abstract

9
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วพ. 8 หนา 1 จาก 9 บทความจากวิทยานิพนธเพื่อการเผยแพร ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ( ภาษาอังกฤษ) FACTORS AFFECTING DECISION-MAKING OF CUSTOMERS USING ENTERTAINMENT SERVICES IN UTHAI DISTRICT, PHRANAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE ชื่อผูวิจัย (ภาษาไทย) วุฒิ ปยาโยค ชื่อผูวิจัย (ภาษาอังกฤษ) WUT PIYAYOK ABSTRACT The purposes of this study were to : 1) explore personal factors of customers visiting entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province; 2) investigate the factors affecting the customers’ decision-making for visiting entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province; 3) compare the factors that influenced the customers’ decision to use an entertainment services in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province, classified by their personal factors. The research instrument was a questionnaire. The sample group consisted of 245 customers at entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province. Statistical analysis was performed in terms of percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and LSD. The findings revealed the following: 1. Most customers were male, single, under 25 years old, holding a bachelor’s or higher degree, working as company employees, and residing in Phranakhon Si Ayutthaya Province. Their average monthly income was 7,501-10,000 baht. 2. The factors that highly affected the customers’ decision to visit the entertainment places included service providing, price, location, service-minded staff, service procedure, and physical environment. The factor that moderately affected the customers’ decision to visit the entertainment places was sales promotion. 3. The customers with different occupation, and domicile had different factors that affected their decision to go to the entertainment places with a statistically significant level of .05.

Upload: ploy

Post on 20-Dec-2015

3 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

thammasat uni

TRANSCRIPT

Page 1: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 1 จาก 9

บทความจากวิทยานิพนธเพื่อการเผยแพร ชื่อเร่ือง (ภาษาไทย) ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ภาษาองักฤษ) FACTORS AFFECTING DECISION-MAKING OF CUSTOMERS USING

ENTERTAINMENT SERVICES IN UTHAI DISTRICT, PHRANAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE

ช่ือผูวิจัย (ภาษาไทย) วุฒ ิ ปยาโยค ช่ือผูวิจัย (ภาษาอังกฤษ) WUT PIYAYOK

ABSTRACT

The purposes of this study were to : 1) explore personal factors of customers visiting entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province; 2) investigate the factors affecting the customers’ decision-making for visiting entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province; 3) compare the factors that influenced the customers’ decision to use an entertainment services in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province, classified by their personal factors. The research instrument was a questionnaire. The sample group consisted of 245 customers at entertainment places in Uthai District, Phranakhon Si Ayutthaya Province. Statistical analysis was performed in terms of percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and LSD.

The findings revealed the following: 1. Most customers were male, single, under 25 years old, holding a bachelor’s or higher

degree, working as company employees, and residing in Phranakhon Si Ayutthaya Province. Their average monthly income was 7,501-10,000 baht.

2. The factors that highly affected the customers’ decision to visit the entertainment places included service providing, price, location, service-minded staff, service procedure, and physical environment. The factor that moderately affected the customers’ decision to visit the entertainment places was sales promotion.

3. The customers with different occupation, and domicile had different factors that affected their decision to go to the entertainment places with a statistically significant level of .05.

Page 2: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 2 จาก 9

The customers with different age, gender, educational background, monthly income, and status did not yield any difference in their decision with a statistically significant level of .05.

บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาปจจัยพื้นฐานของลูกคาที่มาใชบริการ สถานบันเทิงในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงของลูกคาในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3) เปรียบเทยีบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามปจจัยพื้นฐานของลูกคา เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ แบบสอบถาม กลุมตัวอยาง คือ ลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิง ในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 245 คน และไดวิเคราะหขอมูลดวยสถิติรอยละ คาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยดวยสถิติ t-test, F-test และ LSD.

