การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา...

13
การพัฒนาศักยภาพกลุnมสินคoาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑrสูnวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยnอม กรณีศึกษา กลุnมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลoวย THE COMPETENCY DEVELOPMENT OF ONE TAMBON ONE PRODUCT (OTOP) COMMUNITY ENTERPRISE TO SMALL AND MEDIUM ENTERPRISES (SMES): A CASE STUDY OF PROCESSED BANANA FOOD PRODUCTS COMMUNITY ENTERPRISE ทิชากร เกษรบัว อาจารยrประจําภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลoาพระนครเหนือ อรวิริยา นามสวัสดิอาจารยrประจําภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบและบริหารงานกnอสรoาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลoาพระนครเหนือ บทคัดยnอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคrเพื่อ (1) ศึกษาการบริหารจัดการ (2) พัฒนาชnองทางการทําการตลาด และ (3) พัฒนา รูปแบบบรรจุภัณฑrของกลุnมวิสาหกิจชุมชนแปรรูอาหารจากกลoวย เพื่อใหoกลุnมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลoวยสามารถ เขoาสูnวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยnอมไดo การวิจัยครั้งนี้ ใชoระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยใชo ประชากร 2 กลุnม ประกอบดoวย 1) กลุnมผูoประกอบการ จํานวน 17 คน 2) กลุnมตัวแทนจําหนnาย 10 คน และกลุnมตัวอยnาง 1 กลุnม ไดoแกn กลุnมผูoบริโภคผลิตภัณฑrของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลoวย จํานวน 385 คน โดยการสุnมตัวอยnางแบบ ไมnทราบประชากร เครื่องมือที่ใชoในการวิจัยไดoแกn แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวnา (1) ดoานการบริหารจัดการ พบวnา กลุnม มีการกําหนดวัตถุประสงคrและนโยบายในการทํางาน มีการแบnงหนoาที่กันทํางาน มีการลงบัญชีรายรับ-รายจnาย มีการรายงาน ผลการดําเนินงานเป}นรายปe รวมทั้งมีการจnายเงินป{นผลใหoแกnสมาชิกทุกสิ้นปe โดยการเขoาเป}นสมาชิกของกลุnมไมnมีการกําหนด คุณสมบัติแนnนอนของสมาชิก สมาชิกสามารถเขoา -ออกกลุnมไดoตลอดเวลา (2) ดoานการชnองทางการจัดจําหนnาย พบวnา ผลิตภัณฑrของกลุnมฯ ไมnมีป{ญหาในดoานการจําหนnาย แตnมีป{ญหาหลักอยูn 2 ประการคือ ดoานผลิตภัณฑrของกลุnมมีคูnแขnงขัน เป}นจํานวนมาก และยังขาดในเรื่องรายละเอียดที่สําคัญในบรรจุภัณฑr ทางผูoวิจัยจึงไดoทําการออกแบบผลิตภัณฑrเพื่อสรoาง ความแตกตnางใหoกับสินคoาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขnงขันในตลาด นอกจากนี้ยังไดoมีการเสนอแนะใหoผูoประกอบการเปลี่ยน จากการทําตลาดเชิงรับ เป}นการผลิตตามคําสั่งซื้อ เนื่องจากสินคoาของกลุnมฯ มีความคลnองตัวในการจําหนnาย ดังนั้นถoา เปลี่ยนมาเป}นผลิตตามคําสั่งซื้อจะทําใหoลดความเสี่ยงในเรื่องการทําตลาดลงไดo (3) ดoานบรรจุภัณฑr พบวnา ผูoบริโภคไมnมี ป{ญหาเกี่ยวกับบรรจุภัณฑrแบบเดิม ผูoบริโภคใหoความสําคัญตnอความปลอดภัยในการรับประทานเพียงอยnางเดียว สําหรับกลุnม วิสาหกิจชุมชน ตoองการที่จะปรับปรุงบรรจุภัณฑrใหมnเนื่องจากบรรจุภัณฑrแบบเดิมไมnแสดงความเป}นเอกลักษณrของกลุnม ผูoวิจัยจึงไดoจัดทํารูปแบบบรรจุภัณฑrเป}นตoนแบบจํานวน 6 แบบ และนําแบบดังกลnาวไปสอบถามยังสมาชิกในกลุnมวิสาหกิจ ชุมชน จึงไดoแบบบรรจุภัณฑrที่มีการพัฒนาที่ดีที่สุดจํานวน 1 แบบ คําสําคัญ : วิสาหกิจชุมชน, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยnอม ABSTRACT The objectives of this research are: 1) to investigate the management approach; 2) to expand the marketing channels; and 3) to develop the appearance of the packaging of the local manufacturers producing the processed banana food products in Thailand, for promoting and advancing those entrepreneurs to Small and Medium Enterprises (SMEs). This research was conducted by both qualitative and quantitative methods. The 2 groups of participants consisted of 1) a group of 17 local manufacturers and 10 product vendors, and 2) a group of

Upload: others

Post on 05-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรณีศึกษา  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย

THE COMPETENCY DEVELOPMENT OF ONE TAMBON ONE PRODUCT (OTOP) COMMUNITY ENTERPRISE TO SMALL AND MEDIUM ENTERPRISES (SMES):

A CASE STUDY OF PROCESSED BANANA FOOD PRODUCTS COMMUNITY ENTERPRISE

ทิชากร    เกษรบวั อาจารยประจําภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนอื

อรวิริยา    นามสวัสดิ ์อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการออกแบบและบริหารงานกอสราง  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนอื

บทคัดยอ      

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาการบริหารจัดการ  (2) พัฒนาชองทางการทําการตลาด  และ  (3)    พัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูอาหารจากกลวย  เพื่อใหกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยสามารถเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมได  การวิจัยครั้งนี้  ใชระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ  และเชิงปริมาณ  โดยใชประชากร  2  กลุม  ประกอบดวย  1)  กลุมผูประกอบการ  จํานวน  17 คน    2)  กลุมตัวแทนจําหนาย  10 คน    และกลุมตัวอยาง  1 กลุม  ไดแก  กลุมผูบริโภคผลิตภัณฑของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  จํานวน  385 คน    โดยการสุมตัวอยางแบบไมทราบประชากร    เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก  แบบสอบถาม  ผลการวิจัยพบวา  (1)  ดานการบริหารจัดการ   พบวา  กลุมมีการกําหนดวัตถุประสงคและนโยบายในการทํางาน  มีการแบงหนาที่กันทํางาน  มีการลงบัญชีรายรับ-รายจาย  มีการรายงานผลการดําเนินงานเปนรายป  รวมทั้งมีการจายเงินปนผลใหแกสมาชิกทุกส้ินป  โดยการเขาเปนสมาชิกของกลุมไมมีการกําหนดคุณสมบัติแนนอนของสมาชิก  สมาชิกสามารถเขา-ออกกลุมไดตลอดเวลา    (2)  ดานการชองทางการจัดจําหนาย  พบวา  ผลิตภัณฑของกลุมฯ  ไมมีปญหาในดานการจําหนาย  แตมีปญหาหลักอยู  2  ประการคือ  ดานผลิตภัณฑของกลุมมีคูแขงขันเปนจํานวนมาก  และยังขาดในเรื่องรายละเอียดที่สําคัญในบรรจุภัณฑ  ทางผูวิจัยจึงไดทําการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อสรางความแตกตางใหกับสินคาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันในตลาด  นอกจากน้ียังไดมีการเสนอแนะใหผูประกอบการเปล่ียนจากการทําตลาดเชิงรับ  เปนการผลิตตามคําส่ังซื้อ  เนื่องจากสินคาของกลุมฯ  มีความคลองตัวในการจําหนาย  ดังนั้นถาเปล่ียนมาเปนผลิตตามคําส่ังซื้อจะทําใหลดความเส่ียงในเรื่องการทําตลาดลงได    (3)  ดานบรรจุภัณฑ  พบวา    ผูบริโภคไมมีปญหาเกี่ยวกับบรรจุภัณฑแบบเดิม  ผูบริโภคใหความสําคัญตอความปลอดภัยในการรับประทานเพียงอยางเดียว  สําหรับกลุมวิสาหกิจชุมชน  ตองการที่จะปรับปรุงบรรจุภัณฑใหมเนื่องจากบรรจุภัณฑแบบเดิมไมแสดงความเปนเอกลักษณของกลุม    ผูวิจัยจึงไดจัดทํารูปแบบบรรจุภัณฑเปนตนแบบจํานวน  6 แบบ  และนําแบบดังกลาวไปสอบถามยังสมาชิกในกลุมวิสาหกิจชุมชน  จึงไดแบบบรรจุภัณฑที่มีการพัฒนาที่ดีที่สุดจํานวน  1 แบบ

คําสําคัญ  : วิสาหกิจชุมชน,  วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม   ABSTRACT

The objectives of this research are: 1) to investigate the management approach; 2) to expand the marketing channels; and 3) to develop the appearance of the packaging of the local manufacturers producing the processed banana food products in Thailand, for promoting and advancing those entrepreneurs to Small and Medium Enterprises (SMEs).

