อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์ - kasetsart...

43
BY: MR. KITIPONG TANGKIT DEPARTMENT OF FOREST PRODUCTS FACULTY OF FORESTRY : KASETSART UNIVERSITY บทที่ 4 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์ Forest Products Industries

Upload: others

Post on 19-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • BY: MR. KITIPONG TANGKIT

    DEPARTMENT OF FOREST PRODUCTS

    FACULTY OF FORESTRY : KASETSART UNIVERSITY

    บทที ่4

    อุตสาหกรรมวนผลิตภณัฑ์

    Forest Products Industries

  • บทนาํ (Introduction)

    อุตสาหกรรมวนผลิตภณัฑ์

    ไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดข้ึนใหม่ได้ (Renewable Natural Resource) ซ่ึงมนุษย์สามารถบริหาร

    จัดการให้ไม้สามารถมีใช้ได้อย่างพอเพียงตามความต้องการของผู้บริโภคและอุปโภค หากมีการจัดการที่ดี

    โดยลักษณะทางกายวิภาค คุณสมบัติทางฟิสิกส์ ทางกล และทางเคมีของเน้ือไม้ที่มีความ

    แตกต่างไปจากวัสดุประเภทอื่นๆ ทั้งยังมีคุณสมบัติที่แตกต่างกนัไปตามแต่ละชนิดพันธุ์ ก่อเกิดคุณสมบัติ

    ที่หลากหลาย ดังที่กล่าวมาแล้วโดยละเอยีดในบทที่ 3 เร่ืองคุณสมบัติเบ้ืองต้นของกระบวนการแปรรูปทาง

    วนผลิตภัณฑ ์และการวัดคุณค่าการใช้ประโยชน์วนผลิตภัณฑ์

    จากคุณลักษณะและคุณสมบัติของไม้เหล่าน้ี ทาํให้ไม้มีความคล่องตัวที่จะนาํไปใช้ทาํเป็น

    วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสมได้อย่างมากมายหลากหลาย

  • เนื้ อหาบทที่ 4 อุตสาหกรรมวนผลิตภณัฑ์

    4.1 อุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ

    4.2 อุตสาหกรรมไม้และอุตสาหกรรมต่อเน่ือง

    4.3 ผลิตภัณฑท์ี่ได้จากอุตสาหกรรมไม้

    4.4 ความสาํคญัของวนผลิตภัณฑต่์างๆ ต่อเศรษฐกจิของประเทศ

    4.5 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑใ์นประเทศไทย

    Chapter Content

    ดดัแปลงจาก : ศ.ดร.นิยม เพชรผดุ, อตุสาหรรมป่าไม้ขนาดยอ่ม

  • 4.1 อุตสาหกรรมทีใ่ชไ้มเ้ป็นวตัถุดิบ

    ลกัษณะการจําแนกอุตสาหกรรมที่ใชไ้มเ้ป็นวตัถุดิบ อาจจําแนกไดโ้ดย

    4.1.1 การนาํไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ตัดโค่นออกจากพ้ืนที่

    4.1.2 การนาํไม้ไปผ่านกระบวนการผลิต

  • 4.1.1 การนาํไมไ้ปใชป้ระโยชนโ์ดยตรงหลกัจากที่ไดต้ดัโค่นออกจากพื้ นที่

    โดยปกติการนาํไม้ไปใช้ประโยชน์ อาจเร่ิมต้นจากการทาํไม้ (Logging) โดยอาจถือว่าเป็นการตัดโค่นต้นไม้ และ

    ดาํเนินการขนส่งไม้จากแหล่งกาํเนิดมายังโรงงานผลิต ในสภาพท่อนซุง เพราะการนําไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงดังกล่าว ซ่ึงไม้

    ดังกล่าวเกอืบไม่ได้ผ่านกระบวนการผลิตอย่างใดเลย หรือหากผ่านกระบวนการผลิตกเ็พียงเลก็น้อย เพ่ือให้สะดวกแก่การใช้เท่าน้ัน

    คือเป็นการใช้ไม้ในรูปลักษณะเดิม (Primary form) ของไม้ ยกตัวอย่างเช่น

    -ไม้เสา (เสาอาคาร หรือเสารบ้าน , เสาไฟฟ้า , เสาเขม็)