ผลการวิจัยพบวา 1. ลูกคาสวนใหญ เปนเพศชาย อายุไมเกิน 25 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป

อาชีพพนักงานเอกชน รายไดตอเดือน 7,501 – 10,000 บาท สถานภาพโสด และที่พักอาศัยอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงของลูกคา ไดแก ปจจัยดานการใหบริการ ดานราคาคาบริการ ดานสถานที่บริการดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน ดานกระบวนการบริการ และดานสิ่งแวดลอมกายภาพ มีผลตอการตัดสินใจใชบริการใชบริการสถานบันเทิงอยูในระดับมาก สวนปจจัยดานการสงเสริมการตลาด มีผลตอระดับการตัดสนิใจใชบริการสถานบันเทิงอยูในระดับ ปานกลาง

3. ลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่มี อาชีพ และที่พักอาศัย ตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเพศ อายุ การศึกษา รายได และสถานภาพ ตางกันมีระดับการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิง ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ําตั้งแตป พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน วิถีชีวิตของคนไทยมีการเปล่ียนแปลงไปอยางมากเรงรีบมากขึ้น อยูทามกลางภาวะที่ตองแขงขันที่รุนแรง ทําใหผูประกอบการตองปรับตัวใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยธุรกิจมีการลดขนาดองคกร การลดตนทุน การปลดพนักงาน การหาชองทางการตลาดใหม เปนตน อีกทั้งจากภาวะเศรษฐกิจที่ไมเอื้ออํานวย

Page 3: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 3 จาก 9

และตลาดนักทองเที่ยวตางชาติเพิ่งจะเริ่มฟนตัวในชวงปลายป พ.ศ. 2545 หลังจากเกิดเหตุการณกอวินาศกรรมในสหรัฐอเมริกาและสงครามในอัฟกานิสถาน สงผลใหการจัดงานเลี้ยงฉลองลดลง ทําใหบรรดาผูประกอบการธุรกิจโรงแรม รานอาหาร และสถานบันเทิงตาง ๆ มีรายไดจากการจัดงานเล้ียงในชวงเทศกาลปใหมลดลงกวาป พ.ศ. 2544 จากการสํารวจพฤติกรรมการฉลองสงทายปเกาตอนรับปใหม พ.ศ. 2545 ของคนกรุงเทพฯ จากกลุมตัวอยางจํานวน 1,175 คน จากการสํารวจพบวาคนสวนใหญจะรวมงานเลี้ยงฉลองกันอยางประหยัด โดยกลุมครัวเรือนจะจัดงานเลี้ยงในหมู ญาติมิตร ตามบานและรานอาหาร สวนกลุมบริษัทหางรานและหนวยงานตางๆจะจัดเล้ียงภายในที่ทํางานหรือรานอาหารแทนการจัดเลี้ยงตามโรงแรม สงผลกระทบตอผูประกอบการธุรกิจ สถานบันเทิงตาง ๆ ไมวาจะเปนดิสโกเธค ผับ คาราโอเกะ คาเฟ เปนตน นอกจากนี้ ผูประกอบการธุรกิจสถานบันเทิงและผูใชบริการไดรับผลกระทบจากการจัดระเบียบสังคม ตามแนวทางของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย ที่มีอยางตอเนื่องตั้งแตการจัดเขตพื้นที่สถานบันเทิง กําหนดใหสถานบริการปดเวลา 02.00 น. การตรวจบัตรและหามเด็กอายุต่ํากวา 20 ป เขาสถานบริการ หามขายแอลกอฮอลหลัง 24.00 น. และหามขายใหเด็กอายุต่ํากวา 18 ป หามเด็กอายุต่ํากวา 18 ป ออกจากบานหลัง 22.00 น. จากฐานความคิดที่วา ยาเสพยติดและการมั่วสุมทางเพศเปนตัวบอนทําลายเยาวชน (เกสร สิทธิหนี้ว. 2545 : ออนไลน) ถึงแมวาธุรกิจสถานบันเทิงจะไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจและนโยบายรัฐบาลแตธุรกิจสถานบันเทิงก็ยังคงดําเนินธุรกิจ ตอไป เจาของธุรกิจบางรายอาจเลิกกิจการ เนื่องจากสถานบันเทิงมีผูใชบริการนอยราย ทําให ผูประกอบการแบกรับภาระไมไหวจึงตองปดกิจการไป แตในขณะเดียวกันสถานบันเทิงบางแหงก็มี ผูใชบริการเปนจํานวนมาก สถานบันเทิงในอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนอีกสถานที่หนึ่งที่มีการดําเนินธุรกิจประเภทสถานบันเทิงทั้งที่ประสบความสําเร็จและไมประสบความสําเร็จเนื่องมาจากปจจัยหลายอยาง เชน มีนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยูหลายแหง กฎระเบียบขอบังคับตาง ๆ จากทางราชการ สังคม วัฒนธรรมที่เขามาเกี่ยวของทําใหการประกอบการประสบปญหา ดังนั้น การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิง เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานและวางแผนกลยุทธทางการตลาดใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการสถานบันเทิงดวยเหตุนี้ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อศึกษาปจจยัพื้นฐานของลูกคาที่มาใชบริการในสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัยจังหวดัพระนครศรีอยุธยา

