"aect ecucational technology"

16
มาตรฐานดานเทคโนโลยี มาตรฐานดานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา และสื่อสารการศึกษา วิชิต ชาวะหา

Upload: wichit-chawaha

Post on 05-Dec-2014

1.825 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

"aect ecucational technology"

TRANSCRIPT

Page 1: "aect ecucational technology"

มาตรฐานดานเทคโนโลยีมาตรฐานดานเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึษาและสื่อสารการศกึษา

วิชิต ชาวะหา

Page 2: "aect ecucational technology"

มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษามาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษา

Topics

ความหมายและแนวคดิ

ขอบขาย / มาตรฐาน

งานวิจยัเกีย่วของ

Page 3: "aect ecucational technology"

มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษามาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษาความหมาย

• เทคโนโลยี มาจากคําภาษาลาตินวา “Techno+Logos” หมายถึง ศาสตรที่วาดวยวิธีการหรือการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการ เทคโนโลยีการศึกษาจึงเปนเรื่องของระบบและวิธีการไมวาจะมีวัสดุและเครื่องมืออุปกรณมาเกี่ยวของหรือไมก็ตาม

• ชัยยงค พรหมวงศ (2545) : เทคโนโลยีการศึกษามีลักษณะที่แตกตางไปจากวิทยาการ (Discipline) หรือวิชาแขนงอื่นอยูบาง กลาวคือ วิทยาการทั้งหลายนั้นหมายถึง องคแหงความรูที่สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนแปลงไดดวยการวิจัย และสวนใหญจะเปนวิทยาการทางวิทยาศาสตร สวนคําวา สาขาวิชา (Field) มักจะหมายถึง การศึกษาประยุกต (Applied study) ที่เนนเรื่องวิชาชีพ สาขาวิชาจะขึ้นอยูกับวิทยาการ เชน วิชาชีพวิศวกรรมศาสตรก็จะขึ้นอยูกับวิชาฟสิกสและคณิตศาสตร วิชาชีพทางแพทยจะขึ้นอยูกับวิชาชีววิทยาและวิชาเคมี เปนตน สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ตองอาศัยความรูจากวิทยาการแขนงอื่นหลายดาน ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเปน สหวิทยาการ (Interdiscipline)

Page 4: "aect ecucational technology"

มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษามาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ่สารการศึกษาแนวคิด ...เทคโนโลยีการศึกษามีวิวัฒนาการมาจาก 2 แนวคิด ไดแก

• แนวคิดแรก เปนแนวคิดทางวิทยาศาสตรกายภาพ ( Physical Science Concept) ซึง่เปนระบบการนําผลิตผลทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมมาใชในดานการศึกษา โดยรูจักกันดีใน รูปของวัสดุที่เปนสิ่งสิ้นเปลือง (Software) และอุปกรณทีเ่ปนสิ่งที่คงทนถาวร (Hardware) ทั้งสองประเภทนี้มักใชควบคูกัน คือ เมือ่มีวัสดุแลว มกัจะตองใชควบคูกับอุปกรณเสมอ เชน เครื่องฉายและเครื่องเสียง เปนตน แนวคิดนี้ไดพัฒนามาจาก “ โสตทัศนศึกษา” (Audiovisual Education) ซึง่เปนการเรียนรูจากการรับฟงดวยหูและรับชมดวยตานั่นเอง เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดนี้จึงเนนหนักที่ “ สื่อสิง่ของ” ไดแก วสัดุ อุปกรณ

• แนวคิดที่สอง เปนแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร ( Behavioral Science) ซึ่งเปนการ ประยุกตหลักการทางจิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ผสมผสานกับผลผลิตทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เพื่อชวยใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูของผู เรียนอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนน “ วิธีการจัดระบบ”(System Approach) ที่มีการกําหนดขั้นตอนอยางเดนชัด เชน ตองมีการวิเคราะหเนื้อหาสาระ วิเคราะหผูเรียน กําหนดวิธีการและสื่อการสอนและกําหนดแนวทางการประเมินผล เปนตน เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดนี้จึงเปนแนวคิดที่ยอมรับกันมาก เพราะมิไดเนนสื่อสิ่งของแตเนนสื่อประเภทวิธีการ รวมเปน “ วัสดุ อุปกรณ และวิธีการ”

Page 5: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECTAECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

