พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทยprovince.m-culture.go.th/trat/w2553/w2553/1aug53.pdf ·...

4
พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย ดร.ชลพรรษ ดวงนภา * ความหมายของการพัฒนา คําวา “พัฒนา” ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง “ทําใหเจริญ” ดังนั้น การพัฒนา ก็คือ การทําใหเจริญกาวหนา เชน การพัฒนาชุมชน การพัฒนาประเทศ หมายถึง การทําสิ่งเหลานั้นใหดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความตองการของประชาชน สวนใหญใหไดดียิ่งขึ้น การพัฒนาเปนกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพที่ไมนาพอใจไปสูสภาพทีนาพอใจ การพัฒนาเปนกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมหยุดนิ่งและมีความสัมพันธโดยตรง กับความเปลี่ยนแปลง กลาวคือ การพัฒนาเปนกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไว แลว คือ การทําใหลักษณะเดิมเปลี่ยนไป โดยมุงหมายวาลักษณะใหมที่เขามาแทนที่นั้นจะดีกวา ลักษณะเกาหรือสภาพเกา แตโดยธรรมชาติแลวการเปลี่ยนแปลง ยอมเกิดปญหาในตัวเอง เพียงแตวา จะมีปญหามากหรือปญหานอย การพัฒนาสามารถตีความหมายได 2 นัย (แนวคิดและความเขาใจ เกี่ยวกับการพัฒนาสังคมไทย. ม.ป.ป. : เว็บไซต) คือ 1. การพัฒนาในความเขาใจแบบสมัยใหม หมายถึง การทําใหเจริญในดานวัตถุ รูปแบบ และในเชิงปริมาณ เชน ถนน บาน ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ เปนตน 2. การพัฒนาในแงของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนทั้งในดานรางกายและจิตใจ โดยเนนในดานคุณภาพชีวิตและหลักของความถูกตองพอดีซึ่งใหผลประโยชนสูงสุด ความกลมกลืน และความเกื้อกูลแกสรรพชีวิต โดยไมเบียดเบียนทําลายธรรมชาติและสภาพแวดลอม ความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย สุภาพรรณ บางชาง (2526 : 83-86) ไดกลาวถึงความสําคัญของพุทธศาสนาในการ พัฒนาวา พุทธศาสนามีความเหมาะสมกับการพัฒนาสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะหลักพุทธธรรม เปนการสรางคนที่มีคุณภาพชีวิต ทําใหคนในสังคมดําเนินชีวิตบนฐานแหงความจริง รูจักพึ่งพา ตนเอง ขยัน ประหยัด เรียบงาย ใฝสันติ มีศีลธรรม เผื่อแผความรักและปราศจากความเห็นแกตัว ดังนั้น ในการแกปญหาดานศีลธรรมของชาวชนบท จึงจําเปนตองมีการ นําหลักพุทธศาสนาซึ่งมี หลักการและแนวทางแหงการพัฒนาอยางเหมาะสม เขาไปเผยแพร นฟูใหแกชาวชนบท เพื่อทําให สังคมชนบทสามารถประสานการพัฒนาทางดานวัตถุและจิตใจใหสอดคลองกลมกลืนกัน เพื่อเปาหมายแหงความพนทุกขไดอยางหมดจด ทั้งนี้ตองเนนวาการที่จะมีการพัฒนาทางดานจิตใจ มิไดหมายความวาจะตองเลิกละการพัฒนาทางดานวัตถุและสังคมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปดวย เพื่อที่จะให การพัฒนาทางใจนั้นไมขัดแยงกับการพัฒนาดานวัตถุและสังคม ทั้งกลับเปนเครื่องหนุนใหมีการ * นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด

Upload: others

Post on 11-Sep-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทยprovince.m-culture.go.th/trat/w2553/w2553/1aug53.pdf · พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย

พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย

ดร.ชลพรรษ ดวงนภา* ความหมายของการพัฒนา คําวา “พัฒนา” ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง “ทําใหเจริญ” ดังนั้น การพัฒนา ก็คือ การทําใหเจริญกาวหนา เชน การพัฒนาชุมชน การพัฒนาประเทศ หมายถึง การทําส่ิงเหลานั้นใหดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความตองการของประชาชนสวนใหญใหไดดียิ่งขึ้น การพัฒนาเปนกระบวนการของการเคล่ือนไหวจากสภาพท่ีไมนาพอใจไปสูสภาพท่ี นาพอใจ การพัฒนาเปนกระบวนการท่ีเปล่ียนแปลงอยูเสมอ ไมหยุดนิ่งและมีความสัมพันธโดยตรงกับความเปล่ียนแปลง กลาวคือ การพัฒนาเปนกระบวนการของการเปล่ียนแปลงท่ีมีการวางแผนไวแลว คือ การทําใหลักษณะเดิมเปล่ียนไป โดยมุงหมายวาลักษณะใหมท่ีเขามาแทนท่ีนั้นจะดีกวาลักษณะเกาหรือสภาพเกา แตโดยธรรมชาติแลวการเปล่ียนแปลง ยอมเกิดปญหาในตัวเอง เพียงแตวาจะมีปญหามากหรือปญหานอย การพัฒนาสามารถตีความหมายได 2 นัย (แนวคิดและความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมไทย. ม.ป.ป. : เว็บไซต) คือ 1. การพัฒนาในความเขาใจแบบสมัยใหม หมายถึง การทําใหเจริญในดานวัตถุ รูปแบบ และในเชิงปริมาณ เชน ถนน บาน ดัชนีช้ีวัดทางเศรษฐกิจ เปนตน 2. การพัฒนาในแงของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนท้ังในดานรางกายและจิตใจ โดยเนนในดานคุณภาพชีวิตและหลักของความถูกตองพอดีซ่ึงใหผลประโยชนสูงสุด ความกลมกลืน และความเกือ้กูลแกสรรพชีวิต โดยไมเบียดเบียนทําลายธรรมชาติและสภาพแวดลอม ความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย สุภาพรรณ ณ บางชาง (2526 : 83-86) ไดกลาวถึงความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาวา พุทธศาสนามีความเหมาะสมกับการพัฒนาสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะหลักพุทธธรรมเปนการสรางคนท่ีมีคุณภาพชีวิต ทําใหคนในสังคมดําเนินชีวิตบนฐานแหงความจริง รูจักพ่ึงพาตนเอง ขยัน ประหยัด เรียบงาย ใฝสันติ มีศีลธรรม เผ่ือแผความรกัและปราศจากความเห็นแกตัว ดังนั้น ในการแกปญหาดานศีลธรรมของชาวชนบท จึงจําเปนตองมีการ นําหลักพุทธศาสนาซ่ึงมีหลักการและแนวทางแหงการพัฒนาอยางเหมาะสม เขาไปเผยแพร ฟนฟูใหแกชาวชนบท เพ่ือทําใหสังคมชนบทสามารถประสานการพัฒนาทางดานวัตถุและจิตใจใหสอดคลองกลมกลืนกัน เพ่ือเปาหมายแหงความพนทุกขไดอยางหมดจด ท้ังนี้ตองเนนวาการท่ีจะมีการพัฒนาทางดานจิตใจมิไดหมายความวาจะตองเลิกละการพัฒนาทางดานวัตถุและสังคมซ่ึงเปล่ียนแปลงไปดวย เพ่ือท่ีจะใหการพัฒนาทางใจนั้นไมขัดแยงกับการพัฒนาดานวัตถุและสังคม ท้ังกลับเปนเครื่องหนุนใหมีการ * นักวิชาการวัฒนธรรมชํานาญการ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด

Page 2: พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทยprovince.m-culture.go.th/trat/w2553/w2553/1aug53.pdf · พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย

การพัฒนาสังคมไทยตามหลักพุทธศาสนา ดร.ชลพรรษ ดวงนภา 2

พัฒนาในแนวทางท่ีเหมาะสม เปนการนําใหสวนความตองการของชีวิตท้ัง 3 ดานของคนเราประสานกลมกลืนกันไดอยางเหมาะสม ในยามท่ีประเทศไทยเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ พุทธศาสนามีบทบาทสําคัญในการแกไขปญหาของประชาชนใหอยูอยางสงบสุข ท่ีเปนเชนนี้เพราะวาประเทศไทยเรามีพ้ืนฐานทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีด ี คือมี “ทุนทางสังคม” ไดแก มีฐานทางเศรษฐกิจท่ีม่ันคงโดยเฉพาะการเกษตร ฐานทางทรัพยากรธรรมชาตท่ีิม่ันคงโดยมีทรัพยากรของประเทศมากมาย มีดินดี น้ําดี เหมาะแกการเพาะปลูก และฐานทางวัฒนธรรมแข็งแกรง คือ มีพระพุทธศาสนาเปนวัฒนธรรมทางดานจิตใจ สามารถแกปญหาในยามวิกฤตได วัฒนธรรมแบบพุทธไดโอบอุมสังคมไทยใหสงบรมเย็นได ดวยองคประกอบ 2 ประการ (สมัยกรุงรัตนโกสินทร. ม.ป.ป. : เว็บไซต) คือ ประการแรก องคกรทางพุทธศาสนาเปนท่ีพ่ึงของสังคมในยามวิกฤต ดังเชนปจจุบัน วัดหลาย ๆ แหง กลายเปนศูนยกลางในการชวยเหลือชาวบาน ดวยการใชวัดเปนสถานสงเคราะห ฝกอาชีพ และกิจกรรมตาง ๆ แกผูตกงาน วัดในชนบทหลายแหงกลายเปนท่ีพ่ึงสําหรับผูตกงาน เปนสนามกีฬาสําหรับเยาวชน (ในโครงการลานวัด ลานใจ ลานกีฬา) โดยมีพระสงฆเปนผูนํา ในการสงเสริมอาชีพแกประชาชน ประการท่ี 2 หลักธรรมทางพุทธศาสนาท่ีแทรกซึมอยูในจิตใจของผูคนท่ีสามารถประยุกตใชกับสถานการณปจจุบันไดอยางเหมาะสม จะโดยรูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม แตก็มีอิทธิพล ตอวิถีชีวิตของคนไทย ทําใหไมเกิดความวุนวายระสํ่าระสายเกิดขึ้น หลักธรรมเหลานั้น ไดแก 1. ความเมตตาปราณี เอ้ือเฟอเผ่ือแผตอเพ่ือนมนุษยดวยกัน มีการชวยเหลือคนตกงานดวยวิธีการตาง ๆ ไมดูถูกซํ้าเติม เชน ชวยจัดหางานให จัดโรงทานอาหารฟรีให และใหกําลังใจ ในการตอสูชีวิต ท้ังจากการแนะนําของผูใกลชิดและจากส่ือมวลชนตาง ๆ 2. ใหอภัยและโอนออนผอนตาม เม่ือมีปญหาเกิดขึ้น เชน ปญหาระหวางลูกจางกับนายจาง หรือระหวางหนวยงานเอกชนกับรัฐท่ีตองปดกิจการ ก็ไมมีเหตุการณรุนแรงเกิดขึ้น ดวยการใชถอยทีถอยอาศัย ผอนปรนตอกันได 3. ความสันโดษ แมจะถูกออกจากงานท่ีทําก็ยินดเีต็มใจท่ีจะทํางานอ่ืน แมจะมีรายไดนอยกวาก็ยินดีทํา เคยเปนผูจัดการบริษัทมากอนแตมาขับรถแท็กซ่ีก็ทําได เคยเปนพนักงานธนาคารแลวมาขายกลวยทอดก็ทําได อีกประการหนึ่งคือ การรูประมาณในการบริโภคในการใชจาย มุงใหประหยัด ทําใหเกิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง 4. ความสมานสามัคค ี ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชนในชาติในอันท่ีจะพรอมใจกันกอบกูเศรษฐกิจใหกลับมาอยูดีกินด ี แมจะเสียสละเงินทองบริจาคชวยชาติก็เต็มใจท่ีจะบริจาค การนําหลักธรรมของพุทธศาสนามาใชในการพัฒนาสังคมไทย เพ่ือใหคนรูจักคิด พิจารณา ไตรตรอง ไมเช่ืองมงาย แกไขปญหาใหดํารงชีวิตอยางมีความสุข มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผตอเพ่ือนมนุษย (สุภาพรรณ ณ บางชาง. 2526 : 83-86) ดังนี ้