This research was conducted by both qualitative and quantitative methods. The 2 groups of participants consisted of 1) a group of 17 local manufacturers and 10 product vendors, and 2) a group of

Page 2: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

75      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

385 consumers of the processed banana food products. The nonprobability sampling and questionnaire were administered as the sampling technique and research instrument consecutively.

The research important findings were categorized and reported in 3 aspects which are the followings;

1) Managerial aspect of the findings showed that to some extent, there was a systematic management among the local manufacturers. The goal and policies of each manufacture were stated clearly. Also, the tasks allocation, the basic income and expense accounting, the annual turnover reports and dividend payments had been found while the research was conducted. The qualification of cooperative membership was an unclarified issue due to the members were allowed to commence or terminate their enrollments at anytime.

2) Distributed aspect of the findings showed that there were 2 important obstacles for the product distribution. In this case, the highly competitive problem was priority  followed by the packaging design lacking in necessary and sufficient detail problem. Eventually, the researchers had designed the new packaging for the processed banana food product in order to make difference and increase competitiveness in widespread market. Moreover, the researchers also suggested the OTOP manufacturers to change their markets orientation from passive to made-to-order marketing which can help reduce the business risk.

3) Packaging design aspect of the findings showed that the processed banana food product consumers had a positive attitude for the original packaging and concerned mostly about the hygienic conditions of the package. Some of the local entrepreneurs also wanted to redesign the product packaging for explicating the unique identity of community. Therefore, the researchers had created 6 designed packaging  prototypes  of  the  product  and  conducted  the  survey  to  evaluate  the  entrepreneurs’  satisfaction  and find out the most satisfying design eventually. Keywords : Community Enterprise, Small and Medium Enterprises

บทนํา นโยบายหนึ่ ง ตํ าบ ลหนึ่ ง ผ ลิตภัณฑ   (One

Tambon One Product) หรือ  OTOP ไดเริ่มตั้งแตป  พ.ศ.  2544 มีเปาหมายเพื่อสรางงาน  สรางอาชีพและรายไดใหแกประชาชนและชุมชนระดับรากหญา  (Grass Root) โดยใหแตละหมูบานมีผลิตภัณฑหลักเปนของตัวเอง  ซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ใชวัตถุดิบหรือทรัพยากร  และภูมิปญญาทองถิ่นมาทําการพัฒนาเปนสินคาที่สามารถสรางรายไดใหแกชุมชน    โดยไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐบาล  ในเรื่องของวิชาการ  เทคโนโลยี  ชองทางการตลาด  การหาแหลงเงินทุนใหแกชุมชน  ซึ่งจากการจัดกลุมผูประกอบการในประเทศไทย  พบวาสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ  หรือ  OTOP เปนพื้นฐานที่สําคัญที่ทําใหเกิดวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  (Small and Medium Enterprises)  หรือ SMEs และเกิดเปนธุรกิจขนาดใหญ  (Large Scale Enterprise)  หรือ  LSE ตอไปได ซึ่งทําใหประเทศเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง  (สยุมพร    ล่ิมไทย,  2549  : 16-17)    ดังแสดงใหตารางที่  1

ตารางที่  1 แสดงโครงสรางพื้นฐานของการประกอบธุรกิจในประเทศไทย ประเภท จํานวนผู

ประกอบ การ(ราย)

จํานวนการจางงาน  (คน)

GDP (ลานบาท)

การสงออก  

(ลานบาท) LSE 10,599 3,605,887 3,096,028 3,333,928 SME 1,995,929 5,566,865 2,263,574 1,516,971 OTOP 26,540 530,800 43,000 9,520 ที่มา  : สํานักงานพัฒนาวิสาหกจิขนาดกลางและขนาดยอม  หรือ  สสว., 2548 : 9 จากตารางที่  1  พบวา  จํานวนผูประกอบการสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ  หรือ  OTOP ในประเทศไทยมีจํานวน  26,540  ราย  มีการจางงานจํานวน  530,880  คน  สรางผลิตภัณฑประชาชาติ  (GDP) ใหประเทศ  43,000  ลานบาท  สรางมูลคาในการสงออกใหประเทศ  9,520  ลานบาท  สวนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  หรือ  SME มีจํานวนผูประกอบการจํานวน  1,995,929  ราย  มีการจางงาน  5,566,865  คน  สรางผลิตภัณฑประชาชาติ  

Page 3: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

76      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

(GDP) ใหประเทศ  2,263,574  ลานบาท  สรางมูลคาในการสงออกใหประเทศ  1,516,971  ลานบาท  สวนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดใหญ  หรือ  LSE มีจํานวนผูประกอบการจํานวน  10,599 ราย  มีการจางงานจํานวน  3,605,887  คน  สรางผลิตภัณฑประชาชาติ  (GDP) ใหประเทศ  3,096,028  ลานบาท  สรางมูลคาในการสงออก  3,333,928  ลานบาท         กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย            ราชสาสน  ตําบลบางคา  จังหวัดฉะเชิงเทรา  เปนกลุม  OTOP ตั้งขึ้นในสาขาภูมิปญญาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม  เปนการรวมกลุมสตรีตําบลบางคา  จํานวน  53 คน  เริ่มตั้งกลุมตั้งแตวันที่  3 พฤษภาคม  2542 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดหาอาชีพเสริมเพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับครอบครัว  โดยการนํากลวยซึ่งเปนวัตถุดิบที่อยูในพื้นที่มาพัฒนากอใหเกิดประโยชน    กลุมสตรีของตําบลบางคาไดมีการนําแนวคิดในการถนอมอาหารจากภูมิปญญาเดิมที่สืบทอดกันมา  มาพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติม  จนกลายเปนผลิตภัณฑที่ทํามาจากกลวย  9 ชนิด  ไดแก  กลวยอบชุมชน  กลวยแผนอบ  กลวยกรอบอบเนย  กลวยกรอบรสปาปริกา  กลวยอบกรอบรสบารบีคิว  กลวยสามรส  น้ําพริกเผากลวย  ขาวเกรียบกลวย  และกลวยอบน้ําผึ้ง  ซึ่งกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ราชสาสน  ไดรับการอบรมและพัฒนาสินคาจากสถาบันวิจัยจุฬาภรณ  และหนวยงานภาครัฐอื่น  ๆ   จนกลายเปนกลุม  OTOP ที่มีความมั่นคง ปจจุบันกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ไดรับการคัดสรรใหเปน  OTOP ระดับ  5 ดาว  มาเปนระยะเวลาหลายปติดตอกัน  และมีตลาดรองรับมากมายทั้งตลาดในประเทศ  เชน  รานโครงการหลวง  บริษัทการบินไทยจํากัด  (มหาชน)  ฯลฯ  และตลาดตางประเทศ  เชน  ตลาดในประเทศแคนนาดา  อเมริกา  เปนตน  รวมทั้งตลาดในประเทศญี่ปุน  ไตหวัน  ฮองกง  และเลบานอน  ซึ่งอยูในระหวางการติดตอการสงออก    แตเนื่องจากกําลังการผลิตของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยมีจํากัด  โดยมีตูอบจํานวน  5 ตู  สามารถผลิตสินคาได  24,000 ลูก/ตู  ซึ่งไมเพียงพอตอความตองการของตลาด  อีกทั้งรูปแบบการบริหารจัดการ  รูปแบบผลิตภัณฑ  และเงินทุนในการดําเนินงานยังไมสามารถรองรับตลาดดังกลาวได  ดวยเหตุนี้กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ราชสาสนจึงตองการที่จะยกระดับธุรกิจผลิตภัณฑในชุมชน  (OTOP) ใหเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม   (SMEs) เพื่อ