2. เพื่อศึกษาปจจยัที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 4: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 4 จาก 9

3. เพื่อเปรียบเทยีบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขต อําเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามปจจัยพืน้ฐาน วิธีดําเนินการวิจัย ในการดําเนินการวิจัยผูวิจัยใชกลุมตัวอยางจากลูกคาที่มาใชสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 245 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยไดแก แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ สมมติฐาน การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยดวยสถิติ t-test, F-test และ LSD. สรุปผลการวิจัย 1. ปจจัยพื้นฐานของลูกคาสวนใหญ เปนเพศชาย อายุไมเกิน 25 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป อาชีพพนักงานเอกชน รายไดตอเดือน 7,501 – 10,000 บาท สถานภาพโสด และทีพ่กัอาศัยอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรอียุธยา อยูในระดับมาก ไดแก ปจจัยดานการใหบริการ ดานราคาคาบริการ ดานสถานที่บริการดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน ดานกระบวนการบริการ และดานสิ่งแวดลอมกายภาพ สวนปจจัยดานการสงเสริมการตลาด มีผลตอระดับการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยธุยาอยูในระดับปานกลาง 3. เปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิง ใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จําแนกตามปจจัยพื้นฐานของลูกคา 3.1 ลูกคาที่มีเพศแตกตางกนั มีปจจยัที่มีผลตอการตัดสนิใจใชบริการในสถานบันเทิงแตกตางกนั พบวา ลูกคาเพศชายมีระดับการตัดสินใจดานการใหบริการมากกวาเพศหญิง 3.2 ลูกคาที่มีอายแุตกตางกนั มีปจจยัที่มีผลตอการตัดสนิใจใชบริการในสถานบันเทิงดานการใหบริการ ดานราคาคาบริการ ดานสถานที่บริการ ดานการสงเสริมการตลาด ดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน ดานกระบวนการบริการ และดานสิ่งแวดลอมกายภาพ ไมแตกตางกัน 3.3 ลูกคาที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกันพบวาลูกคาที่มีการศึกษาระดับ ปวส. / อนุปริญญา มีระดับการตัดสินใจดานราคาคาบริการ มากกวา ลูกคาที่มีระดับการศึกษาไมเกินมัธยมศึกษา / ปวช. สวนลูกคาที่มีการศึกษาระดับ ปวส. / อนุปริญญา มีระดับการตัดสินใจดาน การสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีระดับการศึกษา ระดับปวส. / อนุปริญญา และมากกวา ลูกคา ที่มีระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไป และสวนลูกคาที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มี

Page 5: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 5 จาก 9

ระดับการตัดสินใจ ดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน มากกวา ลูกคาที่มีระดับการศึกษาไมเกินมัธยมศึกษา / ปวช. และมากกวา ลูกคาที่มีการศึกษาระดับ ปวส. / อนุปริญญา 3.4 ลูกคาที่มีอาชีพแตกตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิง ในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน พบวา ลูกคาที่มีอาชีพ นักศึกษา มีระดับการตัดสินใจดานการใหบริการ มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ สวนลูกคาที่มีอาชีพ ประกอบธุรกิจสวนตัว มีระดับการตัดสินใจดานการใหบริการ มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ นักศึกษา มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ และมากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน สวนลูกคาที่มีอาชีพ นักศึกษา มีระดับการตัดสินใจดานการสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจสวนลูกคาที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีระดับการตัดสินใจดานการสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวสิาหกิจ สวนลูกคาที่มีอาชีพ นักศึกษา มีระดับการตัดสินใจดานกายภาพและสิ่งแวดลอม มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ และสวนลูกคาที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีระดับการตัดสินใจดานกายภาพและสิ่งแวดลอม มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ และสวนลูกคาที่มีอาชีพ ประกอบธุระกิจสวนตัว มีระดับการตัดสินใจดานกายภาพและสิ่งแวดลอม มากกวา ลูกคาที่มีอาชีพ รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ 3.5 ลูกคาที่มีรายไดแตกตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกันพบวา ลูกคาที่มีรายได ไมเกิน 7,500 บาท มีการตัดสินใจ ในดานการสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีรายได10,001 – 15,000 บาท สวนลูกคาที่มีรายได 7,501 – 10,000 บาท มีการตัดสินใจ ในดานการสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีรายได 10,001 – 15,000 บาท และสวนลูกคาที่มีรายได 15,001 บาทขึ้นไป มีการตัดสินใจ ในดานการสงเสริมการตลาด มากกวา ลูกคาที่มีรายได10,001 – 15,000 บาท 3.6 ลูกคาที่มีสถานภาพแตกตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดแกดานการใหบริการ ดานราคาคาบริการ ดานสถานที่บริการ ดานการสงเสริมการตลาด ดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน ดานกระบวนการบริการ และดานสิ่งแวดลอมกายภาพ ไมแตกตางกัน 3.7 ลูกคาที่มีที่พักอาศัยแตกตางกัน มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาแตกตางกัน พบวา ลูกคาที่มีพื้นที่พักอาศัย ตางจังหวัดมีระดับการตดัสินใจ ดานสถานที่บริการ ดานการสงเสริมการตลาด และดานสิ่งแวดลอมกายภาพ มากกวาลูกคาที่มีพื้นที่พักอาศัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อภิปรายผล จากผลการวิจัยเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงในเขตอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีประเด็นที่ผูวิจัยไดนํามาอภิปรายผล ดังตอไปนี้

