สงครามสารสนเทศ 97

Post on 20-Jun-2015

1.954 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

สงครามสารสนเทศ : ภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ

วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553เวลา 09.00 – 12.00 น.

ห้องประชุมศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวชิาการป้องกนัประเทศโดย กานต ์ยืนยง

เกริ่นน า

• ข้อขัดแย้งในประเทศขณะนี้เป็นปัญหาทางการเมือง ต้องแก้ด้วยการเมือง

• ปมทางภูมิรัฐศาสตร์ของประเทศไทยทิ้งเง่ือนไขการก่อความไม่สงบในประเทศ

• พัฒนาการของสังคมและมนุษยชาติ เน้นการยอมรับในระบบนิติรัฐ การแก้ปัญหาอย่างสันติ และต้องขจัดเง่ือนไขขัดแย้งพื้นฐาน

• ทฤษฎีช่วยโฟกัสมุมมองให้เป็นระบบ แต่ทุกทฤษฎีก็มีข้อจ ากัด ต้องมีการตรวจสอบจากข้อเท็จจริงในสนาม

สมมติฐาน : พลังมวลชนสองสี

• สองกระแสใหญ่ในสังคม : (1) การตรวจสอบ และเอาผิดผู้ท าหน้าที่สาธารณะได้ (accountability) (2) ความเท่าเทียมกันทั้งในมิติด้านกฎหมายและโอกาสทางเศรษฐกิจ

• คนช้ันกลาง : การเป็นพลเมือง มีสิทธิ มีส่วนร่วม ในการก าหนดนโยบายสาธารณะของประเทศ

• คนช้ันรากหญ้า : โอกาสทางเศรษฐกิจ และการใช้สิทธิเสรีภาพภายใต้กฎหมาย

กบฎในเขตต่างจังหวัด 2445

• เกิดกบฏเงี้ยว มีการลุกข้ึนสู้ของชาวนาท่ีจังหวัดแพร่ มีคนงานรัฐไทยใหญ่ชักชวนให้เจ้าผู้ครองเมืองและขุนนางสนับสนุนพวกเขาขับไล่ ข้าราชการสยามออกไป รัฐบาลที่กรุงเทพฯ สงสัยว่าเจ้านายเหล่านี้วางแผนคบคิดก่อกบฏตั้งแต่ต้น

• เกิดกบฏผู้มีบุญ มีกบฏชาวนาอย่างกว้างขวางในอีสาน การกบฏครั้งใหญ๋ที่สุดมีชาวนาประมาณสองพันห้าร้อยคน รวมตัวกันยึดหัวเมืองเอาไว้ได้ หลังจากรัฐบาลที่กรุงเทพฯ เก็บภาษีรัชชูปการเม่ือปี พ.ศ. 2442

• เกิดกบฏรัฐมลายู มีการประท้วงขึ้นที่เขตชายแดนภาคใต้ โดยมีกรมการระดับล่างท่ีมองว่าอ านาจของตนถูกดึงไปโดยรัฐบาลศูนย์กลางเป็นผู้ น า กบฏนี้ยังได้รับการสนับสนุนอย่างลับๆ จากเจ้าเมืองรัฐมลายูต่างๆ

การแก้ไขของรัฐไทย

• การตั้งทหารประจ าการที่กรุงเทพฯ และทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์

• การปฏิรูปกิจการทหาร และจัดตั้งต้นแบบกองทัพภาค (กองทัพที่ 1,2,3)

• การก่อตั้งกรมต ารวจ

ยุทธศาสตร์ “ชนบทล้อมเมืองของพคท.” 2521

กองก าลังติดอาวุธของ พคท.ทั่วประเทศ (เมื่อ มี.ค. ๒๑) ได้แบ่งเป็น ยอดก าลัง ๒ สภาพ คือ ยอดพิสูจน์ทราบ ๖๕๔๒ คน ยอดประมาณการ ๙๐๙๐ คน (ตามรายละเอียดในแผ่นใส) ทั้งนี้ ไม่รวมก าลังนิสิตนักศึกษาและปัญญาชน ซ่ึงปฏิบัติงานเป็นแนวร่วมของ พคท. ในพื้นที่ต่างๆอีกประมาณ ๓๒๒๗

การแก้ไขของรัฐไทย

• ค าสั่ง 66/23 ใช้การเมืองน าการทหาร• สาเหตุของการก่อการร้ายคอมมิวนิสต์

เป็นเร่ืองของความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ความไม่เท่าเทียมทางการเมือง

• การแตกกันของ Soviet-Sino Bloc

• พลาซ่าแอคคอร์ดและการเติบโตทางเศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่