    -ไม้ร้ัว

    -ไม้คํา้ยัน

    -ไม้เพ่ือการทาํไม้ฟืน

    -ไม้ทาํน่ังร้าน

    หรือบางคร้ังอาจเล่ือยให้เป็นเหล่ียม เพ่ือเพ่ิมความเรียบสนิทในการวางประกอบเพียงเลก็น้อย และสะดวกมากย่ิงข้ึน

    ในการนาํไปใช้งาน เช่น ไม้หมอนรางรถไฟเป็นต้น

  • ตวัอย่างภาพ: การนาํไมไ้ปใชป้ระโยชนโ์ดยตรงหลกัจากที่ไดต้ดัโค่น

  • 4.1.2 การนาํไมไ้ปผ่านกระบวนการผลิต

    คือการเพ่ิมกระบวนการ หรือการผ่านกระบวนการผลิตบางอย่างก่อนนาํไม้ไปใช้ประโยชน์ ซ่ึงวิธดัีงกล่าวอาจเรียกว่า “การใช้ไม้เป็น

    วัตถุดิบในอุตสาหกรรม” ซ่ึงกระบวนการอาจจาํแนกเป็นกระบวนการหลักๆได้ดังน้ี

    -การแปรรูปทางกล (Mechanical processing)

    -การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

  • 4.1.2 การนาํไมไ้ปผ่านกระบวนการผลิต

    4.1.2.1 การแปรรูปทางกล (Mechanical processing)

    คืออุตสาหกรรมที่ให้ผลิตภัณฑท์ี่ผลิตมีสภาพของเน้ือไม้อยู่ คือเป็นกระบวนการผลิตที่เปล่ียนลักษณะทาง

    กายภาพของไม้เท่าน้ัน

    ไม้ที่แปรรูปทางกลส่วนใหญ่ ได้แก่ไม้ซุงสาํหรับเล่ือยเป็นไม้แปรรูป (Saw log for lumber)

    และไม้ซุงสาํหรับผลิตเป็นไม้บาง (Log and bolt for veneer) หรือ ไม้ประกบั (Laminated wood)

  • ตวัอย่างวิดีทศันก์ารแปรรูปไมท้างกล

  • ตวัอย่างวิดีทศันก์ารแปรรูปไมท้างกล

  • 4.1.2 การนาํไมไ้ปผ่านกระบวนการผลิต

    4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

    สาํหรับการแปรรูปทางเคมีเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพทางเคมีของไม้ยกตัวอย่างเช่น

    1.การกลัน่ทําลายไม ้(Destructive distillation of wood) การกล่ันไม้เป็นการให้ความ

    ร้อนแก่ไม้ในที่ที่มีอากาศไม่เพียงพอ ผลผลิตที่ได้มีมากมายยกตัวอย่างเช่น

    -ใช้ผลิตถ่าน ซ่ึงใช้เป็นเช้ือเพลิงให้ความร้อน ใช้ในการถลุงแร่

    -ใช้ผลิตสารเคมี เช่น คาร์บอนไดซัลไฟด์ (Carbon disulfide) ประโยชน์คือใช้ทาํ Viscose

    และ Rayon ซ่ึงประโยชน์ของ Viscose และ Rayon ใช้ในการทาํเซลลโลเฟน (Cellophane) และ Sodium

    cyanide ซ่ึงเป็นสารออกฤทธิ์ในนํา้ยาฆ่าเช้ือโรค (Disinfectant)

    การกล่ันไม้ยังพบมีสารระเหยได้ (Volatile products) ออกมาหลากหลายชนิด เมื่อนาํไป

    ผ่านเคร่ืองควบแน่น (Condenser) กจ็ะกล่ันตัวออกเป็นสารประกอบชนิดต่างๆ เช่น methyl alcohol,

    Acetone, Acetic acid , Tar และ Pitches ซ่ึงได้จากการกล่ันตัวในไม้ใบกว้าง (Hardwood) หรือ จากไม้

    ใบแคบ (Softwood) เช่น นํา้มันสน (turpentine) , softwood tar และ hardwood tar ซ่ึงเป็นประโยชน์ใน