รองรับตอการขยายตัวของตลาด  เพื่อเปนรากฐานที่สําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดและประเทศตอไป                       ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาศักยภาพของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยเพื่อเปนกรณีศึกษาในการพัฒนาสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ  (OTOP) สูการเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  (SMEs) เพื่อเปนแนวทางใหกับกลุมอื่นใชในการพัฒนากลุมของตนสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  (SMEs) สําหรับเปนพื้นฐานในการพัฒนาประเทศตอไป 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการบริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย   2. เพื่อพัฒนาชองทางการจัดจําหนายใหกับกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย   3.  เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑใหกับกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย 3. ทบทวนวรรณกรรม นพเกลา ดวงหิรัญภักดี (2551) ไดศึกษาเรื่อง  ศักยภาพการดําเนินกิจการของวิสาหกิจชุมชนในอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพในการดําเนินกิจการวิสาหกิจชุมชนในอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน เปรียบเทียบศักยภาพในการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนที่ผานการประเมินศักยภาพในระดับดี ปานกลาง และตองปรับปรุง และศึกษาถึงปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการดําเนินกิจการวิสาหกิจชุมชนที่เปนอยูในปจจุบัน ของกลุมวิสาหกิจชุมชนในอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ตัวแทนสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนที่ผานการอนุมัติขึ้นทะเบียนใหดําเนินกิจการอยางถูกตอง และผานการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนตัดยอด ณ.วันที่ 20 พฤษภาคม 2550 จํานวนกลุมละ 3 คน ในอําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน ทั้งหมดจํานวน 46 กลุม จํานวน 138 ราย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสัมภาษณ สถิติที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉล่ีย คาสูงสุด คาต่ําสุด สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติ F-test ทดสอบความแตกตางระหวางกลุม  ผลการวิจัยพบวา สมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนทั้ง 3 ระดับ ไมมีความ

Page 4: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

77      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

แตกตางกันทางดานเพศ อายุ การศึกษา และสถานภาพการสมรส แตสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนทั้ง 3 ระดับมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทางดานรายไดตอเดือนจากการดําเนินกิจการวิสาหกิจชุมชนของสมาชิกภายในกลุม  การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบการดําเนินงานของกลุมวิสาหกิจชุมชนผลการวิจัยพบวา กลุมวิสาหกิจชุมชนทั้ง 3 ระดับ มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทางดานปริมาณเงินทุนหมุนเวียนภายในกลุม และขอมูลดานศักยภาพในการดําเนินการของกลุมวิสาหกิจชุมชน  พบวา ไมมีความแตกตางกันทางดานความตอเนื่องในการผลิตของกลุมวิสาหกิจชุมชน จํานวนชนิดสินคาและบริการที่ทางกลุมวิสาหกิจชุมชนผลิตได การผานเกณฑการรับรองมาตรฐาน ความสม่ําเสมอของคุณภาพสินคาและบริการ ความซ้ํากันของสินคาที่กลุมวิสาหกิจชุมชนผลิตไดกับสินคาของกลุมอื่นในชุมชนเดียวกันหรือชุมชนใกลเคียง กลุมเปาหมายที่เปนแหลงรับซื้อสินคา/บริการ ตลาด และการวางแผนการดําเนินงานของกลุมวิสาหกิจชุมชนปญหาของสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนที่พบ คือ การขาดความรูและเทคโนโลยีที่จะใชในการผลิต การขาดการมีสวนรวมของสมาชิกภายในกลุม ความลําบากในการคมนาคมขนสงสินคาและบริการ และการขาดตลาดในการรองรับผลผลิตที่กลุมวิสาหกิจชุมชนทําการผลิตได ทางดานความตองการของสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนพบวา กลุมวิสาหกิจชุมชนตองการการใหความรูเก่ียวกับการประกอบกิจการ การถายทอดความรูและเทคโนโลยีการผลิต การโฆษณาประชาสัมพันธสินคาและบริการของกลุมใหเปนที่รูจัก และตลาดรองรับสินคาและบริการที่กลุมผลิต  ขอเสนอแนะ จากผลการวิจัยครั้งนี้คือ การวางแผนพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชน จะตองเนนการกระตุนใหสมาชิกในกลุมเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ใหมากขึ้น การรวมตัวกันเปนเครือขายของกลุมวิสาหกิจชุมชนในอําเภอปาย การประชาสัมพันธสินคาและบริการจากกลุมวิสาหกิจชุมชนใหเปนที่รูจัก การนําเทคโนโลยีการผลิตที่ถูกตองและไดมาตรฐานมาใชในการผลิตและการสงเสริมใหกลุมมีการวางแผนในการทําการดําเนินกิจการ ธงพล    พรหมสาขา  ณ  สกลนคร  และอุทิศ  สังขรัตน  (2556) ไดทําการวิจัย  เรื่อง  แนวทางการพัฒนาการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจชุมชนในเขตลุมทะเลสาบสงขลา  ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงคของการศึกษาคือ  1)  เพื่อ

ศึกษาสภาวการณของวิสาหกิจชุมชนในเขตลุมทะเลสาบสงขลา  2)  เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน  ในเขตลุมทะเลสาบสงขลา  และ  3)  เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน  ในเขตลุมทะเลสาบสงขลา  โดยผูวิจัยใชการศึกษาเชิงคุณภาพดวยการศึกษาเชิงสํารวจ  การสัมภาษณแบบเจาะลึกผูประกอบการจํานวน  32  ราย  ดวยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง  Snowball sampling และการสนทนากลุมดวยการเชิญผูเชี่ยวชาญ  ผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน  และเจาหนาที่รัฐ  จํานวน  9  ทาน  มารวมอภิปรายเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชน  ในการศึกษาครั้งนี้  ผูวิจัยใชการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการ  PESTLE analysis SWOT analysis การวิเคราะหบริบทเชิงเนื้อหา  และการวิเคราะหเชิงบรรยาย  ผลการศึกษาสภาวการณของวิสาหกิจชุมชนพบวา  ปจจัยดานการเมือง  ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ  และปจจัยทางดานสังคม  เอื้ออํานวยตอผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน  สวนปจจัยทางดานเทคโนโลยี  และปจจัยทางนิเวศวิทยา  เปนปจจัยที่เปนอุปสรรคตอการดําเนินงาน  ในดานปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนมีดังนี้  ปญหาดานการตลาด  ปญหาดานบัญชีและการเงิน  ปญหาดานการผลิต  ปญหาดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ  ปญหาดานการออกแบบผลิตภัณฑและปญหาตนทุนการผลิต  โดยแนวทางการพัฒนาการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนหนวยงานภาครัฐเปนหนวยงานสําคัญของการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน  ทั้งในดานการใหความรู  การพัฒนาทักษะดานตางๆ  การสนับสนุนดานการตลาด  และการกําหนดระเบียบตางๆ  เพื่อสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน

ธวัชชัย  บุญมี  และคณะ  (2555) ไดทําการวิจัยเรื่องการวิจัยและพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชนบานสันทรายตนกอก  ตําบลฟาฮาม  อําเภอเมือง  จังหวัดเชียงใหม  มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินศักยภาพการบริหารจัดการ  และพัฒนาดานระบบของการผลิตและการตลาดของกลุม  คณะผูวิจัยไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสํารวจ  โดยใชแบบสอบถาม  การสัมภาษณ  และสนทนากลุม  จากสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนกลุมหัตถกรรมบาน    สลีปงจัยแกวกวาง  และกลุมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  บานสันทรายตนกอก  และมีการจัดกิจกรรมใหความรูแกสมาชิก  โดยขอมูลเชิงปริมาณนํามาวิเคราะหและประมวลผลดวย

Page 5: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

78      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

โปรแกรมสําเร็จรูป  สวนขอมูลเชิงคุณภาพนํามาวิเคราะหเนื้อหา  แลวเขียนบรรยายใหความเชื่อมโยงของประเด็นตาง  ๆ  สามารถสรุปผลไดดังนี้

