สงครามสารสนเทศ 97

33
สงครามสารสนเทศ : ภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ วันอังคารที23 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 09.00 12.00 . ห้องประชุมศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ โดย กานต์ ยืนยง

Upload: kan-yuenyong

Post on 20-Jun-2015

1.954 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: สงครามสารสนเทศ 97

สงครามสารสนเทศ : ภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ

วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ 2553เวลา 09.00 – 12.00 น.

ห้องประชุมศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวชิาการป้องกนัประเทศโดย กานต ์ยืนยง

Page 2: สงครามสารสนเทศ 97

เกริ่นน า

• ข้อขัดแย้งในประเทศขณะนี้เป็นปัญหาทางการเมือง ต้องแก้ด้วยการเมือง

• ปมทางภูมิรัฐศาสตร์ของประเทศไทยทิ้งเง่ือนไขการก่อความไม่สงบในประเทศ

• พัฒนาการของสังคมและมนุษยชาติ เน้นการยอมรับในระบบนิติรัฐ การแก้ปัญหาอย่างสันติ และต้องขจัดเง่ือนไขขัดแย้งพื้นฐาน

• ทฤษฎีช่วยโฟกัสมุมมองให้เป็นระบบ แต่ทุกทฤษฎีก็มีข้อจ ากัด ต้องมีการตรวจสอบจากข้อเท็จจริงในสนาม

Page 3: สงครามสารสนเทศ 97

สมมติฐาน : พลังมวลชนสองสี

• สองกระแสใหญ่ในสังคม : (1) การตรวจสอบ และเอาผิดผู้ท าหน้าที่สาธารณะได้ (accountability) (2) ความเท่าเทียมกันทั้งในมิติด้านกฎหมายและโอกาสทางเศรษฐกิจ

• คนช้ันกลาง : การเป็นพลเมือง มีสิทธิ มีส่วนร่วม ในการก าหนดนโยบายสาธารณะของประเทศ

• คนช้ันรากหญ้า : โอกาสทางเศรษฐกิจ และการใช้สิทธิเสรีภาพภายใต้กฎหมาย

Page 4: สงครามสารสนเทศ 97
Page 5: สงครามสารสนเทศ 97
Page 6: สงครามสารสนเทศ 97
Page 7: สงครามสารสนเทศ 97
Page 8: สงครามสารสนเทศ 97

กบฎในเขตต่างจังหวัด 2445

• เกิดกบฏเงี้ยว มีการลุกข้ึนสู้ของชาวนาท่ีจังหวัดแพร่ มีคนงานรัฐไทยใหญ่ชักชวนให้เจ้าผู้ครองเมืองและขุนนางสนับสนุนพวกเขาขับไล่ ข้าราชการสยามออกไป รัฐบาลที่กรุงเทพฯ สงสัยว่าเจ้านายเหล่านี้วางแผนคบคิดก่อกบฏตั้งแต่ต้น

• เกิดกบฏผู้มีบุญ มีกบฏชาวนาอย่างกว้างขวางในอีสาน การกบฏครั้งใหญ๋ที่สุดมีชาวนาประมาณสองพันห้าร้อยคน รวมตัวกันยึดหัวเมืองเอาไว้ได้ หลังจากรัฐบาลที่กรุงเทพฯ เก็บภาษีรัชชูปการเม่ือปี พ.ศ. 2442

• เกิดกบฏรัฐมลายู มีการประท้วงขึ้นที่เขตชายแดนภาคใต้ โดยมีกรมการระดับล่างท่ีมองว่าอ านาจของตนถูกดึงไปโดยรัฐบาลศูนย์กลางเป็นผู้ น า กบฏนี้ยังได้รับการสนับสนุนอย่างลับๆ จากเจ้าเมืองรัฐมลายูต่างๆ

Page 9: สงครามสารสนเทศ 97

การแก้ไขของรัฐไทย

• การตั้งทหารประจ าการที่กรุงเทพฯ และทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์

• การปฏิรูปกิจการทหาร และจัดตั้งต้นแบบกองทัพภาค (กองทัพที่ 1,2,3)