    การป้องกนัรักษาเน้ือไม้อกีด้วย

  • ตวัอย่างภาพผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากการกลัน่ทําลายไม้

  • ตวัอย่างภาพผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากการกลัน่ทําลายไม้

  • 4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

    2.การสกดัสารต่างๆจากไม ้(Extraction Process)

    เป็นกระบวนการที่ใช้นํา้หรือตัวทาํละลายอื่นๆเพ่ือแยกเอา Extraneous material ต่างๆที่อยู่ในเน้ือไม้เป็น

    ต้นว่า แทนนิน (tannin) , นํา้มันสน (Turpentine) , ชัน (Rosin) และนํา้มันหอมระเหย (Essential oil)

    ออกจากไม้ ซ่ึงกรรมวิธน้ีีใช้ได้กับไม้บางชนิด ไม่สามารถนาํไปใช้กับไม้ทุกชนิด คือใช้กับไม้ที่มี extractive

    1-20 % เช่นในพวกตอไม้สนกจ็ะได้นํา้มันสน และชันสน นํา้มันสนกใ็ช้เป็นทนิเนอร์ (thinner) ในสีทา

    บ้าน ชันสนกใ็ช้ในการทาํสบู่ อุตสาหกรรมกระดาษ สแีละนํา้มันชักเงา (Varnish)

    ถ้าเป็นการสกดัจากเปลือกไม้บางชนิด เช่น เปลือกโกงกาง กจ็ะได้แทนนินซ่ึงใช้ในการฟอก

    หนังเป็นต้น

  • 4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

    3. การทําเยือ่กระดาษ (Chemical pulping process)

    เป็นการผลิตเย่ือกระดาษโดยวิธีทางเคมี คือการใช้ช้ินไม้สับ (wood chip) ทาํปฏกิิริยากับนํา้ยาเคมี ซ่ึงทาํ

    ให้โครงสร้างของเซลล์เน้ือไม้ซ่ึงประกอบด้วยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ซ่ึงนํา้ยาเคมีทาํให้ลิกนินในเน้ือไม้ซ่ึง

    ทาํหน้าที่เช่ือมเซลล์ของไม้ให้ติดกันจะถูกละลายออก เซลล์ของเน้ือไม้แยกตัวออกจากกัน เราเรียกว่าเย่ือ

    (pulp) ซ่ึงใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ

    ซ่ึงอุตสาหกรรมกระดาษจัดเป็นอุตสาหกรรมสาํคัญในประเทศไทย ส่วนเย่ือที่ผ่านการแปร

    รูปทางเคมีที่ให้เย่ือที่มีความบริสุทธิ์มากๆ ซ่ึงเตรียมข้ึนเป็นพิเศษที่เรียกว่า “dissolving pulp” กใ็ช้ใน

    อุตสาหกรรมเรยอน (rayon) , อุตสาหกรรมพลาสติกจากไม้, อุตสาหกรรมเซลลูโลสแซนเทต (Cellulose

    xanthate) ซ่ึงใช้ผลิตเส้นใยสงัเคราะห์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเป็นต้น

  • ตวัอย่างแสดงการแปรรูปทางกล-ทางเคมี

  • ตวัอย่างกระบวนการแปรรูปทางเคมี

  • ตวัอย่างกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน

    (Viscose rayon)

    Pulp

    เยือ่

    แช่ (steep)

    สารละลาย NaOH ขจัดเฮมิเซลลูโลสที่ละลายในด่างออก

    การกดอดั (Pressing)/การตดั (shredding)ทาํเพ่ือขจัดสารละลาย NaOH ส่วนเกนิ และการตัดเพ่ิม

    พ้ืนที่ผิวให้เกดิปฏกิริิยาที่ดีข้ึนในข้ันตอนต่อไป

    หมกั (Aging)

    ควบคุมความหนืด

    (Xanthation)

    เปลีย่นเซลลูโลสเป็นเซลลูโลสแซนเทท

    ละลาย (Dissolving)

    เปลีย่น xanthate crumb เป็น วิสโคส (viscose)

    บ่ม (Ripening)

    ขจดัฟองอากาศ

    กรอง (Filteration)