1. การประเมินศักยภาพการบริหารจัดการของกลุม  กลุมหัตกรรมสลีปงจัยแกวกวาง  สมาชิกสวนใหญเปนเพศหญิง  คิดเปนรอยละ  91.7  มีสถานภาพสมรส  คิดเปนรอยละ  66.7  มีอายุเฉล่ีย  54  ป  สวนใหญประกอบอาชีพคาขายหรือประกอบธุรกิจสวนตัว  คิดเปนรอยละ  33.4  สวนใหญทําเปนอาชีพเสริม  คิดเปนรอยละ  66.7  สมาชิกมีรายไดเฉล่ีย  10,728.33  บาทตอเดือน  โดยมีรายรับจากกลุมเฉล่ีย  3,850  บาทตอเดือน  สวนใหญมีการศึกษาระดับมัธยมศึกษารอยละ  50  สวนใหญมีสถานะเปนสมาชิกกลุม  คิดเปนรอยละ  91.7 และเปนสมาชิกนาน  5 ปขึ้นไป  คิดเปนรอยละ  58.3  ผลการประเมินดานการบริหารจัดการ  โดยเปรียบเทียบระหวางกอนดําเนินโครงการกับหลังดําเนินโครงการพบวา  ดานการวางแผน  ภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.40  และ  2.75  ตามลําดับ  ดานการดําเนินการพบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.60  และ  2.81  ตามลําดับ  ดานการตรวจสอบพบวา  ภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.47และ  2.61  ตามลําดับ  ดานการปรับปรุงแกไข  พบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.56  และ  2.72  ตามลําดับ  สวนผลการประเมินดานการตลาด  พบวาภาพรวมกอนดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.33  และหลังดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.56  สําหรับผลการประเมินดานการผลิต  พบวาภาพรวมกอนดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.27  และหลังดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.50  โดยมีคะแนนผลการประเมินหลังดําเนินโครงการเพิ่มขึ้นทุกดาน  กลุมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร  สมาชิกสวนใหญเปนเพศหญิง  คิดเปนรอยละ  66.7  สวนใหญมีสถานภาพสมรส  คิดเปนรอยละ  50  สมาชิกมีอายุเฉล่ีย  49.5  ป  สวนใหญประกอบอาชีพรับจาง  คิดเปนรอยละ  66.7  มีรายไดเฉล่ีย  6,666.67  บาทตอเดือน  โดยสมาชิกกลุมมีรายรับจากกลุมเฉล่ีย  1,833.33  บาทตอเดือน มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา  และระดับอุดมศึกษา  คิดเปนรอยละ  50  เทากัน  สวนใหญเปนสมาชิกกลุมมานาน  5  ปขึ้นไป  คิด

เปนรอยละ  66.7  ซึ่งสวนใหญมีสถานะเปนสมาชิกกลุม  คิดเปนรอยละ  83.7  และทุกคน  ทําเปนอาชีพเสริม  ผลการประเมินดานการบริหารจัดการ  โดยเปรียบเทียบระหวางกอนดําเนินโครงการกับหลังดําเนินโครงการพบวา  ดานการวางแผน  ภาพรวมกอนดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.27  และหลังดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.53  ดานการดําเนินการ  พบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.04  และ  2.17  ตามลําดับ  ดานการตรวจสอบ  พบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.44  และ  2.56  ตามลําดับ  ดานการปรับปรุงแกไข  พบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพดานการปรับปรุงแกไขในระดับดีมีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.11  และ  2.44  ตามลําดับ  โดยมีคะแนนผลการประเมินหลังดําเนินโครงการเพิ่มขึ้นทุกดาน  สวนผลการประเมินดานการตลาด  พบวาภาพรวมกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.14  และ  2.31 ตามลําดับ  สําหรับผลการประเมินดานการผลิต  พบวาภาพรวมกอนดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับปานกลาง  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.04  และหลังดําเนินโครงการกลุมมีศักยภาพในระดับดี  มีคาเฉล่ียรวมเทากับ  2.50  โดยมีคะแนนผลการประเมินหลังดําเนินโครงการเพิ่มขึ้นในทุกประเด็น  

2.  ผลการการบูรณาการองคความรูดานการตลาด  ดานการทําการตลาดทางอินเทอรเน็ตผานทางเว็บไซต  อันจะเปนองคความรูพื้นฐานในการบูรณการใหเขากับชองทางก า ร จั ด จํ า ห น า ย สิ น ค า ชุ ม ช น   แ ล ะ ก า ร เ ผ ย แพ รประชาสัมพันธสินคา  วัฒนธรรมและแหลงทองเที่ยวชุมชนอันจะเปนพื้นฐานในการนําเอาสินคารวมอยูในเสนทางการทองเที่ยวในชุมชน  สามารถดําเนินการบูรณาการดานการตลาด  การขาย  และการทองเที่ยวของการวิจัยและพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชนบานสันทรายตนกอก  ตําบลฟาฮาม  อําเภอเมือง  จังหวัดเชียงใหม โดยการพัฒนาเว็บไซตของชุมชนบานสันทรายตนกอก  ตําบลฟาฮาม  อําเภอเมือง  จังหวัดเชียงใหม   และมีการพัฒนาและสรางตราสินคา  บรรจุภัณฑโลโก  ส่ือแสดงเอกลักษณของกลุม  และส่ือที่จะใช  ณ  จุดขาย  โดยสามารถนําไปบูรณาการเชื่อมโยงกับโครงการพัฒนาเว็บไซตชุมชน  ซึ่งจะชวยใหชองทางการจัดจําหนายทางเว็บไซตทําไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น  เปนการเพิ่มศักยภาพทางการตลาดในการแขงขันที่ยั่งยืน

Page 6: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

79      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

3.  ผลการวิจัยและพัฒนาระบบการผลิต การพัฒนาศักยภาพการผลิตกลุมหัตถกรรม      

สลีปงใจแกวกวาง  โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ  ดานการเพนทภาพ  โดยผูเชี่ยวชาญ  เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑและการออกแบบ  ใหมีความแตกตางจากเดิม  เพื่อใหสมาชิกกลุมมีทักษะดานศิลปะเพิ่มขึ้น  สามารถนําไปประยุกตใชในการออกแบบสินคา  เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน  และสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑของกลุม  สําหรับการพัฒนาศักยภาพการผลิตกลุมแปรรูปผลิตภัณฑการเกษตร  (กลุมผลิตน้ําพริก)  โดยการอบรมใหความรูดานการสุขาภิบาลอาหาร  ทําใหสมาชิกกลุมไดรับความรูดานการสุขาภิบาลอาหารและพัฒนาคุณภาพอาหาร  และเตรียมพรอมที่จะขอการรับรองดานมาตรฐานอาหาร  เชน  มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน  (มผช.)  หรือมาตรฐานอาหารและยา  (อย.) 4.  วิธีดําเนินการวิจัย

4.1 รูปแบบการวิจัย  ใชการวิจัยเชิงสํารวจ(Survey Research) ที่เนนการวิจัยเชิงปริมาณ  (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ  (Qualitative Research)

4.2 กลุมตัวอยางที่ใช  มี  3 กลุม  ดังนี้ 4.2.1 ดานการบริหารจัดการ  ประชากร  

ไดแก  สมาชิกของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  จํานวน  17 คน

4.2.2 ดานชองทางการจัดจําหนาย  ประชากร  ไดแก  กลุมผูแทนจําหนายผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยจํานวน  10 ราย

4.2.3  ดานการพัฒนาบรรจุภัณฑ  ประชากร  ไดแก  1) สมาชิกของกลุมวิสาหกิจชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวย  17 ราย  และผูบริโภคผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกจิชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  โดยทําการสุมตวัอยาง  จะได  385 คน  คํานวณจากสูตรของทาโร     ยามาเน  (ธานนิทร  ศิลปจารุ,  2548  : 48)  ที่ระดับความคาดเคล่ือนทางสถิติที่  0.05

4.3 เคร่ืองมือทีใ่ชในการวจิัย  ไดแก    แบบสอบถาม  

4.3.1 แบบสอบถามที่ใชในการเก็บ  รวบรวมขอมูลนี้  ผูวิจัยสรางขึ้นโดยอาศัยแนวคิด  ทฤษฎี  และงานวิจัยที่เกี่ยวของ  แบงออกเปน  2 ชุด ดังนี ้

ชุดที่  1 เก็บจากผูบริโภคสินคาของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  มีทั้งหมด  3 สวน  คือ  สวนที่  1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม  สวนที่  2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  สวนที่  3 ขอเสนอแนะอื่นๆ  เปนคําถามปลายเปด

ชุดที่  2 เก็บจากผูแทนจําหนายผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  แบงเปน  4 สวน  คือ  สวนที่  1  ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม  สวนที่  2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับชองทางการตลาดผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  สวนที่  3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคของชองทางการจัดจําหนายสินคา  สวนที่  4 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ

4.3.2 การประชุมกลุมยอย  เปนการแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันของสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ในประเด็นที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุมฯ  และการเปล่ียนแปลงบรรจุภัณฑ

4.4 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ  ผูวิจัยไดหาความเชื่อมั่น  (Reliability) ของแบบสอบถาม  และทําการทดลองใช  (Try out) กับกลุมตัวอยางที่คลายคลึงกันกับกลุมตัวอยางจํานวน  30 ตัวอยางไดคาความเชื่อมั่น  เทากับ  0.92

