การจัดสวัสดิการแรงงานตามกฎหมายtls.labour.go.th/2018/attachments/article/990/hrdg-09-11-2561-08.pdf ·...

24
การจัดสวัสดิการแรงงานตามกฎหมาย รัชนี มณีจันทร์ กลุ่มงานคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน กองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การจัดสวัสดิการแรงงานตามกฎหมาย

รัชนี มณีจันทร์ กลุ่มงานคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน กองสวสัดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

สวัสดิการแรงงาน

สวัสดิการแรงงานตามที่กฎหมายก าหนด

สวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายก าหนด

สวัสดิการแรงงานตามกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2551

หมวด 7 สวัสดิการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน

(มาตรา 92)

คณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ

(มาตรา 96)

คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน (มาตรา 92)

ประกอบด้วย

1. ปลัดกระทรวงแรงงาน ประธาน 2. ผู้แทนฝ่ายรัฐบาล 4 คน กรรมการ 3. ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง 5 คน กรรมการ 4. ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง 5 คน กรรมการ 5. ข้าราชการกรมสวัสดิการฯ เลขานุการ

อ านาจหนา้ที่ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน

1. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แนวทางและมาตรการด้านสวัสดิการแรงงาน

2. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ

3. ให้ค าแนะน าในการจัดสวัสดิการแรงงานส าหรับสถานประกอบกิจการแต่ละประเภท 4. ติดตามประเมินผล และรายงานผลการด าเนินการต่อรัฐมนตรี 5. ออกค าสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินค่าชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าว

ล่วงหน้าตามมาตรา 120 6. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายบัญญัติให้เป็นอ านาจหน้าที่

ของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย

คณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ (มาตรา 96)

• สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 ขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ

• ประกอบด้วย ผู้แทนฝา่ยลูกจ้างอย่างน้อย 5 คน • ต้องมาจากการเลือกตั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีก าหนด • กรณทีี่สถานประกอบกิจการใดของนายจ้างมีคณะกรรมการลูกจ้าง

ตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ ใหค้ณะกรรมการลูกจ้างท าหน้าทีเ่ป็นคณะกรรมการสวสัดิการในสถานประกอบกิจการ

1. ร่วมหารือกับนายจ้างเพื่อจดัสวัสดิการแก่ลูกจ้าง 2. ให้ค าปรึกษาหารือและเสนอแนะความเหน็แก่นายจ้างในการจัด

สวัสดิการส าหรับลูกจ้าง 3. ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจ้างจัดให้แก่ลูกจ้าง 4. เสนอข้อคิดเหน็ และแนวทางในการจัดสวสัดิการที่เป็นประโยชน์ส าหรบั

ลูกจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน

อ านาจหน้าที่ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ

(มาตรา 97)

นายจ้างต้องจัดให้มกีารประชุมหารือกับคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการอย่างน้อยสามเดือนต่อหนึ่งครัง้ หรือ เมื่อกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการเกินกึง่หนึ่งของ กรรมการทั้งหมดหรือสหภาพแรงงานร้องขอโดยมีเหตุผลสมควร

(มาตรา 98)

กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2548

ในสถานที่ท างานของลูกจ้าง ให้นายจ้างจัดให้มี...

น้ าดื่มไม่น้อยกว่า 1 ที่ / ลูกจ้างไม่เกิน 40 คน หากมีลูกจ้างมากกว่า 40 คน ให้เพิ่มตามสัดส่วน 1 ที่ต่อลูกจ้าง 40 คน เศษทีเ่กิน 20 คน ให้นับเป็น 40 คน

ห้องน้ า และ ห้องส้วม แยกส าหรับชายและหญิง

กรณีที่มลีูกจ้างที่เป็น คนพิการ ใหจ้ัดนายจ้างจัดห้องน้ าและห้องส้วม ส าหรับคนพิการ แยกไว้โดยเฉพาะ

1. กรรไกร 2. แก้วยาน้ าและแก้วยาเม็ด 3. เข็มกลัด 4. ถ้วยน้ า 5. ที่ป้ายยา 6. ปรอทวัดไข ้7. ปากคีบปลายทู ่8. ผ้าพันยืด 9. ผ้าสามเหลี่ยม 10.สายยางรัดหา้มเลือด

สถานที่ท างานที่มีลูกจ้างท างานตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ต้องจัดใหม้ี เวชภัณฑ์และยา อย่างน้อย 29 รายการ ดังต่อไปนี้