• การก่อตั้งกรมต ารวจ

Page 10: สงครามสารสนเทศ 97

ยุทธศาสตร์ “ชนบทล้อมเมืองของพคท.” 2521

กองก าลังติดอาวุธของ พคท.ทั่วประเทศ (เมื่อ มี.ค. ๒๑) ได้แบ่งเป็น ยอดก าลัง ๒ สภาพ คือ ยอดพิสูจน์ทราบ ๖๕๔๒ คน ยอดประมาณการ ๙๐๙๐ คน (ตามรายละเอียดในแผ่นใส) ทั้งนี้ ไม่รวมก าลังนิสิตนักศึกษาและปัญญาชน ซ่ึงปฏิบัติงานเป็นแนวร่วมของ พคท. ในพื้นที่ต่างๆอีกประมาณ ๓๒๒๗

Page 11: สงครามสารสนเทศ 97

การแก้ไขของรัฐไทย

• ค าสั่ง 66/23 ใช้การเมืองน าการทหาร• สาเหตุของการก่อการร้ายคอมมิวนิสต์

เป็นเร่ืองของความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ความไม่เท่าเทียมทางการเมือง

• การแตกกันของ Soviet-Sino Bloc

• พลาซ่าแอคคอร์ดและการเติบโตทางเศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่

Page 12: สงครามสารสนเทศ 97

นัยยะทางภูมิรัฐศาสตร์ของรัฐไทย•การรวมศูนย์อ านาจทางการเมืองและเศรษฐกิจไว้ที่กรุงเทพฯ•การสร้างสมดุลการกระจายอ านาจทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจให้กับส่วนท้องถิ่น ในขณะที่ศูนย์กลางอ านาจในกรุงเทพฯ ยังคงสามารถควบคุมและผูกพันรัฐไทยเอาไว้ได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน•การคงพื้นที่ป้องกันศูนย์อ านาจจากกรุงเทพฯจากการขยายอิทธิพลจากรัฐคู่แข่ง ทางเหนือคือรัฐล้านนา, ทางตะวันออกคือพื้นที่แถบอีสาน (ยังคงมีช่องว่างในดินแดนภาคตะวันออก-กัมพูชาที่ยังไม่มีพื้นที่จ าเป็น ป้องกัน), ทางตะวันตกจะมีแนวพรมแดนธรรมชาติ ส่วนทางใต้คือรัฐมลายู แต่มีปัญหาจากการบุกรุกจากทะเลฝ่ังอ่าวไทย และอันดามัน ปัญหาจุดอ่อนจากพื้นที่ฝ่ังตะวันออก และภาคใต้ สอดคล้องกับแผนที่ประเทศญี่ปุ่นบุกไทยในสงครามโลกครั้งที่สอง แนวทางเคล่ือนทัพของประเทศญี่ปุ่นเดินทัพมาจากสองทิศทางนี้•การใช้แนวทางดุลอ านาจหากเผชิญมหาอ านาจที่มีอิทธิพลระดับโลก โดยใช้คู่แข่งอ านาจที่มีความทัดเทียมกัน แต่ในที่สุดจะคงความเป็นตัวของตัวเองเอาไว้•การเป็นรัฐค้าขายมากกว่ารัฐทางทหาร

Page 13: สงครามสารสนเทศ 97

ปัญหารัฐไทย 2553

• ความขัดแย้งสี ทางการเมือง• ความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดน

ใต้• ปัญหาผู้ใช้แรงงานข้ามชาติจาก

ประเทศเพื่อนบ้าน (ในอนาคต?)

Page 14: สงครามสารสนเทศ 97

การแก้ไขของรัฐไทย?