4.5 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมมี  2 วิธี  คือ  1) เก็บขอมูล          

ปฐมภูมิ  (Primary Data) โดยการเก็บจากแบบสอบถามและการประชุมกลุมยอย  และ  2) ขอมูลทุติยภูมิ  (Secondary Data) รวบรวมขอมูลโดยการคนควาจากเอกสาร  งานวิจัย  ที่เกี่ยวของ  เกี่ยวกับลักษณะของการประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม  (SMEs)

4.6 การวิเคราะหขอมูล  แบงการวิเคราะหขอมูลเปนขอมูลเชิงปริมาณ  และเชิงคุณภาพดังนี้

4.6.1    การวิ เคราะหขอมูลเชิ งปริมาณ  ประกอบดวย  การวิเคราะหเชิงพรรณนา  โดยใชคารอยละ  คาเฉล่ีย  สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  เพื่อพรรณนาเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของประชากรและกลุมตัวอยาง  รวมทั้งการพรรณาเกี่ยวกับชองทางการจัดจําหนายสินคาของกลุมฯ    

Page 7: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

80      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

ความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคในการจําหนายสินคาของกลุมฯ    พฤติกรรมผูบริโภคและความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ    และความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย

4.6.2 การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ  ประกอบไปดวยการวิเคราะหจากการประชุมกลุมยอย  การคนควาจากเอกสาร  และนํามาวิเคราะหอยางเปนระบบ

4.7 การนําเสนอแนวทางและการพัฒนา เมื่อไดขอมูลจากการวิเคราะหขอมลู  ผูวิจัยก็ไดนํา

ขอมูลมาวางแนวทางการพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชนตอไป 5.  ผลการวิจัย 5.1 ดานการบริหารจัดการ พบวา  สมาชิกสวนใหญของกลุมวิสาหกิจชุมชนฯ  มีอายุ  40-50  ป  และ  50-60  ป  คิดเปนรอยละ  60    จบการศึกษาระดับประถมศึกษา  คิดเปนรอยละ  86.67  อาชีพสวนใหญทํานา  ทําสวน  คิดเปนรอยละ  60  รายไดของครอบครัวเฉล่ีย  3,000-5,000  บาท  คิดเปนรอยละ  58.33  สาเหตุที่เขามาเปนสมาชิกเน่ืองจากหารายไดเสริม  คิดเปนรอยละ  41.67 สําหรับดานการบริหารจัดการ  แบงการดําเนินงานออกเปน  6  ดาน  ไดแก  1)  ดานการวางแผน  กลุมวิสาหกิจชุมชนมีการกําหนดวัตถุประสงคในการทําธุรกิจ  มีการวางนโยบาย  มีการวางแผนการดําเนินงานหลายดานๆ  ไมวาจะเปนดานวัตถุดิบ  ดานบุคลากร  ดานการเงิน  2)  ดานการจัดองคการ  กลุมวิสาหกิจชุมชนฯ  มีการแบงหนาที่การดําเนินงานเปน  7  หนาที่  ซึ่งแตละหนาที่มีบทบาทในการดําเนินงานใน  กลุมฯ  ที่แตกตางกัน  3)  ดานการจัดคนเขาทํางาน  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ไมไดระบุคุณสมบัติของผูที่จะเขามาเปนสมาชิก  4)  การประสานงาน  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยมีการติดตอส่ือสารและประสานงานกันอยางสม่ําเสมอ  โดยสวนใหญจะผานประธานกลุม  และใชส่ือทางโทรศัพทเปนหลัก  5)  ดานการรายงานผล  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  มีการรายงานผลการดําเนินงานทุกส้ินปเพื่อแบงเงินปนผล  สวนการรายงานผลเปนรายเดือน  หรือรายไตรมาสยังคงไมมี  6)  ดานงบประมาณ  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยมีการลงบัญชีเพียงการรับ-จายเทานั้น  มีการใหเครดิตกับลูกคาในบางราย  เงินทุนที่ไดรับสวนใหญของกลุมมาจาก

การระดมหุน  และหนวยงานราชการสนับสนุน  7)  ปญหาและอุปสรรคทางดานการบริหารจัดการของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยมีปญหาหลักอยู  2  ดาน  คือ  ดานขาดแคลนวัตถุดิบหลัก  และดานการขาดแคลนแรงงาน 5.2    ดานชองทางการจัดจําหนาย 5.2.1    ผลการศึกษาดานสภาพทั่วไปของผูแทนจําหนาย ผูแทนจําหนายสวนใหญ  เปนเพศหญิง  คิดเปนรอยละ  80  อายุระหวาง  41-50  ป  คิดเปนรอยละ  50  จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา/อนุปริญญา  คิดเปนรอยละ  80  ธุรกิจสวนใหญของผูแทนจําหนายไดแก  รานขายสินคาเฉพาะอยาง  คิดเปนรอยละ  50  เปดดําเนินการมาแลวมากกวา  10  ป  คิดเปนรอยละ  70  และมีการนําผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยไปจําหนายมากกวา  3  ป  คิดเปนรอยละ  100  รายไดที่ไดจากการจําหนายสินคาของกลุมฯ  สวนใหญอยูที่  มากกวา  10,000  บาท  คิดเปนรอยละ  90  สินคาที่นําไปวางขายมากที่สุดไดแก  กลวยแผนอบ คิดเปนรอยละ  52.60

5.2.2    ผลการศึกษาดานชองทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย

ผูแทนจําหนายผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย  โดยสวนใหญจะนําผลิตภัณฑของกลุ มไปขายปลีก  คิด เปนรอยละ  80  อยู ใ นจั งหวั ดฉะเชิงเทรา  คิดเปนรอยละ  52.94  โดยจําหนายใหกับบุคคลทั่วไปและนักทองเที่ยว  คิดเปนรอยละ  90  ที่ตลาดนัดชุมชน  คิดเปนรอยละ  61.54    มูลคาในการส่ังซื้อผลิตภัณฑของกลุมอยูที่  มากกวา  3,000  บาท  คิดเปนรอยละ  100  และไมมีการนําผลิตภัณฑจากแหลงอื่นมาจําหนาย  คิดเปนรอยละ  100   จํานวนรานขายสินคาของกลุมผูแทนจําหนายโดยสวนใหญมี  1-2  ราน  คิดเปนรอยละ  70  สาเหตุที่ผูแทนจําหนายนําผลิตภัณฑของกลุมมาจําหนายเอง  เนื่องจากสามารถเขาสูกลุมผูบริโภคไดโดยตรง  คิดเปนรอยละ  76.90   สําหรับการจัดวางผลิตภัณฑของกลุม  ผูแทนจําหนายโดยสวนใหญจะจัดวางผลิตภัณฑของกลุมไวบนชั้นสําหรับขาย  คิดเปนรอยละ  90  จัดวางไวในอุณหภูมิหองปกติ  คิดเปนรอยละ  100  ลูกคาที่คาดหวังสําหรับผูแทนจําหนายสวนใหญ  ไดแก  นักทองเที่ยว  คิดเปนรอยละ  40  ดานการส่ังซื้อสินคาของผูแทนจําหนาย  พบวา  โดยสวนใหญผูแทนจําหนายจะส่ังซื้อสินคาจากกลุมฯ  ลวงหนา  

Page 8: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

81      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

8-15  วัน  คิดเปนรอยละ  70  โดยชําระเปนเงินสด  คิดเปนรอยละ  90  คาใชจายในการขนสงนอยกวา  1,000  บาท คิดเปนรอยละ  37.50

5.2.3    ผลการศึกษาดานปญหาและอุปสรรคของชองทางในการจัดจําหนายของกลุมสตรีแปรรูปอาหารจากกลวย

1) ดานลูกคา  พบวาโดยสวนใหญปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นมีจํานวนนอย  มีจํานวน  5 ขอ  ไดแก    ความเพียงพอของสินคาตอยอดส่ังซื้อ  คาเฉล่ียอยูที่  1.60  (S.D = 0.70)  ความหลากหลายของรูปแบบการใหบริการของกลุมฯ  เชน  การขายสง  การขายตรง  เปนตน  คาเฉล่ียอยูที่  1.60 (S.D = 0.84)  ความแตกตางของราคาขายตรงกับราคาในทองตลาด  คาเฉล่ียอยูที่  1.70 (S.D = 0.67)      ความสะดวกในการเลือกซื้อสินคาจากกลุมฯ  คาเฉล่ียอยูที่  2.10 (S.D = 0.74)  ความหลากหลายของสินคาที่มีใหเลือก  คาเฉล่ียอยูที่  2.10 (S.D = 0.57)  ปญหาและอุปสรรคไมมีเลยมีจํานวน  1  ขอ  ไดแก  ความหลากหลายของรูปแบบการชําระเงินของกลุมฯ  คาเฉล่ียอยูที่  1.00 (S.D.=0.67)    ปญหาและอุปสรรคมีปานกลางมีจํานวน  1  ขอ  ไดแก  สินคาของกลุมฯ  มีคูแขงทางการตลาดมาก คาเฉล่ียอยูที่  2.5 (S.D.=0.71)