Page 6: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

1.1 การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) เปนวิธีการจัดการที่รวมขั้นตอนของการสอนประกอบดวย การวิเคราะห (analysis) คือ กระบวนการที่กําหนดวาตองการใหผูเรียนไดรับอะไร เรยีนในเนื้อหาอะไร การออกแบบ (design) กระบวนการที่จะตองระบุวาใหผูเรียนเรียนอยางไร การพัฒนา

(development) คือ กระบวนการสรางผลิตสื่อวัสดุการสอน การนําไปใช (implementation) คือ การใชวัสดุและยุทธศาสตรตางๆ ในการสอน และ การประเมิน (evaluation) คือ กระบวนการในการประเมินการส อ น

1.2 ออกแบบสาร (message design) เปนการวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเนนทฤษฎีการเรียนที่ประยุกตความรูบนพื้นฐานของความสนใจ การรับรู ความจํา การออกแบบสารมีจุดประสงคเพื่อการสื่อความหมายกับผู เ รี ย น

1.3 กลยุทธการสอน (instructional strategies) เนนที่การเลือก ลําดับเหตุการณ และกิจกรรมในบทเรียนในทางปฏิบัติกลยุทธการสอนมีความสัมพันธกับสถานการณการเรียน ผลของปฏิสัมพันธนี้สามารถอธิบายไดโดยโมเดลการสอน การเลือกยุทธศาสตรการสอนและโมเดลการสอนตองขึ้นอยูกับสถานการณการเรียน รวมถึงลักษณะผูเรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุดประสงคของผูเรียน

1.4 ลักษณะผูเรียน (learner characteristics) คือลักษณะและประสบการณเดิมของผูเรียนที่จะมีผลตอกระบวนการเรียน การสอน การเลือก และการใชยุทธศาสตรการสอน

Page 7: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ (print technologies) เปนการผลิต หรือสงสาร สื่อดานวัสดุ เชน หนังสือ โสตทัศนวัสดุพื้นฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถาย รวมถึงสื่ อขอความ กราฟก วัสดุภาพสิ่ งพิมพ ทัศนวัสดุ สิ่ ง เหลา นี้เปนพื้นฐานของการพัฒนา การใชสื่อวัสดุการสอนอื่นๆ

2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ (audiovisual technologies) เปนวิธีการในการจัดหา หรือสงถายสาร โดยใชเครื่องมืออุปกรณ หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสเพื่อนําเสนอสารตางๆ ดวยเสียง และภาพ โสตทัศนูปกรณจะชวยแสดงสิ่งที่เปนธรรมชาติจริง ความคิดที่เปนนามธรรม เพื่อผูสอนนําไปใชใหมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน

2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (computer – based technologies) เปนวิธีการในการจัดหา หรือสงถายสารโดยการใชไมโครโพรเซสเซอร เพื่อรับและสงขอมูลแบบดิจิตอล ประกอบดวย คอมพิวเตอรชวยสอน คอมพิวเตอรจัดการสอน โทรคมนาคม การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส การเขาถึงและใชแหลงขอมูลในเครือขาย

2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies) เปนวิธีการในการจัดหา หรือสงถายขอมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใตการควบคุมของคอมพิวเตอร

Page 8: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

3.1 การใชสื่อ (media utilization) เปนระบบของการใชสื่อ แหลงทรัพยากรเพื่อ การเรียน โดยใชกระบวนการตามที่ผานการออกแบบการสอน

3.2 การแพรกระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations) เปนกระบวนการสื่อความหมาย รวมถึงการวางยุทธศาสตร หรือจุดประสงคใหเกิดการยอมรับ นวัตกรรม

3.3 วิธีการนําไปใช และการจัดการ (implementation and institutionalization) เปนการใชสื่อการสอนหรือยุทธศาสตรในสถานการณจริงอยางตอเนื่องและใช นวัตกรรมการศึกษาเปนประจําในองคการ

3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบขอบังคับ (policies and regulations) เปนกฎระเบียบ ขอบังคับของสังคมที่สงผลตอการแพรกระจาย และการใช

เ ท ค โ น โ ล ยี -การศึกษา

Page 9: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

4.1 การจัดการโครงการ (project management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การออกแบบ และพัฒนาโครงการสอน

4.2 การจัดการแหลงทรัพยากร (resource management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุมแหลงทรัพยากร ที่ชวยระบบและการบริการ

4.3 การจัดการระบบสงถาย (delivery system management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุมวิธีการซึ่งแพรกระจายสื่อการสอนในองคการ รวมถึงสื่อ และวิธีการใชที่จะนําเสนอสารไปยังผูเรียน