Page 6: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 6 จาก 9

1. ปจจัยพื้นฐานของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิงสวนใหญ เปนเพศชาย ทั้งนี้อาจเปนเพราะ เพศชายชอบความสนุกสนานดวยการสังสรรคกับเพื่อน ๆ มีอายุไมเกิน 25 ป เปนวัยที่เร่ิมทํางาน หาเงินใชเองไดจึงสามารถที่จะมาใชบริการสถานบันเทิงได ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป สถาบันการศึกษามีใหเลือกหลากหลาย เมื่อจบมามีความผูกพันกัน จึงไดมีการรวมกลุม หรือรวมรุนกันเพื่อสังสรรคตามสถานบันเทิงตาง ๆ และลูกคาที่อาศัยอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีอาชีพพนักงานเอกชน พื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ มากมาย เมื่อเลิกงานจะหาเวลาวางมาผอนคลาย ดวยการสังสรรคกับเพื่อน ๆ ตามสถานบันเทิงตาง ๆ มีรายไดตอเดือน 7,501 – 10,000 บาท สถานภาพโสด เปนเพราะวาอยูคนเดียว ตองการหาเพื่อนคุย และไมตองรับภาระมาก รายได 7,501 – 10,000 บาท สามารถท่ีจะแบงมาเพื่อใชบริการสถานบันเทิงได และที่พักอาศัยอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการในสถานบันเทิงของลูกคา อยูในระดับมาก เมื่อวิเคราะหเปนรายดานพบวา 2.1 ดานการใหบริการโดยรวมมีระดับการตัดสินใจอยูในระดับมาก ในประเด็นการบริการของพนักงานตอนรับ จัดลําดับกอนหลังในการใหบริการ อาหารมีใหเลือกหลากหลาย นักรองของสถานบันเทิง และวงดนตรีของสถานบันเทิงอยูในระดับมาก ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ มาริสา โนนศรีชัย (2548 : บทคัดยอ) พบวา ขอมูลดานคุณภาพการบริการมีความสําคัญมากตอการใชบริการสถานบันเทิงคาราโอเกะของโรงแรมโซฟเทล ราชา ออคิต ขอนแกน 2.2 ดานราคาคาบริการ โดยรวมมีระดับการตัดสินใจอยูในระดับมาก ทุกประเดน็ซึ่ง สอดคลองกับผลงานวิจัยของ วีระชาติ จิววงษ (2543 : 72-83) พบวา ในการเลือกใชสถานที่ใชบริการไดใหความสําคัญมาก กับการลดราคาและความเหมาะสมของราคา 2.3 ดานสถานที่บริการโดยรวมมีระดับการตัดสินใจอยูในระดบัมาก ทกุประเดน็ ทัง้นี้เนื่องจาก การที่ลูกคาจะตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิงนั้น ตองดูไปถึงความสะอาดเรียบรอย การตกแตงรานใหดึงดูดลูกคาใหเขามาใชบริการ ความสะดวกสบายเปนสวนตัว ถาเปนดิสโกเธค หรือ ผับตาง ๆ ลูกคาอาจดูไปถึง ความทันสมัยของสถานบันเทิง ระบบแสง สี เสียง ตาง ๆ ดวย ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ รจนา เพ็ชรดี (2545 : บทคัดยอ) พบวา องคประกอบตาง ๆ ของสถานบันเทิง มีสวนสําคัญที่ทําใหวัยรุนตัดสินใจเลือกมาเที่ยวสถานบันเทิง อาร.ซี.เอ. 2.4 ดานการสงเสริมการตลาด โดยรวมมีระดับการตัดสินใจอยูในระดับปานกลาง ในประเด็นของการแจกของที่ระสึกบางครั้งทางสถานบันเทิงอาจตั้งเกณฑการแจกของที่ระลึกไวสูงเกิน การมีโปรโมชั่นการลดราคาในชวงเทศกาล และมีการโฆษณาตามสื่อตาง อาจเปนเพราะชวงการโฆษณาประชาสัมพันธ นั้นเปนชวงที่ทํางาน จึงไมทราบโปรโมชั่นตาง ๆ จึงมีสวนใหลูกคาตัดสินใจในระดับปานกลาง ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจยัของ พิมพอุมา ตูจินดา (2543 : บทคัดยอ) พบวา ส่ือโฆษณามีอิทธิพลตอการเที่ยวสถานบันเทิงเริงรมยประเภทผับของวัยรุน อยูในระดับปานกลาง สวนในประเด็นการมีสวนลดจากการเปนสมาชิก