    ขจดัสิ่งปนเป้ือน ปัน่เสน้ใย (spinning)

    ลา้งและตกแต่ง (Washing and Finishing)

    อ้างองิ : ดร. ศศิประภา รัตนดริก ณ ภเูกต็,

    Cite: www.thaitextile.org

    คุมความหนืดและความยาวของสายโพลิเมอร์

    เพ่ือควบคุมคุณสมบัติของเรยอน

  • ภาพกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน

    (Viscose rayon)

  • ตวัอย่างอุตสาหกรรมทีใ่ชไ้มเ้ป็นวตัถุดิบ

    อุตสาหกรรมหลายชนิดที่ใชไ้มเ้ป็นวตัถุดิบที่สําคญัๆไดแ้ก่ ซ่ึงเป็นเพียงส่วนหนึง่ของอุตสาหกรรมที่ใชไ้มเ้ป็นวตัถุดิบ

    อุตสาหกรรมแปรรูปไม้โรงเล่ือย อุตสาหกรรมอบไม้ ไสไม้

    อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมบ้านสาํเรจ็รูป

    อุตสาหกรรมวงกบ กรอบประตู หน้าต่าง อุตสาหกรรมประตู หน้าต่าง

    อุตสาหกรรมไม้บาง-ไม้อดั อุตสาหกรรมไฟเบอร์บอร์ด

    อุตสาหกรรมไม้แบบสาํเรจ็ อุตสาหกรรมปาร์ติเกิ้ลบอร์ด

    อุตสาหกรรมไม้ประกบั อุตสาหกรรมแกะสลักไม้

    อุตสาหกรรมไม้ขีดไฟ และไม้จ้ิมฟัน อุตสาหกรรมกระดาษ

    อุตสาหกรรมเผาถ่าน และ Activated Charcoal อุตสาหกรรมไม้พ้ืนปาร์เก้ โมเสค

    อุตสาหกรรมต่อเรือ อุตสาหกรรมต่อเน่ืองอุตสาหกรรมต่อรถยนต์

    อุตสาหกรรมไม้หมอน อุตสาหกรรมอาบนํา้ยาไม้

    อุตสาหกรรมเคร่ืองดนตรี อุตสาหกรรมแผ่นรองยก และลังไม้เพ่ือการขนส่ง ฯลฯ

  • 4.2 อุตสาหกรรมไมแ้ละอุตสาหกรรมต่อเนือ่ง

    อุตสาหกรรมไม้เกือบทุกประเภทตามที่กล่าวไว้ในหัวข้อ 4.1 น้ันมีความสมัพันธต้์องอาศัยซ่ึง

    กันและกัน กล่าวคือ อุตสาหกรรมชนิดหน่ึงต้องอาศัยผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมชนิดหน่ึง

    หรือหลายชนิดมาเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมของตน หรือมิฉะน้ันกส็่งผลิตภัณฑข์องตนให้เป็น

    วัตถุดิบของอุตสาหรรมอื่นๆ แทบจะไม่มีอุตสาหกรรมไม้ชนิดใดเลยที่สามารถผลิต ผลิตภัณฑ์

    ให้แก่ผู้บริโภคได้โดยอิสระ เป็นต้นว่าอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์

    อุตสาหกรรมแกะสลัก อุตสาหกรรมไม้บาง-ไม้อัด ลัวนแต่มีความสมัพันธแ์ละอาศัยซ่ึงกันและ

    กนั

  • ตวัอย่างภาพความเกีย่วเนือ่งกนัของอุตสหากรรมไม้

  • 4.3 ผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากอุตสาหกรรมไม้

    ผลิตภัณฑ์อุตหสาหกรรมไม้ มีหลากหลายด้วยกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของอุตสาหกรรมน้ันเป็นต้น

    ไม้ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ (Lumber industry) หรือโรงเล่ือย (Sawmill)

    ผลิตภัณฑ์ก็คือ ไ ม้แปรรูปขนาดต่างๆ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไม้บาง ก็คือไม้บาง

    อุตสาหกรรมไม้อดั กค็ือไม้อดั อุตสาหรรมฟอร์นิเจอร์ กค็ือเคร่ืองเรือนต่างๆ เช่น โตะ๊ ตู้ เตียง