2) ดานกระบวนการภายในองคการ  พบวา  โดยสวนใหญปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นไมมีเลยมีจํานวน  8 ขอ  ไดแก  ความเหมาะสมของทําเลที่ตั้งของกลุม  คาเฉล่ียอยูที่ 1.20 (S.D = 0.63)  ความสะดวกในการจอดรถ  คาเฉล่ียอยูที่ 1.20 (S.D = 0.63) ความสะดวกในการจัดสง  คาเฉล่ียอยูที่  1.20 (S.D = 0.63) ความรวดเร็วในการผลิตสินคาของกลุม  คาเฉล่ียอยูที่  1.20 (S.D = 0.63)  การแลกเปล่ียนสินคาที่มีปญหาได  คาเฉล่ียอยูที่  1.30 (S.D = 0.67) คุณภาพของสินคาตรงกับความตองการของลูกคา  คาเฉล่ียอยูที่  1.30 (S.D = 0.48) การดูแลหลังการขาย  เชน  เปล่ียนสินคาเมื่อมีปญหา  คาเฉล่ียอยูที่  1.40 (S.D = 0.70) ความสะดวกดานเวลาในการซ้ือสินคาจากกลุมฯ  เชน  เวลาเปดปดที่แนนอน  คาเฉล่ียอยูที่  1.40 (S.D = 0.70) มีปญหาและอุปสรรคจํานวนนอยจํานวน  1  ขอ  ไดแก  การแจงขอมูลที่เกี่ยวของกับการเปล่ียนแปลงของผลิตภัณฑใหทราบ  คาเฉล่ียอยูที่  2.20 (S.D.=0.42)  มีปญหาและอุปสรรคปานกลางจํ านวน  1  ขอ  ไดแก  มีการแจ งรายละเอียดที่เกี่ยวของกับสินคาผานบรรจุภัณฑไวอยางชัดเจน คาเฉล่ียอยูที่  2.70 (S.D.=0.67)

5.2.4 แนวทางการจัดทําชองทางการตลาด จากการศึกษาการดําเนินงานของผูประกอบการกลุมวิสาหกิจชุมชน  พบวา  โดยสวนใหญทางกลุมจะสงใหแกผูคาสงที่อยูในจังหวัดฉะเชิงเทรา  ประมาณ  10-15 ราย  และจากการสอบถามผูแทนจําหนายพบวา    ผูแทนจําหนายโดยสวนใหญมุงเนนการทําการตลาดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา  โดยมุงเนนการขายปลีก  และการขายใหกับนักทองเที่ยวและบุคคลทั่วไป  กลุมลูกคาที่ผูแทนจําหนายคาดหวังไดแก  นักทองเที่ยว  นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบวาสินคาและผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนโดยสวนใหญไมมีปญหาและชองทางในการทําการตลาด  แตมีปญหาและอุปสรรคในระดับปานกลางอยู  2  ขอ  ไดแก  สินคาของกลุมฯ  มีคูแขงทางการตลาดมาก  และมีการแจงรายละเอียดที่เกี่ยวของกับสินคาผานบรรจุภัณฑยังไมชัดเจน  ดังนั้นเพื่อเปนการเพิ่มชองทางการจัดจําหนายใหกับกลุมตัวแทนจําหนาย  ดังนั้นผูวิจัยจึงได เสนอแนวทางใหทางกลุม  ฯวิสาหกิจชุมชนควรที่จะมีการเพิ่มตัวแทนจําหนายหรือพอคาสงใหมากขึ้นเพื่อปรับเปล่ียนการผลิตจากการผลิตเชิงรับเปนการผลิตตามคําส่ังซื้อ  ซึ่งพอคาสงดังกลาวทางกลุมอาจจะหาไดจากการเขารวมงานแฟรตางๆ  ของจังหวัดและพิมพนามบัตรแจก  หรือหาไดจากอินเทอรเน็ต  รวมทั้งทางกลุมฯ  ใชวิธีการเดินเขาพบดวยตนเอง  สําหรับพอคาสงที่ทางกลุม  ฯ  คาดวานาจะมีกําลังซื้อสินคาของกลุมฯ    สําหรับพอคาสงที่เปนรานคาที่มีตลาดใหญ  เชน  Seven eleven, บิ๊กซี จากการศึกษากลุมฯ  พบวา  กลุมไดเคยสงผลิตภัณฑไปจําหนายแลว  แตพบปญหาจํานวนมาก  จึงไมไดมองตลาดนี้  แตเนื่องจากกําลังการผลิตของกลุมมีจํากัด  ดังนั้นการเพิ่มจํานวนผูแทนจําหนายจะชวยกลุมทําการตลาด  ลดการจําหนายดวยตนเองลง  ระหวางที่ผูวิจัยไดลงพื้นที่ทําวิจัยพบวา  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยเริ่มที่จะมีการหาตลาดผูคาสง  เปล่ียนการผลิตเปนการผลิตตามคําส่ังซื้อ  ซึ่งปญหาที่พบคือลูกคามีจํานวน  Order เปนจํานวนมาก  แตกําลังการผลิตของกลุมยังมีจํากัด  ทางกลุมจึงตองทําการปรับปรุงการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิตใหมากขึ้น   5.3 ดานการพัฒนาบรรจุภัณฑ แบงผลการวิจัยออกเปน  ดังนี ้ 

5.3.1  ดานพฤติกรรมผูบริโภคและความเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ พบวา    ผูบริโภคโดยสวนใหญเคย

Page 9: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

82      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

รับประทานผลิตภัณฑแปรรูปอาหารจากกลวย  คิดเปนรอยละ  100  สาเหตุที่รับประทานเนื่องจากมีรสชาติอรอย  คิดเปนรอยละ  47.62  ขนาดและปริมาณที่ผูบริโภครับประทานตอครั้ง  ไดแก  6-8  ชิ้นตอครั้ง  คิดเปนรอยละ  41.30  โดยผูบริโภคจะซื้อ  1  ครั้ง /อาทิตย  คิดเปนรอยละ  48.05 ผูบริโภคสวนใหญจะซื้อขนาด  10  ชิ้นตอกลอง  คิดเปนรอยละ  39.48 ซึ่งความปลอดภัยในการรับประทานอาหาร  เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการซื้อผลิตภัณฑแปรรูปอาหารจากกลวยของผูบริโภค  คิดเปนรอยละ  29.63

5 .3 . 2    คว ามต องการบรรจุ ภัณฑ ของผูประกอบการ พบวา  กลุมวิสาหกิจชุมชนตองการใหบรรจุภัณฑมีขนาด  150  กรัม  และ  250  กรัม  มีลักษณะเปนส่ีเหล่ียมผืนผา  ทําบรรจุภัณฑดวยกระดาษหรือพลาสติกแข็ง  โดยใชสีของบรรจุภัณฑเปนสีเลียนแบบธรรมชาติ  ไดแก  สีเขียว    สีเหลือง  ตนทุนของผลิตภัณฑทางกลุมวิสาหกิจชุมชนสามารถรับไดที่ราคา  10-15  บาท    ทางกลุมวิสาหกิจชุมชนตองการใหผลิตภัณฑของกลุมขายราคาเดิม  คือ  60  บาท  เครื่องหมายที่ทางกลุมวิสาหกิจชุมชนตองการให มี   ไ ด แ ก   เ ค รื่ อ งหมาย   อ .ย . ,   ม .ผ . ช . ,  OTOP, เชลลชวนชิม,  ตราจังหวัด,  สถานที่ผลิต  ตองการใหมีโลโกหรือตราสัญลักษณภายใตชื่อ  “จินตนา”  โดยใหภาษาไทยโดดเดนกวา  ภาษาอังกฤษ  และตองการใหบรรจุภัณฑมีรูปสินคาจริงอยูบนผลิตภัณฑ  