นัยยะทางภูมิรัฐศาสตร์ของรัฐไทย•การรวมศูนย์อ านาจทางการเมืองและเศรษฐกิจไว้ที่กรุงเทพฯ•การสร้างสมดุลการกระจายอ านาจทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจให้กับส่วนท้องถิ่น ในขณะที่ศูนย์กลางอ านาจในกรุงเทพฯ ยังคงสามารถควบคุมและผูกพันรัฐไทยเอาไว้ได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน•การคงพื้นที่ป้องกันศูนย์อ านาจจากกรุงเทพฯจากการขยายอิทธิพลจากรัฐคู่แข่ง ทางเหนือคือรัฐล้านนา, ทางตะวันออกคือพื้นที่แถบอีสาน (ยังคงมีช่องว่างในดินแดนภาคตะวันออก-กัมพูชาที่ยังไม่มีพื้นที่จ าเป็น ป้องกัน), ทางตะวันตกจะมีแนวพรมแดนธรรมชาติ ส่วนทางใต้คือรัฐมลายู แต่มีปัญหาจากการบุกรุกจากทะเลฝ่ังอ่าวไทย และอันดามัน ปัญหาจุดอ่อนจากพื้นที่ฝ่ังตะวันออก และภาคใต้ สอดคล้องกับแผนที่ประเทศญี่ปุ่นบุกไทยในสงครามโลกครั้งที่สอง แนวทางเคล่ือนทัพของประเทศญี่ปุ่นเดินทัพมาจากสองทิศทางนี้•การใช้แนวทางดุลอ านาจหากเผชิญมหาอ านาจที่มีอิทธิพลระดับโลก โดยใช้คู่แข่งอ านาจที่มีความทัดเทียมกัน แต่ในที่สุดจะคงความเป็นตัวของตัวเองเอาไว้•การเป็นรัฐค้าขายมากกว่ารัฐทางทหาร

ปัญหารัฐไทย 2553

• ความขัดแย้งสี ทางการเมือง• ความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดน

ใต้• ปัญหาผู้ใช้แรงงานข้ามชาติจาก

ประเทศเพื่อนบ้าน (ในอนาคต?)

การแก้ไขของรัฐไทย?

• Old Professionalism -> New Professionalism

• Strategic Response Unit

• Transparency Defense planning & budgeting

• คือการปฏิรูปที่ไม่สิ้นสุดของกองทัพไทยในความท้าทายใหม่ๆ

Antonio Gramsci : Cultural Hegemony

• หลังปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ไม่มีการปฏิวัติ

• ชนชั้นกระฎุมพีสร้างการครอบง าผ่านการยินยอม (consent) มากกวา่การบังคับ (coercion)

• ขยายผลประโยชน์ของชนชั้นน า ออกไปเป็นผลประโยชน์ของภาคสาธารณะ และกลายเป็นความต้องการของมวลชน

บทบาทของปัญญาชน

• รักษาการครองอ านาจน าของชนชั้นตนเหนือสังคมโดยรวม

• ปัญญาชนท าหน้าที่ตีความ อรรถาธิบาย ให้ความหมาย และส่งผ่าน text ไปยังมวลชน เพ่ือท าการจัดตั้งหรือก าหนดบทบาททางอุดมการณ-์วัฒนธรรม

• ปัญญาชนเป็นได้ทั้ง พระ ครู ช่างเทคนิค ผู้จัดการ ข้าราชการ นักสังคมสงเคราะห์ อาจารย์ นักข่าว ฯลฯ

สงครามตรึงก าลังตั้งม่ัน (War of Position)

• การต่อสู้ทางอุดมการณ์เพ่ือช่วงชิงจิตส านึกของมวลชน

• รื้อโครงสร้างอุดมการณ์สายหลัก• แยกแยะและวิเคราะห์องค์ประกอบ• วิพากษ์กระบวนการทางสังคม แล้วสร้าง

หรือตีความองค์ประกอบนั้นใหม่• เป็นการค่อยๆยึดพ้ืนที่ทางความคิดทีละ

จุด โดยไม่ท าลายอุดมการณห์ลักอย่างสิ้นเชิง

• เมื่อได้รับชัยชนะ (ฉันทามติ) จะง่ายต่อการท าสงครามเคลื่อนก าลังโจมตี (War of maneuver)

Hegemony and Media : Hallin

• สื่อมวลชนไม่ใช่สุนัขเฝ้าบ้าน ตรวจสอบการท างานของรัฐบาล

• สื่อมวลชนค้ าจุนรัฐบาลด้วยการน าเสนอข่าวนักการเมือง ความร่วมมือผู้น าภาคธุรกิจ ความเป็นมิตร สมานฉันท์ระหว่างกลุ่มและชนชั้น

• สหรัฐใช้อุดมการณ์สงครามเย็น มองว่าเป็นการพิทักษ์โลกเสรี การรุกล้ า/แทรกแซง อธิปไตยของชาติอื่นเป็นเรื่องสมเหตุสมผล

Market share ของสื่อไทย

Internet penetration rate

Newspaper

การติดตามรับชมสถานีทีวี

เวลารับชม

ประเภทของรายการที่รับชม

Cable TV Penetration rate

Website

Political activity

Mix media strategy

TV Newspaper Radio

Internet

Cable TVCommu

nity Radio

Printed media

ข้อเสนอ

• เสนอพื้นที่ให้อุดมการณ์ทุกฝ่าย

• ตระหนักว่าเป็นเรื่องการเมือง

• เปิดพื้นที่พูดคุย (dialogue) : พิจารณาโครงการอย่าง Mont fleur project แก้ไขข้อขัดแย้งในประเทศแอฟริกาใต้

END

จบการน าเสนอ - ขอบคุณครบั

top related