Page 3: พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทยprovince.m-culture.go.th/trat/w2553/w2553/1aug53.pdf · พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย

การพัฒนาสังคมไทยตามหลักพุทธศาสนา ดร.ชลพรรษ ดวงนภา 3

1. การพิจารณาใหเกิดความเขาใจถึงลักษณะของชีวิตและสังคมท่ีถูกตอง โดยเฉพาะลักษณะท่ีเปนปญหา สาเหตุของปญหาความเปนไปไดของการแกไขปญหาและแนวทางของการดําเนินชีวิตไปสูเปาหมายอยางไมมีปญหาดวยความเขาใจทุกขั้นตอน ในหลักพุทธธรรมจะตองเปนความเขาใจท่ีมาจากการพิจารณาไตรตรองตลอดจนการทดลองปฏิบัติดวยตนเอง มิใชจากความเช่ือในธรรมเนียมท่ีมีมาแตโบราณ หรือเช่ือในตํารา หรือเช่ือในบุคคล หรือเช่ือเพราะการนึกคาดเดา หรือเพราะเห็นวาตรงกับความเช่ือเกาของตน เปนตน การท่ีหลักพุทธธรรมเนนการสรางความเขาใจเปนพ้ืนฐานตั้งแตตอนตนนั้นกอใหเกิดผลดีหลายประการ คือ 1.1 ทําใหคนดํารงชีวิตอยูบนรากฐานแหงสัจจะหรือความเปนจริง ไมหลงงมงาย 1.2 การท่ีตองเรียนรูและทดลองปฏิบัติดวยตนเอง จะทําใหคนรูจัดการพ่ึงพาตนเอง เพราะพุทธเจาก็ทรงย้ําวา “อตฺตาหิ อตฺตาโน นาโถ” ตนนั่นแลเปนท่ีพ่ึงแหงตน 1.3 ความเขาใจนี้จะเปนรากฐานแหงศรัทธาท่ีม่ันคง คือ มีความเช่ือม่ันและความชัดเจนถึงแนวทางการพัฒนาตนเอง และสังคมไปสูชีวิตท่ีลดละความทุกข ศรัทธาท่ีม่ันคงนี้จะกอใหเกิดความวิริยะอุตสาหะท่ีจะพัฒนาไปใหถึงเปาหมายอยางไมยอทอ มีความปติในการพัฒนา ฉะนั้น จึงทําใหคนในสังคมเปนคนพากเพียรทําดี มีความกระตือรือรนท่ีจะพัฒนาความดีงาม ท้ังแกตนและสังคมสวนรวม 2. แนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักพุทธธรรมนั้น เนนความเปนอยูท่ีเปนสุขกับความเรียบงาย สอดคลองสัมพันธกับธรรมชาติ ขอนี้จะนําตนใหรูจักการดํารงอยูอยางประหยัด ไมฟุมเฟอยจนเกินเหตุ ท้ังไมทําลายธรรมชาติ เพ่ือสนองความเห็นแกตัวและความอยากในทางวัตถุของตน 3. หลักพุทธธรรมยังเนนถึงการดํารงชีวิตท่ีสงบ นอมนําใหเกิดความใฝในสันต ิ 4. หลักพุทธธรรมสอนใหคนรูจักเผ่ือแผความรัก พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) (2541 : 29-31) กลาววา การพัฒนาสังคมไทยหรือพัฒนาชุมชนนั้นจะตองมีการพัฒนาคนกอน เพ่ือสรางคนใหมีความเขมแข็ง 3 ประการ คือ 1. ความเขมแข็งทางพฤติกรรม ไดแก ความขยันขันแข็งจริงจังในการทํางาน 2. ความเขมแข็งทางจิตใจ ไดแก การชวยเหลือตนเอง ไมรอคอยความชวยเหลือจากภายนอก 3. ความเขมแข็งทางปญญา ไดแก ความพยายามทําดวยตัวเอง ใชปญญาเปนเครื่องมือในการแกปญหา กอใหเกิดภาวะผูนําทางปญญา ซ่ึงเปนผูนําท่ีแทจริงนั่นเอง