    เป็นต้น

    ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไม้ต่างๆตามที่ยกตัวอย่างมาน้ี เราพอจะแบ่งออกเป็น

    ประเภทใหญ่ๆ โดยการถือเอาขั้นตอนของการผลิตและความพร้อมที่ผู้บริโภคจะนาํผลิตภัณฑ์

    น้ันไปใช้เป็นหลักซ่ึงพอจะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ

    4.3.1 ผลิตภัณฑเ์บื้องต้น (Primary products)

    4.3.2 ผลิตภัณฑก์ึ่งสาํเรจ็รูป (Intermediate products)

    4.3.3 ผลิตภัณฑส์าํเรจ็รูป (End products)

  • ประเภทของผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากอุตสาหกรรมไม้

    4.3.1 ผลิตภณัฑเ์บื้ องตน้ (Primary products)

    ได้แก่ผลิตภัณฑ์ ซ่ึงได้ผ่านการผลิตในระยะแรกมาแล้ว คือผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลผลิตของอุตสากรรมเบ้ืองต้น (Primary Industries)

    ซ่ึงผู้บริโภคยังไม่อาจใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์น้ันได้ทันที จะต้องนําไปผ่านกระบวนการผลิตเพ่ิมเติม จึงจะใช้ประโยชน์จาก

    ผลิตภัณฑ์น้ัน ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบใน Wood-based secondary industries เป็นต้นว่า ไม้บาง เย่ือกระดาษ หรือพวก

    บรรดาไม้แปรรูป ซ่ึงผู้บริโภคจะใช้ประโยชน์จาก “ไม้บาง” โดยตรงน้ันมีน้อย จนกว่าจะได้นาํไปประกอบข้ึนเป็นไม้อัด หรือ ไม้

    ประกบั

    ในกรณีของเย่ือกระดาษกเ็ช่นกัน ยังนําไปใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้จนกว่าจะนาํไปผลิตเป็นกระดาษประเภทต่างๆ

    ผู้บริโภคจึงจะใช้ประโยชน์ในรูปการเขียน การพิพมพ์ การห่อบรรจุภัฑณ์ ได้

    หรือในกรณีของไม้แปรรูป กเ็ช่นกันไม้ที่ต้องผ่านกระบวนการในการแปรรูปยังไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้โดยตรง

    หากแต่ต้องผ่านข้ันตอนต่างๆก่อน เพ่ือที่ผู้บริโภคจะนาํไปทาํอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้าง หรือ เฟอร์นิเจอร์ ได้

  • ประเภทของผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากอุตสาหกรรมไม(้ต่อ)

    4.3.2 ผลิตภณัฑกึ์ง่สําเร็จรูป (Intermediate products)

    เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างผลิตภัณฑ์เบ้ืองต้นกับผลิตภัณฑ์สาํเรจ็รูป เป็นต้นว่ากระดาษเหนียว (Kraft Paper) ที่จะนาํไป

    ผลิตเป็นกระดาษลูกฟูก เพ่ือใช้ทาํกล่องกระดาษ ลังกระดาษ ถุงกระดาษ เพ่ือใส่สนิค้า

    หรือยกตัวอย่าง ส่วนประกอบของบ้านไม้สาํเรจ็รูป ที่ได้เตรียมส่วนประกอบส่วนต่างๆไว้ในโรงงาน เช่นส่วนของฝา

    บ้าน ฝากั้นห้อง พ้ืน คาน ที่เตรียมไว้ภายในโรงงานรอการเคล่ือนย้ายช้ินส่วนต่างๆเหล่าน้ันไปยังสถานที่ก่อสร้างและประกอบเป็น

    บ้านไม้สาํเรจ็รูปเป็นต้น หรือส่วนประกอบของโตะ๊ เก้าอี้ ตู้ เตียงที่ยังไม่ถูกประกอบให้เป็นผลิตภัณฑส์าํเรจ็รูป เป็นต้น

  • ประเภทของผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากอุตสาหกรรมไม(้ต่อ)

    4.3.3 ผลิตภณัฑส์ําเร็จรูป (End products)