Page 7: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 7 จาก 9

2.5 ดานมนุษยสัมพันธของพนักงาน โดยรวมมีระดับการตัดสินใจในระดับมาก ในประเด็นของความเปนกันเองของพนักงานเอาใจใสดูแลลูกคา และมีหนาตายิ้มแยมแจมใส จึงมีสวนทําใหมีระดับการตัดสินใจระดับกลาง 2.6 ดานกระบวนการบริการ โดยรวม มีระดับการตัดสินใจในระดับมาก ในประเด็นของการไดรับริการทันทีเมื่อไปถึงราน การนําเสนออาหารและเครื่องดื่ม และจํานวนพนักงานเพยีงพอ ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ มาริสา โนนศรีชัย (2548 : บทคัดยอ) พบวา ดานคุณภาพการบริการ มีความสําคัญมากตอการตอการใชบริการสถานบันเทิงคาราโอเกะของโรงแรมโซฟเทล ราชา ออคิต ขอนแกน ในสวนประเด็นของ การเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มอยางรวดเร็ว และการใหบริการ ไดอยางตอเนื่อง 2.7 ดานสิ่งแวดลอมกายภาพ โดยรวม มีระดับการตัดสินใจในระดับมาก ในประเด็นของทําเลที่ตั้งมองเห็นงายใกลแหลงชุมชน ความสะอาดของสถานบริการ และอากาศสดชื่น ถายเทไดสะดวก ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ ยุนิตย ทิศสกุล (2545 : บทคัดยอ) พบวา เหตุผลสําคัญของการเลือกใชบริการผับและภัตตาคาร คือ การมีบรรยากาศดี สวนในประเด็นของ ความสะดวกสบายของสถานที่จอดรถสถานบันเทิงในอําเภออุทัยจะมีพื้นที่จอดรถมากพอสมควร 3. เปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการในสถานบันเทิงของลูกคา จําแนกตามปจจัยพื้นฐานของลูกคา คือ ลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิง มีเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และที่พักอาศัย ตางกัน มีระดับการตัดสินใจใชบริการสถานบันเทิง แตกตางกัน ทั้งนี้อาจเปนเพราะ สถานบันเทิงมีใหเลือกหลากหลายรูปแบบ เพศหญิงอาจมีละเอียดในการเลือกใชบริการ สถานบันเทิง เพื่อตองการความสะดวกสบายเพื่อความเปนสวนตัวความมากกวาเพศชาย ลูกคาที่มีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นอาจตองการความคุมคาในการใชบริการสถานบันเทิง สวนลูกคาที่มีอาชีพนักศึกษาอาจเลือกใชบริการสถานบันเทิงที่มีนักรองนักดนตรีมาแสดง อาชีพขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อาจเลือกใชสถานบันเทิงเปนบางโอกาส อาชีพพนกังานเอกชนจะมาสังสรรคในกลุมเพื่อนรวมงาน สวนอาชีพที่ประกอบธุรกิจสวนตัวจะมาใชบริการสถานบันเทิงเพื่อผอนคลายความเครียดอาจเลือกสถานบันเทิงที่มีการบริการที่ดี ในสวนเรื่องของรายไดนั้นชวงนี้สภาพเศรษฐกิจไมคอยดี การที่จะไปใชบริการสถานบันเทิงนั้นอาจจะไปใชบริการสถานบันเทิงท่ีเปนสมาชิก เพื่อไดลดคาบริการได และในสวนเรื่องที่พักอาศัยนั้น อาจเปนเพราะวาจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสถานบันเทิงใหเลือกหลากหลายกวา ในจังหวัดใกลเคียง และมีดารา นักรองมาแสดงเปนประจํา สวนลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิง มี อายุ และสถานภาพ ตางกันมีระดับการตัดสนิใจใชบริการสถานบันเทิง ไมแตกตางกัน ทั้งนี้อาจเปน แมวาอายุ และสถานภาพสมรส จะแตกตางกัน แตการใหบริการของสถานบันเทิง มีมาตรฐานในการบริการเดียวกัน