เม่ือสรางคนใหมีความเขมแข็งแลวก็จะสามารถแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้นในสังคมได อีกท้ังยังสงผลใหชุมชนเขมแข็ง โดยยึดหลักธรรมเปนแนวทางในการพัฒนา ดังนี ้ 1. ถือหลักทําการใหสําเร็จดวยความเพียรพยายาม ท่ีเรียกวา “หลักกรรม” 2. ถือหลักเรียนรูฝกฝนพัฒนาชีวิตใหดียิ่งขึ้นเรื่อยไป ท้ังทางพฤติกรรม ทางจิตใจ และทางปญญา ท่ีเรียกวา “ไตรสิกขา”

Page 4: พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทยprovince.m-culture.go.th/trat/w2553/w2553/1aug53.pdf · พุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย

การพัฒนาสังคมไทยตามหลักพุทธศาสนา ดร.ชลพรรษ ดวงนภา 4

3. ถือหลักทําการท้ังหลายอยางเรงรัดไมรอเวลาดวยความไมประมาท ท่ีเรียกวา “หลักอัปปมาทะ” 4. ถือหลักทําตนใหเปนท่ีพ่ึงเพ่ือพ่ึงตนเองไดและเปนอิสระ ท่ีเรียกวา “หลักอิสรภาพ แหงการพ่ึงตนได” บทสรุป การพัฒนาสังคมไทยนั้นตองพัฒนาคนควบคูดวย เพ่ือใหคนมีความเขมแข็งท้ังรางกาย จิตใจ และปญญา โดยการประพฤตปิฏิบัติอยูในศีลธรรมอันดีงาม ดํารงชีวิตอยูบนรากฐานแหงสัจจะหรือความจริง ไมหลงงมงาย มีความพอเพียง รูจักชวยเหลือตนเอง ใหสามารถพ่ึงตนเองได และดํารงชีวิตอยางมีความสุข หลักธรรมท่ีนํามาใชในการพัฒนาสังคม ไดแก หลักกรรม คือ ความเพียรหรือความพยายาม หลักไตรสิกขา คือ การพัฒนาพฤติกรรม จิตใจ และปญญาใหดียิ่งขึ้น หลักอัปปมาทะ คือ การไมรอเวลาและไมประมาท และหลักอิสรภาพแหงการพ่ึงตนได คือ การพ่ึงตนเองและเปนอิสระ

******************************

เอกสารอางอิง “แนวคิดและความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมไทย,” การพัฒนาสังคมไทย. ม.ป.ป. <http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc2/so31-2_1.htm> 1 กรกฎาคม 2550. “พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน,” พจนานุกรม ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน. ม.ป.ป. <http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/?source_page=2&source_location=1&spe ll=%C7%D1%B2%B9%B8%C3%C3%C1&x=13&y=4> 10 พฤษภาคม 2550. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). ธรรมกับไทย ในสถานการณปจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2541. สุภาพรรณ ณ บางชาง. “พระสงฆกับการพัฒนาชนบท,” ใน การแสวงหาเสนทางการพัฒนา ชนบทของพระสงฆไทย. หนา 28-31. กรุงเทพฯ : กองแผนงาน กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, 2526. “สมัยกรุงรัตนโกสินทร,” พุทธศาสนาในประเทศไทย. 25 มกราคม 2550. < http://www.geocities.com/sakyaputto/bud_bangkok.htm > 23 พฤษภาคม 2550.

28 กรกฏาคม 2553