    เป็นผลิตภัณฑท์ี่ได้ผ่านกระบวนการผลิตมาจนถึงข้ันสดุท้ายแล้ว ผู้บริโภคสามารถนาํผลิตภัณฑ์น้ันไปใช้ประโยชน์ได้ทนัทตีามสภาพ

    ลักษณะ และวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์น้ันๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษพิมพ์เขียน ถ่านไม้ ซ่ึงผลิตภัณฑ์

    สาํเรจ็รูปน้ีอาจเป็นผลผลิตใน Wood-based primary industries หรือ Wood-bases secondary industries กไ็ด้ข้ึนอยู่กับการนาํ

    ผลิตภัณฑน้ั์นไปใช้

  • สรุปการแบ่งประเภทของผลิตภณัฑที์ไ่ดจ้ากอุตสาหกรรมไม้

    อย่างไรกต็ามการแบ่งผลิตภัณฑ์ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ เป็นการแบ่งโดยถือหลักกว้างๆ ในบางคร้ังผลิตภัณฑ์บางอย่างกอ็ยู่ใน

    ลักษณะกํา้กึ่งกัน คือ อาจเป็นได้ทั้งสองประเภทในคราวเดียว เป็นต้น เช่น ไม้อัดซ่ึงผลิตมาจากไม้บาง อาจเป็นทั้งผลิตภัณฑ์กึ่ง

    สาํเรจ็รูป ถ้าหากว่าเอาไปใช้ทาํเฟอร์นิเจอร์ คือใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ เช่นทาํเป็นฝาตู้ ล้ินชัก หรือพ้ืนโต๊ะ เป็นต้น

    แต่ในขณะเดียวกนัอาจเป็นผลิตภัณฑส์าํเรจ็รูปใช้ประโยชน์ได้เลย ถ้าเรานาํไปทาํฝ้าเพดานบ้านเรือน หรือเป็นฝากั้นห้อง หรืออย่าง

    กระดาษสนีํา้ตาล (Kraft paper) เราไม่นาํไปข้ึนรูปเป็นแผ่นเพ่ือการผลิตกล่องกระดาษ แต่เรานาํไปห่อของทนัท ีซ่ึงทาํให้กระดาษสี

    นํา้ตาลกลายเป็นผลิตภัณฑส์าํเรจ็รูปข้ึนมาได้

    อย่างไรกต็าม การจาํแนกผลิตภัณฑ์ออกเป็นประเภทดังกล่าว เพ่ือต้องการจะช้ึให้เหน็ว่าผลิตภัณฑ์ประเภทใดที่ให้

    ประโยชน์ทางเศรษฐกจิมากที่สดุอนัจะได้กล่าวในตอนต่อไป

  • 4.4 ความสําคญัของวนผลิตภณัฑช์นิดต่างๆ ต่อเศรษฐกิจของประเทศ

  • ระยะเวลา 5 ปี

    พฒันาคลสัเตอร์และอุตสาหกรรมใหม่ พร้อมการเช่ือมโยง

    ฐานการผลติ และบริการในกลุ่มอาเซียน

    ระยะเวลา 10 ปี

    บริหารจัดการระบบการผลติ การตลาด และบริการ และสร้าง

    ภาพลกัษณ์ในตลาดอาเซียนและภูมภิาค

    ระยะเวลา 20 ปี

    บริหารจัดการภาพลกัษณ์สินค้าไทยในตลาดโลก

    ∗ มีฐานการผลิตและบริการในภูมิภาคอาเซียนโดยมีระบบการผลิตกบัฐานการผลิตต่างๆในภูมิภาค

    ∗ เป็นศูนยก์ลางการผลิตและจดัการเครือข่ายการผลิตและบริการในกลุ่มอาเซียน

    ∗ เป็นผูบ้ริหารจัดการตราสินคา้และมีการสร้างเครือข่ายการผลิตและบริการในภูมิภาคต่างๆของโลก

    ∗ เป็นฐานการผลติสินค้าอุตสาหกรรมที่มนีวตักรรมใหม่ของโลกรองรับ ∗ มีฐานการผลิตและบริการในภูมิภาค ∗ มีผูป้ระกอบการไทยเร่ิมกา้วเขา้สู่การเป็นบริษทัชั้นนาํในโลก