Page 8: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 8 จาก 9

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปประยุกตใชประโยชน ผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถนําเสนอหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา สถานบันเทิงในอําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดังนี้ 1.1 ดานการใหบริการ การบริการของพนักงานควรมีความสุภาพเรียบรอย มีการจัดลําดับกอนหลังการบริการ มีอาหารใหเลือกหลากหลายใหลูกคาไดเลือกตามความชอบ สรางสีสันใหกับนักรอง นักดนตรีของทางสถานบันเทิงเพื่อเพิ่มความสนใจใหลูกคาตัดสินใจมาใชบริการ 1.2 ดานราคาบริการ ราคาในการใชบริการ อาหาร และเครื่องดื่มควรมีความเหมาะสม ใหลูกคาที่มาใชบริการเห็นถึงความคุมคา เพื่อใหลูกคาที่มาใชบริการแลวแนะนําใหเพื่อนมาใชบริการหรือคร้ังตอไปอาจตัดสินใจมาใชบริการอีก

2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยคร้ังตอไป ผูวิจัยขอเสนอแนะแนวทางสําหรับผูสนใจวิจัยในครั้งนี้ตอไป ดังนี้

2.1 การศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาระดับการตัดสินใจของลกูคาที่มาใชบริการ สถานบันเทิงในจังหวัดอ่ืน ๆ เพื่อใหครอบคลุมทุกจังหวัด ทุกภูมิภาค ทั่วประเทศไทย 2.2 ควรมีการศึกษาการบริหารจัดการสถานบันเทิงที่มีผลตอจํานวนของลูกคาที่มาใชบริการสถานบันเทิง ในเชิงลึก เอกสารอางอิง พิมพอุมา ตูจินดา. (2543). ทัศนคติตอการเท่ียวสถานเริงรมยประเภทผับของวัยรุน : ศึกษากรณี เขตกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ ศศ.ม. (พัฒนาสังคม). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลยั

สถาบันบัณฑติพัฒนบริหารศาสตร. ถายเอกสาร. มาริสา โนนศรีชัย. (2548). การศึกษาขอมูลทางการตลาดในการใชบริการสถานบันเทิงคาราโอเกะ ของโรงแรมโซฟเทล ราชา ออคิด ขอนแกน. การศึกษาอิสระ บธ.ม. (การตลาด).

ขอนแกน : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. ถายเอกสาร. ยุนิตย ทิศสกุล. (2545). ปจจัยสวนประสมการตลาดบริการที่มีผลตอผูบริโภคในการเลือกใช

บริการผับและภัตตาคาร ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. ปริญญานิพนธ บธ.ม. (การตลาด). เชียงใหม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

รจนา เพ็ชรด.ี (2545). ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการนิยมเท่ียวกลางคนื ณ สถานบันเทิง อาร.ซี.เอ. ของวัยรุน. วิทยานิพนธ สศ.ม. (สังคมสงเคราะหศาสตร). กรุงเทพฯ :

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร. ถายเอกสาร.

Page 9: Abstract

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

วพ. 8 หนา 9 จาก 9

วีระชาต ิ จิววงษ. (2543). กลยุทธในการดําเนินธุรกิจคาราโอเกะในพื้นท่ีอําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุรอยเอ็ดและมหาสารคาม. การศึกษาปญหาพิเศษ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถายเอกสาร.

Chester, I. (1983). Marketing. 7 th ed. Fort Worth : Dryden Press. Dalton, Farland E. (1987). Fundamentals of Maketing. 8 th ed. New York : McGraw-Hill.