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 bpm 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 bpm วยัรุ่น-วยัผูใ้หญ่ ประมาณ 60 – 100 bpm

Page 12: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

Respiratory rate มกัเขียนย่อว่า RR หรือ R คือการจบัวดัอตัราการหายใจเข้าออกในระยะเวลา 1 นาทีอตัราการหายใจของผูใ้หญ่ปกติจะประมาณ 12-18 ครัง้ต่อนาที

อตัราการหายใจ หรือการตรวจนับอตัราการหายใจ ท าได้โดย ผูป่้วยอยู่ในท่านัง่ หรือ นอน ผูต้รวจนับจะให้ผูป่้วยหายใจตามปกติ และจะเฝ้าดูการขยายตวัของทรวงอกร่วมกบัการจบัเวลา เม่ือหน้าอกขยาย 1 ครัง้นับเป็น 1 และนับการขยายของหน้าอกไปเรื่อยๆจนครบ 1 นาที

Page 13: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

- ขึน้กบัอาย ุ(เดก็จะหายใจเรว็กว่าผูใ้หญ่) -ช่วงพกัจะหายใจช้ากว่าเม่ือออกแรง - คนอ้วนจะหายใจเรว็กว่าคนผอม - อารมณ์ (เมื่อโกรธ กลวั จะหาย ใจเรว็ขึน้) - ภาวะผิดปกติต่างๆ รวมทัง้โรคกจ็ะส่งผลถึงอตัราการหายใจเช่นกนั เช่น อตัราการหายใจจะสงูขึน้เม่ือ มีไข้ ภาวะขาดน ้า ภาวะขาดสมดลุของเกลือแร่ในร่างกาย โรคของปอด หรือ โรคติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น

Page 14: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

อณุหภมิูปกติของผูใ้หญ่ปกติท่ีวดัทางปาก คือ 37 +/- 0.5 องศาเซลเซียส/ Celsius

ต าแหน่งท่ีใช้วดัอณุหภมิูร่างกาย • วดัอณุหภมิูทางปาก โดยอณุหภมิูปกติ คือ 36.8 C

• วดัอณุหภมิูทางรกัแร ้โดยอณุหภมิูปกติ คือ 36.4 C

• วดัอณุหภมิูทวารหนัก (นิยมใช้ในเดก็เลก็) โดยอณุหภมิูปกติ คือ 37.6 C

หากวดัอณุหภมิูได้มากกว่า 37.8 C จะถือว่ามีไข้ ให้ปฐมพยาบาลด้วยการเชด็ตวัลดไข้ ซ่ึงสามารถท าได้บอ่ยครัง้รว่มกบัรบัประทนยาลดไข้ทกุ 4-6 ชัว่โมง

Page 15: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

วิธีวดัปรอทหรือวิธีวดัไข้ โดยทัว่ไปใช้ปรอทวดัไข้อยู่ (Mercury glass

thermometer)

Page 16: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 17: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

ความดนัโลหติคอืความดนัเลอืด คอืแรงดนัของเลอืดทีก่ระท าต่อผนังหลอดเลอืด

ในรา่งกายของเราประกอบไปดว้ยหลอดเลอืดแดง หลอดเลอืดด า และหลอดเลอืดฝอย โดยหลอดเลอืดจะมหีน้าทีล่ าเลยีงเลอืดทีป่ระกอบไปดว้ยน ้า ออกซเิจน และวติามนิแร่ธาตุสารอาหารต่างๆไปหลอ่เลีย้งเซลลต์่างๆในรา่งกาย

การทีห่ลอดเลอืดจน าสง่เลอืดไปสูเ่ซลลแ์ละอวยัวะต่างๆไดน้ัน้ จะตอ้งไดร้บัแรงดนัจากการบบีตวัของหวัใจ หวัใจจงึเป็นอวยัวะทีส่ าคญั ในการบบีตวัเพือ่ใหเ้ซลลไ์ดร้บัสารอาหารทีเ่พยีงพอ

หวัใจจะมกีารบบีตวัและคลายตวัเป็นจงัหวะ เกดิเป็นแรงดนัทีส่ง่ผลต่อหลอดเลอืดขึน้ และนัน่จงึเรยีกวา่ “ความดนัโลหติ” นัน่เอง

Page 18: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

เมือ่หวัใจบบีตวัและคลายตวั จะเกดิความดนักบัหลอดเลอืด เมือ่หวัใจบบีตวัเพือ่สง่เลอืดไปเลีย้งเซลล ์จะท าใหเ้กดิแรงดนัสงูสดุต่อหลอดเลอืด และเมือ่หวัใจคลายตวั คา่ความดนัจะลดลงต ่าสุด เราจงึวดัคา่ทัง้สองเวลาเพือ่น ามาใชพ้จิารณาวา่เรามคีา่ความดนัเทา่ไร

คา่ความดนัโลหติปกต ิ

ความดนัโลหติตวับนควรน้อยกวา่ 120 มลิลเิมตรปรอทหรอือยา่งมากไมเ่กนิ 130 มลิลเิมตรปรอท

สว่นความดนัโลหติตวัล่างไมค่วรสงูกวา่ 80 มลิลเิมตรปรอทหรอือยา่งมากไมเ่กนิ 85 มลิลเิมตรปรอท จงึจะจดัอยูใ่นกลุม่ความดนัโลหติดหีรอืปกต ิ

Page 19: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

ในการวดัความดนัดว้ยเคร่ืองวดัความดนัไม่วา่จะเป็นในส่วนของตน้แขนหรือขอ้มือมีขอ้ควรปฏิบติัดงัน้ี

ไม่ควรรัดแน่นเกินไป ควรรัดใหพ้อดีๆ อยา่เกร็งตวั ผอ่นคลาย ยดืแขนออกมาใหส้บายๆ เวลาวดัใหน้ัง่วดั หรือ นอน หากแขนเส้ือยาวมาบงัใหถ้กแขนเส้ือข้ึน ไม่ควรวดับนเส้ือผา้หนาๆ เอาผา้พนัตน้แขนในบริเวณท่ีสูงเท่ากบัหวัใจ และควรวดัใหสู้งข้ึนไปจากขอ้พบัแขน

มากกวา่ 2-3 ซม. หรือ 1 น้ิว ควรวดัค่าอยา่งสม ่าเสมอเพื่อเกบ็ขอ้มูลไดถู้กตอ้ง ไม่ควรวดัหลงัจากออกก าลงักาย หลงัจากเพิ่งสูบบุหร่ี และหลงัจากอาบน ้าเสร็จใหม่ๆ

Page 20: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 21: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 22: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ
Page 23: อัญชลี จันทาโภ · 2017-09-27 · เอาผา้พนัต้นแขนในบริเวณที่สูงเท่ากบัหัวใจ

เอกสารอ้างอิง http://thainurseclub.blogspot.com/2014/06/p-u-l-s-

e.html

Human body temperature http://en.wikipedia.org/wiki/Human_body_temperature [2013,March5]

Vital sign http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/002341.htm [2013,March5].

http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/003399.htm [2013,March4].

http://haamor.com/th/สัญญาณชีพ/

https://www.youtube.com/watch?v=VwdCDFZBETI

https://youtu.be/FfWnO3QOrd0