    ∗ คลสัเตอร์มีผูป้ระกอบการ SMEs ท่ีมีมาตรฐานการผลิตท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะดา้น

    ∗ มีตราสินคา้ท่ีมีเครือข่ายการจดัจาํหน่ายในภูมิภาค ∗ มีตราสินคา้ท่ีเป็นท่ีรู้จกัและมีเครือข่ายการจดัจาํหน่ายในประเทศต่างๆ

    ∗ มีหน่วยงานหลกัท่ีบริหารจดัการบูรณาการในแต่ละอุตสาหกรรมท่ีเป็นเอกภาพโดยมีเอกชนเป็นผูน้าํ

    ∗ ผูป้ระกอบการขนาดกลางมีการเช่ือมโยงการผลิตร่วมกับบริษัทขนาดใหญ่

    ∗ เป็นแหล่างการคา้การลงทุนดา้นการผลิตและบริการ ท่ีเป็นท่ียอมรับในภูมิภาค

    ∗ มีระบบการผลิตบุคลากรเพียงพอในการรองรับการเ ติบโตของภาคอุตสาหกรรม

    ∗ ผู้ประกอบการ SMEs มีการสร้างทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรมไทย

    ∗ ส่งออกสินคา้ดา้นการบริการในภูมิภาคต่างๆของโลก

    ∗ มีกฏระเบียบท่ีผอ่นคลายรองรับกบัอุตสาหกรรม ∗ มีฐานการวิจัยและพัฒนาสินค้าในอาเซียนมีการสร้างและกําหนดมาตรฐานผลิตภณัฑท่ี์เป็นท่ียอมรับของสากล

    ∗ มแีรงงานระดับมนัสมอง ส่งออกไปสู่ภูมภิาคต่างๆของโลก

    ∗ มีโครงสร้างสนับสนุนพ้ืนฐานในการวิจัยพฒันาอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง เช่นศนูยก์ารทดสอบมาตรฐานสินคา้

    ∗ มี Industrial zone ท่ีรองรับการผลิตท่ีรักษาสภาพแวดลอ้ม

  • สภาพอุตสาหกรรมประเทศไทย

    การพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย เป็นแบบการเพ่ิมมูลค่า (Value added) ในกระบวนการผลิตมากกกว่า

    การสรา้งคุณค่า (Value creation)

    อดีตประเทศไทยมุ่งพัฒนาครัสเตอร์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐกจิ คือกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต ที่ใช้ทรัพยากรอย่างเติมที่

    เกดิปัญหาความเหล่ือมลํา้ทางสงัคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ขาดการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ เกดิการพัฒนาประเทศที่ไม่สมดุล

    กระทรวงอุตสาหกรรมจึงยกระดับครัสเตอร์อุตสาหกรรมในมิติอื่นๆทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (อุตสาหกรรมในเชิงมิติเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, อุตสาหกรรมในเชิงมิติพัฒนาสังคม, อุตสาหกรรมในมิติเชิงพัฒนาศักยภาพมนุษย์) เพ่ือให้เกิดความย่ังยืนใน

    อุตสาหกรรมโดยรวม

  • 4.5 อุตสาหกรรมวนผลิตภณัฑใ์นประเทศไทย

  • รอ้ยละการส่งออกเฟอรน์เิจอรใ์นกลุ่มอาเซียน 2012

    -ตลาดเฟอร์นิเจอร์ของไทยอยู่ในลําดับที่ 21

    ของโลก และเป็นอันดับ 4 ของ เอเชีย รองจาก

    จีน เวียดนาม และมาเลเซีย

    -ส่วนแบ่งในตลาดโลกร้อยละ 1.16

    ที่มา: ส.อ.ท, สสว และเอสไอไอท ี(2554)

  • ปัญหาวตัถุดิบ และการจดัการวตัถุดิบ ปัญหาเทคโนโลยกีารผลิต ปัญหาทรพัยากรมนุษย์ ปัญหาสาธารณูปโภคและสิง่แวดลอ้ม ปัญหาการวิจยัและพฒันา ปัญหามาตรการและกฎระเบยีบขอ้บงัคบัของรฐั ปัญหาการพฒันาการออกแบบ ปัญหาการพฒันาผลิตภณัฑ์ ปัญหาการลอกเลียนแบบผลิตภณัฑ์