11. ส าลี ผ้าก๊อซ ผ้าพันแผล และผ้ายางปลาสเตอร์ปิดแผล 12. หลอดหยดยา 13. ขี้ผึ้งแก้ปวดบวม 14. ทิงเจอร์ไอโอดีน หรือโพวิโดน-ไอโอดีน 15. น้ ายาโพวิโดน-ไอโอดีนชนิดฟอกแผล 16. ผงน้ าตาลเกลือแร่ 17. ยาแก้ผดผื่นที่ไม่ได้มาจากการติดเชื้อ 18. ยาแก้แพ ้19. ยาทาแก้ผดผื่นคัน 20. ยาธาตุน้ าแดง

สถานที่ท างานมีลูกจ้างท างานตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ต้องจัดใหม้ี เวชภัณฑ์และยา อย่างน้อย 29 รายการ ดังต่อไปนี้

สถานที่ท างานมีลูกจ้างท างานตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ต้องจัดใหม้ี เวชภัณฑ์และยา อย่างน้อย 29 รายการ ดังต่อไปนี้

21. ยาบรรเทาปวดลดไข้ 22. ยารักษาแผลน้ าร้อนลวก 23. ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร 24. เหล้าแอมโมเนียหอม 25. แอลกอฮอล์เชด็แผล 26. ขี้ผึ้งป้ายตา 27. ถ้วยล้างตา 28. น้ ากรดบอรคิล้างตา 29. ยาหยอดตา

สถานที่ท างานที่มีลูกจ้างท างานในขณะเดียวกัน ตั้งแต่ 200 คนข้ึนไป ต้องจัดให้มี ดังนี ้

ห้องพยาบาล พร้อมเตียงคนไข้ อย่างน้อย 1 เตียง

พยาบาล อย่างน้อย 1 คน ประจ าตลอดเวลาท างาน

แพทย์ อย่างน้อย 1 คน ปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง / ไม่น้อยกว่าสัปดาหล์ะ 6 ชั่วโมง

สถานที่ท างานที่มีลูกจ้างท างานในขณะเดียวกัน ตั้งแต่ 1,000 คนขึ้นไป ต้องจัดใหม้ี ดังนี ้

ห้องพยาบาล พร้อมเตียงคนไข้ อย่างน้อย 2 เตียง

พยาบาล อย่างน้อย 2 คน ประจ าตลอดเวลาท างาน

แพทย์ อย่างน้อย 1 คน ปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง / ไม่น้อยกว่าสัปดาหล์ะ 12 ชั่วโมง

ยานพาหนะ พร้อมจะน าลกูจ้างส่งสถานพยาบาล

นายจ้างอาจท าความตกลงกับ สถานพยาบาล ทีเ่ปิด 24 ชั่วโมง และสามารถน าส่งผู้ป่วยได้สะดวกและรวดเร็ว

แทนการจดัให้มีแพทย ์ โดยต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย

แบบค าขออนุญาตใช้ สถานพยาบาลแทนการจัด ให้มีแพทย์ตรวจรักษาพยาบาล ในสถานที่ท างาน

การย้ายสถานประกอบกิจการ ตามมาตรา 120

การย้ายสถานประกอบกิจการหรือสถานที่ท างาน

1. ย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อ่ืน 2. ส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของลูกจ้าง 3. แจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันย้าย 4. ลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างได้ ภายใน 30 วัน นับแต ่ วันที่ได้รับแจ้งจากนายจ้าง หรือวันที่ย้าย แล้วแต่กรณี 5. ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษ เท่ากับอัตราค่าชดเชยตามมาตรา 118 6. ต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ให้แก่ลูกจ้างภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ลูกจ้างบอกเลิกสัญญาจ้าง 7. กรณีนายจ้างไม่แจ้งล่วงหน้าให้ลูกจา้งทราบก่อนวันย้าย 30 วัน ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่วล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 30 วัน

กรณีที่นายจ้างไม่จ่ายค่าชดเชยพิเศษ หรือค่าชดเชยพิเศษ แทนการบอกกล่าวลว่งหน้า ให้ลูกจ้างมีสิทธิยื่นค าร้องต่อ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานภายในสามสิบวันนับแต่ วันครบก าหนดการจ่ายคา่ชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษ แทนการบอกกล่าวลว่งหน้า

ลูกจ้างได้รับผลกระทบส าคัญ

การที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อื่น อันมีผลกระทบส าคัญต่อการด ารงชีวติตามปกติของลูกจ้างหรือ ครอบครัว - ด้านการเดินทาง - ด้านค่าใช้จา่ย - ด้านครอบครัว - ด้านอื่นๆ

ติดต่อสอบถาม

กลุ่มงานคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน

กองสวัสดิการแรงงาน

โทร. 0 2245 6774

รัชนี มณีจันทร์ 081 485 4008