• Old Professionalism -> New Professionalism

• Strategic Response Unit

• Transparency Defense planning & budgeting

• คือการปฏิรูปที่ไม่สิ้นสุดของกองทัพไทยในความท้าทายใหม่ๆ

Page 15: สงครามสารสนเทศ 97
Page 16: สงครามสารสนเทศ 97

Antonio Gramsci : Cultural Hegemony

• หลังปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ไม่มีการปฏิวัติ

• ชนชั้นกระฎุมพีสร้างการครอบง าผ่านการยินยอม (consent) มากกวา่การบังคับ (coercion)

• ขยายผลประโยชน์ของชนชั้นน า ออกไปเป็นผลประโยชน์ของภาคสาธารณะ และกลายเป็นความต้องการของมวลชน

Page 17: สงครามสารสนเทศ 97

บทบาทของปัญญาชน

• รักษาการครองอ านาจน าของชนชั้นตนเหนือสังคมโดยรวม

• ปัญญาชนท าหน้าที่ตีความ อรรถาธิบาย ให้ความหมาย และส่งผ่าน text ไปยังมวลชน เพ่ือท าการจัดตั้งหรือก าหนดบทบาททางอุดมการณ-์วัฒนธรรม

• ปัญญาชนเป็นได้ทั้ง พระ ครู ช่างเทคนิค ผู้จัดการ ข้าราชการ นักสังคมสงเคราะห์ อาจารย์ นักข่าว ฯลฯ

Page 18: สงครามสารสนเทศ 97

สงครามตรึงก าลังตั้งม่ัน (War of Position)

• การต่อสู้ทางอุดมการณ์เพ่ือช่วงชิงจิตส านึกของมวลชน

• รื้อโครงสร้างอุดมการณ์สายหลัก• แยกแยะและวิเคราะห์องค์ประกอบ• วิพากษ์กระบวนการทางสังคม แล้วสร้าง

หรือตีความองค์ประกอบนั้นใหม่• เป็นการค่อยๆยึดพ้ืนที่ทางความคิดทีละ

จุด โดยไม่ท าลายอุดมการณห์ลักอย่างสิ้นเชิง

• เมื่อได้รับชัยชนะ (ฉันทามติ) จะง่ายต่อการท าสงครามเคลื่อนก าลังโจมตี (War of maneuver)

Page 19: สงครามสารสนเทศ 97

Hegemony and Media : Hallin

• สื่อมวลชนไม่ใช่สุนัขเฝ้าบ้าน ตรวจสอบการท างานของรัฐบาล

• สื่อมวลชนค้ าจุนรัฐบาลด้วยการน าเสนอข่าวนักการเมือง ความร่วมมือผู้น าภาคธุรกิจ ความเป็นมิตร สมานฉันท์ระหว่างกลุ่มและชนชั้น

• สหรัฐใช้อุดมการณ์สงครามเย็น มองว่าเป็นการพิทักษ์โลกเสรี การรุกล้ า/แทรกแซง อธิปไตยของชาติอื่นเป็นเรื่องสมเหตุสมผล

Page 20: สงครามสารสนเทศ 97
Page 21: สงครามสารสนเทศ 97

Market share ของสื่อไทย

Page 22: สงครามสารสนเทศ 97
Page 23: สงครามสารสนเทศ 97

Internet penetration rate

Page 24: สงครามสารสนเทศ 97

Newspaper

Page 25: สงครามสารสนเทศ 97

การติดตามรับชมสถานีทีวี

Page 26: สงครามสารสนเทศ 97

เวลารับชม

Page 27: สงครามสารสนเทศ 97

ประเภทของรายการที่รับชม

Page 28: สงครามสารสนเทศ 97

Cable TV Penetration rate

Page 29: สงครามสารสนเทศ 97

Website

Page 30: สงครามสารสนเทศ 97

Political activity

Page 31: สงครามสารสนเทศ 97

Mix media strategy

TV Newspaper Radio

Internet

Cable TVCommu

nity Radio

Printed media

Page 32: สงครามสารสนเทศ 97

ข้อเสนอ

• เสนอพื้นที่ให้อุดมการณ์ทุกฝ่าย

• ตระหนักว่าเป็นเรื่องการเมือง

• เปิดพื้นที่พูดคุย (dialogue) : พิจารณาโครงการอย่าง Mont fleur project แก้ไขข้อขัดแย้งในประเทศแอฟริกาใต้

Page 33: สงครามสารสนเทศ 97

END

จบการน าเสนอ - ขอบคุณครบั