4.4 การจัดการสารสนเทศ (information management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การเก็บ การสงถาย หรือกระบวนการของขอมูลสารเพื่อสนับสนุนแหลงทรัพยากรการเรียน

Page 10: "aect ecucational technology"

แนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิาแนวคดิของสมาคมสือ่สารและเทคโนโลยีการศกึษาแหงสหรฐัอเมรกิา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

• Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดงันี้

AECTAECTAECT

5.1 การวิเคราะหปญหา (problem analysis) เปนการทําใหปญหาสิ้นสุด โดยการใชขอมูลตางๆ และวิธีการที่จะชวยตัดสินใจ

5.2 เกณฑการประเมิน (criterion – reference measurement) เทคนิคการใชเกณฑเพื่อการประเมินการสอน หรือประเมินโครงการเทคโนโลยีและสื่อสาร

การศึกษา

5.3 การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมจากการประเมินความกาวหนาเพื่อเปนฐานในการพัฒนาตอไป

5.4 การประเมินผลสรุป (summative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมที่จะตัดสินใจกับการดําเนินงานโปรแกรม หรือโครงการ

Page 11: "aect ecucational technology"

แนวคดินกัการศึกษาแนวคดินกัการศึกษา ((ไทยไทย))

• ศ.ดร.ชัยยงค พรหมวงศ

Page 12: "aect ecucational technology"

งานวิจัยทีเ่กี่ยวของงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ• การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา

ในสถาบันอดุมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)

• การพัฒนามาตรฐานแหงชาตทิางเทคโนโลยีการศึกษาสาํหรับสถาบันผลิตบัณฑติทางการศึกษา (วสันต อติศพัท และคณะ)

Page 13: "aect ecucational technology"

งานวิจัยทีเ่กี่ยวของงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ• การพฒันามาตรฐานงานเทคโนโลยกีารศกึษา ในสถาบนัอุดมศึกษา

(ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)

Page 14: "aect ecucational technology"

งานวิจัยทีเ่กี่ยวของงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ• การพฒันามาตรฐานงานเทคโนโลยกีารศกึษา ในสถาบนัอุดมศึกษา

(ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)

ตัวอยาง

Page 15: "aect ecucational technology"

งานวิจัยทีเ่กี่ยวของงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ• การพฒันามาตรฐานแหงชาตทิางเทคโนโลยกีารศกึษาสาํหรบั

สถาบนัผลติบณัฑติทางการศกึษา (วสันต อติศัพท และคณะ)

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 5 ขั้นตอนคือ (1) การกําหนดกรอบสําหรับการพัฒนามาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (2) การพัฒนารางมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (3) การศึกษาความคิดเห็นผูบริหารสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (4) การวิพากษมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา และ (5) การรับรองมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษาโดยสภาคณบดีคณะครุศาสตร ศึกษาศาสตรแหงประเทศไทย ผลการวิจัยไดเสนอมาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา 9 มาตรฐาน 34 ตัวบงชี้ คือ (1) มาตรฐานดานภาวะผูนําทางเทคโนโลยีการศึกษาของสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (2) มาตรฐานดานโครงสรางของหลักสูตรการผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (3) มาตรฐานดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (4) มาตรฐานดานเทคโนโลยีรวมสมัยสนับสนุนการเรียนการสอน (5) มาตรฐานดานบุคลากรทางเทคโนโลยีการศึกษา (6) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยีการศึกษาของอาจารย (7) มาตรฐานดานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อและสงเสริมการพัฒนาสมรรถนะทางการใชเทคโนโลยีการศึกษาแกนิสิต นักศึกษาครู (8) มาตรฐานดานการฝกประสบการณวิชาชีพ และ(9) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยีการศึกษาของบัณฑิตทางการศึกษา คณะผูวิจัยจะนําเสนอผลการวิจัยแกคุรุสภา และสํานักมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพิจารณาเปนกรอบในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษาตอไป

Page 16: "aect ecucational technology"

จากแนวคิดจากแนวคิด สูสู ......การวิจัยการวิจัย

.....ท า น ผู ส น ใ จ ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ด็ น ก า ร ทํ า Dissertation (ป.โท เรียก Thesis)ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า ควรศึกษาขอบขายที่เกี่ยวของ เชน Textbook ของ AECT โดย DAVID H. JONASSEN ชื่อ Handbook of Research on Educational Communications and Technology : A Project of the Association for Educational Communications and Technologyมีกรอบการพิจารณา 7 ดาน 42 หัวขอยอย

( คลิกที่ http://thailearn4change.ning.com )