    ปัญหาและอุปสรรคต่อการพฒันาอุตสาหกรรมไมใ้นประเทศไทย

    ทีม่า: สํานกังานนวตักรรมแห่งชาติ (2550)

    การวิจยั และพฒันา

  • “หวัใจของการปรบัเปลีย่นยุทธศาสตร์

    อุตสาหกรรมไทย คือการตอ้งมีผลิตภาพ

    ของภาคการผลิตทีสู่งกว่าทีเ่ป็นอยู่”

  • แนวทางการเตรียมความพรอ้มของอุตสาหกรรมไมท้ั้งระบบเพือ่รองรบั AEC

    1. การเสริมสรา้งศกัยภาพดา้นการผลิต

    1.1การลดตน้ทุนการผลิต ดว้ยการบริหารการจดัการตน้ทุน

    1.2เทคโนโลยีทีท่นัสมยัในกระบวนการผลิต

    1.3พฒันาดา้นการออกแบบอุตสาหกรรม

    2. การสรา้งความเขม้แข็งดา้น supply Chain Management

    2.1การรวมกลุ่ม Cluster

    2.2ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองคค์วามรูซ่ึ้งกนัและกนั Best Practice

    3. การแสวงหาตลาดทีมี่ศกัยภาพ

    3.1การทําตลาดเชิงรุก

    3.2การสรา้งเครือข่ายพนัธมิตร

    3.3การสรา้งตราสินคา้

    3.4พฒันาผลิตภณัฑ ์

    3.5การออกแบบทีแ่ตกต่าง

    3.6การสรา้งนวตักรรมผลิตภณัฑใ์หม่ๆ

    นวัตกรรม

    กระบวนการ

    นวัตกรรม

    เทคโนโลยี

    นวัตกรรม

    การบริหารจัดการ

    นวัตกรรม

    ผลิตภณัฑ์

    นวัตกรรม

    การตลาด

    ที่มา : สสว, สภาอตุสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สถาบนัเทคโนโลยีนานาชาตสิริินธร 2554

  • Low - to - High Technology

  • Low - to - High Skill

  • Low - to - High Administration

  • Low - to - High Products

  • Low - to - High Process

  • New Market

  • Slide Number 1บทนำ (Introduction) Chapter Content4.1 อุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ4.1.1 การนำไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ตัดโค่นออกจากพื้นที่ตัวอย่างภาพ: การนำไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ตัดโค่น4.1.2 การนำไม้ไปผ่านกระบวนการผลิต4.1.2 การนำไม้ไปผ่านกระบวนการผลิตตัวอย่างวิดีทัศน์การแปรรูปไม้ทางกลตัวอย่างวิดีทัศน์การแปรรูปไม้ทางกล4.1.2 การนำไม้ไปผ่านกระบวนการผลิตตัวอย่างภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นทำลายไม้ตัวอย่างภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นทำลายไม้4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)Slide Number 16ตัวอย่างแสดงการแปรรูปทางกล-ทางเคมีตัวอย่างกระบวนการแปรรูปทางเคมีตัวอย่างกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน� (Viscose rayon)ภาพกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน� (Viscose rayon)ตัวอย่างอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ4.2 อุตสาหกรรมไม้และอุตสาหกรรมต่อเนื่องตัวอย่างภาพความเกี่ยวเนื่องกันของอุตสหากรรมไม้4.3 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไม้ประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไม้ประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไม้(ต่อ)ประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไม้(ต่อ)สรุปการแบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมไม้4.4 ความสำคัญของวนผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ต่อเศรษฐกิจของประเทศSlide Number 30สภาพอุตสาหกรรมประเทศไทย4.5 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์ในประเทศไทยร้อยละการส่งออกเฟอร์นิเจอร์ในกลุ่มอาเซียน 2012ปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ในประเทศไทยSlide Number 35Slide Number 36Slide Number 37Slide Number 38Slide Number 39Slide Number 40Slide Number 41Slide Number 42Slide Number 43