5.3.3    ผลการพัฒนาบรรจุภัณฑ จากการวิจัยโดยการเก็บขอมูลจากผูประกอบการ

และผูบริโภค  ผูวิจัยจึงไดจัดทํารูปแบบบรรจุภัณฑออกมาเปนตนแบบจํานวน  6  แบบ  และนําแบบดังกลาวไปสอบถามยังกลุมผูประกอบการจนไดแบบที่มีการพัฒนาที่ดีที่สุดจํานวน  1  แบบ  ดังภาพที่  1-1

ภาพที่  1-1 บรรจุภัณฑที่ไดรับการพัฒนา

5.4 ผลการวิเคราะหศักยภาพของกลุมวิสาหกิจ

ชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม   จากการวิจัยดานการออกแบบบรรจุภัณฑ  ดานชองทางการตลาด  ดานการบริหารจดัการ  ดานการเงิน  สามารถเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยกับลักษณะที่สําคัญของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  เพื่อวิเคราะหศักยภาพของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมไดดังนี้

ตารางที่  2    ผลการเปรียบเทียบลักษณะที่สําคัญของ  SMEs กับลักษณะของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวย

ลักษณะที่สาํคัญของ  SMEs ลักษณะของกลุมวสิาหกิจชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวย มีสินทรัพยถาวรไมเกิน  50  ลาน  (วิสาหกิจขนาดเล็ก) กลุมวิสาหกจิแปรรูปอาหารจากกลวยมีสินทรัพยถาวร  418,000  

บาท    และในจํานวนนีม้ีตูอบซึง่เปนสินทรัพยถาวรที่ไดจากนโยบายการสงเสริมวิสาหกจิชมุชนจํานวน  200,000  บาท

มีแรงงานในการผลิต  ไมเกิน  50  คน (วิสาหกิจขนาดเล็ก)

แรงงานทีใ่ชในการผลิตสวนใหญเปนสมาชิกของกลุมซึ่งเขามาทําการผลิตเมื่อวางจากการทําอาชีพหลัก  คือ    ทํานา  แรงงานที่ใชในการผลิตมจีํานวน  10-15  คน  

Page 10: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

83      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

ตารางที่  2  (ตอ) ลักษณะที่สาํคัญของ  SMEs ลักษณะของกลุมวสิาหกิจชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวย

มีความคลองตัวในการบรหิารจดัการ การบริหารจัดการกลุมวิสาหกจิชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยเปนแบบกลุมวิสาหกจิชมุชน  โดยมีประธานกลุมเปนผูบริหารจัดการ การบริหารจัดการจะผานคณะกรรมการกลุม  ความคลองตัวในการบริหารจัดการมีขนาดปานกลางดานการจัดจําหนายมีความยืดหยุนในการดําเนินงานระดับปานกลาง  เชน  กรณีการผลิตมักมีปญหาขาดแคลนวัตถุดิบ  ขาดแคลนแรงงาน  สามารถแกไขสถานการณไดระดับหนึ่ง

ดําเนินธุรกิจไมวาดานการผลิตสนิคา  การจัดจําหนายหรือการบริการจะมีความยืดหยุนสูง

ดําเนินธุรกิจของกลุมวิสาหกจิชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวยไมวาจะเปนดานการผลิต  หรือดานการจัดจําหนายมีความยืดหยุนคอนขางสูง

ดําเนินการคาที่มุงความหลากหลายของรูปแบบหรือบริการมากกวามุงปรมิาณ

การคาของกลุมวิสาหกิจชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวยมุงเนนการผลิตจํานวนมาก  มากกวาความหลากหลายของรูปแบบและผลิตภัณฑ

สามารถสรางความชํานาญเฉพาะอยางเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ

กลุมวิสาหกจิชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวย  ดําเนินการโดยสมาชิกทีม่ีอยูในพื้นที่    การทาํงานของสมาชิกจึงถือไดวามีความชํานาญเฉพาะอยาง

ไดรับความชวยเหลือจากสวนราชการอาทิ  กระทรวงพาณิชย  กรมพัฒนาธุรกิจการคา  กรมสงเสริมอุตสาหกรรม  อุตสาหกรรมจังหวดั  สสว.  ฯลฯ  ในรูปแบบขององคความรูดานบรหิารจัดการ  แผนธุรกจิ  และสิทธิพิเศษตางๆ  ทางการเงิน

กลุมวิสาหกจิชมุชนแปรรูปอาหารจากกลวยไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานของรัฐ  ไดแก  พัฒนาชมุชน  เกษตร  ผูวาราชการจังหวัด  สถาบันวจิัยจุฬาภรณ  ในการชวยเหลือดานการใหความรูในการผลิต  เงนิลงทุน  และรวมทั้งจัดหาเคร่ืองมือในการประกอบธุรกิจ

ที่มา    : เที่ยงธรรม  พลโลก,  2556  : ออนไลน

จากตารางที่  2  สามารถวิเคราะหไดวากลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยยังตองมีการพัฒนาเพื่อที่จะกาวเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมเนื่องจากยังขาดแคลนเงินทุนในการดําเนินงาน  เงินทุนตางๆ  ของกลุมที่ยังคงตองพึ่งพาหนวยงานภาครัฐและสมาชิกในกลุมฯ  นอกจากนี้ยังพบวาทางดานการบริหารจัดการยังเปนลักษณะของกลุมสมาชิก  การบริหารจัดการยังขาดความคลองตัวในการดําเนินงานอยูมาก  ทั้งดานการผลิต  และดานการจําหนายยังมีความคลองตัวอยูนอย  แตกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยมีโอกาสที่จะพัฒนาเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  โดยอาจจะเริ่มจากการหาชองทางการตลาดใหมากขึ้น  ปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพ  สามารถเกิดการประหยัดตอขนาด  เปล่ียนระบบการบริหารจัดการภายใน

ใหดีขึ้น  เชน  ยายอํานาจการตัดสินใจมาอยูที่ประธานหรือกรรมการกลุมเพื่อความคลองตัว  และประชุมผลการดําเนินงาน  ปญหาและอุปสรรคทุกเดือน  ก็จะมีโอกาสกาวเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  (SMEs) ได

6.  สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล

จากการวิจัย  เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  โดยแบงการวิเคราะหศักยภาพทางดานตางๆ  ไดแก  ดานชองทางการจัดจําหนาย    ดานการบริหารจัดการ  ดานการออกแบบบรรจุภัณฑ  ซึ่งจากการวิจัยพบวากลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยยังตองมีการพัฒนาศักยภาพเพื่อจะกาวเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  

Page 11: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

84      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

ไดแก  ดานการบริหารจัดการ  พบวา  กลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยยังขาดความคลองตัว  ขาดความรูในเรื่องการบริหารจัดการ  เพื่อใหการบริหารจัดการคลองตัวมากขึ้น  ผูวิจัยจึงไดเสนอแนะใหกลุมปรับการบริหารจัดการโดยใหประธานกลุมเปนผูตัดสินใจ  และมีการประชุมแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันทุกเดือน  และใหหนวยงานที่เกี่ยวของเขามาอบรมหรือสงเสริมใหสมาชิกของกลุมวิสาหกิจฯ  ไปดูงานในหนวยงานอื่น  ขอเสนอแนะนี้มีนักวิจัยหลายทานไดใหแนวคิดที่คลายคลึงกันไวในงานวิจัย  เชน  งานวิจัยของวันทนีย  นําศรีคา  (2550)  ที่ทําการศึกษาศักยภาพดานการบริหารจัดการของสินคา  OTOP กลุมชุมชน  พื้นที่อําเภอธัญบุรี  จังหวัดปทุมธานี  โดยปญหาที่พบจากงานวิจัยของวันทนีย  คือ  กลุมผูผลิตสินคา  OTOP ยังไมมีการบริหารจัดการเพื่อลดตนทุนการผลิต  ยังขาดการบริหารเงินออม  งานวิจัยดังกลาวจึงไดแนะนําใหหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของสงเสริมในการจัดฝกอบรมหรือฝกวิชาชีพใหกับกลุมผูผลิตสินคา  OTOP เพื่อใหชุมชนสามารถนําไปตอยอดในการสรางมูลคาเพิ่ม  เพื่อใหชุมชนเขมแข็งตอไป  หรืองานวิจัยของศิรินันท   จันทะพัน (2555)  ทําการศึกษาเรื่องการบริหารจัดการของกลุมทอผายอมครามตนแบบของบานนาฮี  ตําบลนาฮี  จังหวัดสกลนคร  โดยปญหาที่พบจากงานวิจัยนี้คือ  กลุมทอผายอมครามมีปญหาในชวงฤดูกาลทํานา  สมาชิกตองไปประกอบอาชีพหลักทําใหผลผลิตลดลง  ดานวัตถุดิบมีปญหาในวัตถุดิบหลักไมเพียงพอตอการผลิตเมื่อลูกคาส่ังเปนจํานวนมาก  งานวิจัยดังกลาวไดมีการแนะนําใหจัดฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับการดําเนินงานตามหลักการบริหารจัดการกลุมทั้ง  7  ดาน  ไดแก  ดานการวางแผน  ดานการกําหนดโครงสรางหนาที่ของกลุม  ดานการคัดเลือกคณะกรรมการมาปฏิบัติงานในตําแหนงตางๆ  ดานกฎระเบียบในการใชบังคับสมาชิกกลุม  ดานการติดตอประสานงานภายในและภายนอก  และดานการสรุปผลการดําเนินงานของกลุม หรืองานวิจัยของอานนท  วงษเชียง  และสุรีย  เข็มทอง  (2555 : 107-118)  ที่ทําการศึกษาเรื่องแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดยอมในเขตหัวหิน  จังหวัดประจวบคีรีขนัธ  ซึ่งจากการวิจัย  พบวา  ปจจัยที่สําคัญที่ทําใหธุรกิจดําเนินการไปไดก็คือพนักงาน  ซึ่งพนักงานมีความสัมพันธกับการดําเนินงานของธุรกิจในเชิงบวก  ดังนั้น  ผูวิจัยจึงไดเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน  ดาน

กระบวนการภายในของธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดยอมวา  หากตองการใหธุรกิจโรงแรมมีประสิทธิภาพผูบริหารโรงแรมควรใหความสําคัญกับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาความรูและทักษะการปฏิบัติงานใหแกพนักงาน นอกจากนี้  จากการวิจัยศักยภาพดานชองทางการจัดจําหนาย  พบวา  สินคาหรือผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยไมมีปญหาในดานการจําหนาย  แตมีปญหาหลักอยู  2  ประการคือ  ดานผลิตภัณฑของกลุมมีคูแขงขันเปนจํานวนมาก  และยังขาดในเรื่องรายละเอียดที่สําคัญในบรรจุภัณฑ  ทางผูวิจัยจึงไดทําการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อสรางความแตกตางใหกับสินคาเพื่อเพิม่ศักยภาพในการแขงขันในตลาด    นอกจากนี้ยังไดมีการเสนอแนะใหผูประกอบการเปล่ียนจากการขายแบบผลิตออกมาแลวจําหนายเปนการผลิตตามคําส่ังซื้อ  เนื่องจากสินคาของกลุมฯ  มีความคลองตัวในการจําหนาย  ดังนั้นถาเปล่ียนมาเปนผลิตตามคําส่ังซื้อจะทําใหลดความเส่ียงในเรื่องการทําตลาดลงได    ในการศึกษาเรื่องของชองทางการจัดจําหนายสินคาของกลุมวิสาหกิจชุมชนนั้นไดมีนักวิจัยหลายทานไดทําการศึกษาเร่ืองนี้ไว  และผลงานวิจัยที่นําเสนอไวสามารถนํามาประยุกตใชกับกลุมวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากกลวยได  ดังเชน  งานวิจัยของมานพ    ชุมอุน  (2554) ที่ทําการวิจัยเรื่อง  การจัดการสายผลิตภัณฑและชองทางการจัดจําหนายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแบบยั่งยืนในผลิตภัณฑถั่วเนาแคบ  ถั่วแปหลอ  ถั่วแปยี  และน้ํางาของกลุมแมบานเกษตรกรบานปางหมู  ตําบลปางหมู  อําเภอเมือง  จังหวัดแมฮองสอน  แลวพบวาลักษณะของผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกิจชุมชนนี้มีลักษณะเหมือนกับวิสาหกิจชุมชนทั่วไป  ที่ผลิตสินคาออกแลวจึงออกขายภายในชุมชนหรือตลาดใกลเคียง  งานวิจัยของมานพ  ไดใหขอเสนอแนะแนวทางใหกับกลุมวิสาหกิจชุมชนมีดวยกัน  3  แนวทางคือ  1)  เจาะตลาดเดิมเพิ่มโดยใชการสงเสริมการขายชวย  2)  พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑใหมเพื่อจําหนายในตลาดเดิม  3)  เจาะตลาดเดิมเพิ่มการสงเสริมการขายควบคูไปกับการพัฒนาผลิตภัณฑใหม

จากงานวิจัย  สามารถสรุปใหเห็นวา  หากกลุมวิสาหกิจชุมชนอ่ืนๆ  ตองการจะพัฒนากลุมใหเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  จะตองมีแนวทางในการพัฒนา  ดังนี้          1) ความพรอมทางดานการบริหารจัดการกลุม  เนื่องจากลักษณะการดําเนินงานของวิสาหกิจขนาด

Page 12: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

85      

 วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11 ฉบับที่  2 เดือน  กรกฎาคม  – ธันวาคม  2556

กลางและขนาดยอม  ผูที่ดําเนินธุรกิจประเภทนี้จะตองมีความคลองตัวในการบริหารงานคอนขางมาก  เพราะจะตองตัดสินใจหรือบริหารงานภายใตสภาวะแวดลอมที่แขงขัน  ดังนั้นกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑใดตองการเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมจําเปนจะตองมีความคลองตัวในการบริหารจัดการสูง      2) ความพรอมทางดานการตลาด  เนื่องจากลักษณะการดําเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม   เปนธุ รกิ จที่ ต อ งมีการแข งขั นทางการตลาดคอนขางมาก  ดังนั้นกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑจําเปนจะตองมีความพรอมทางดานนี้  ซึ่งความพรอมทางดานน้ี  รวมถึงความพรอมของลักษณะและรูปแบบของบรรจุภัณฑดวย    3) ความพรอมทางดานการเงิน  สําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม  เปาหมายของการทําธุรกิจประเภทนี้คือกําไร  ซึ่งตางจากวิสาหกิจชุมชนที่มี

เปาหมายเพียงเพื่อสรางรายไดใหแกประชาชนหรือสมาชิกในชุมชน  ดังนั้นหากกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑที่ตองการเขาสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมจําเปนจะตองมีเงินทุนหมุนเวียน  และเงินลงทุนในธุรกิจพอสมควร  เน่ืองจากธุรกิจกลุมนี้นอกจากจะมีตนทุนทางดานการผลิตแลว  ยังจะเปนตองมีตนทุนทางดานการทําตลาดเพื่อสรางยอดขายดวย 7. กิตติกรรมประกาศ งานวิจยันี้ผูวจิัยไดรับการสนับสนุนทุนวิจัย  ในโครงการทุนวิจัยเฉพาะทางของคณะเทคโนโลยแีละการจัดการอุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนือ  ผูวจิัยขอขอบพระคุณอยางยิ่งที่เปดโอกาสใหผูวิจยัทําวจิัยเพื่อชุมชน

บรรณานุกรม

เที่ยงธรรม  พลโลก.    (2556). วสิาหกิจชุมชนกับ

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดกลางและขนาดยอมเหมือนกันไหมนา?. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก  .  http://www.sme.go.th/Lists/

EditorInput/DispF.aspx?List=15dca7fb-bf2e-

464e-97e5-440321040570&ID=1781. (วันที่ คนขอมูล  : 19 เมษายน  2556).

ธวัชชัย  บุญมี  และคณะ.    (2555). การวิจยัและพัฒนา

กลุมวสิาหกิจชุมชนบานสันทรายตนกอก ตําบลฟาฮาม อาํเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม.    เชียงใหม  :  คณะวิทยาการจัดการ  มหาวิทยาลัยราชภัฎเชยีงใหม.

ธานินทร  ศิลปจารุ.    (2548). การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. พิมพครั้งที ่ 4.

กรุงเทพฯ  : บริษัท  วี.อินเตอร  พรินท  จํากัด.

นพเกลา  ดวงหิรัญภักด.ี    (2551). ศักยภาพการ

ดําเนินกิจการของวสิาหกิจชมุชนใน

อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน. เชียงใหม  :   ภาควิชาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร   คณะเกษตรศาสตร  มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

มานพ  ชุมอุน.    (2555). การจัดการสายผลิตภัณฑและ

ชองทางการจัดจาํหนายเพื่อพฒันาวสิาหกิจ

ชุมชนแบบยั่งยืนในผลิตภัณฑถั่วเนาแคบ ถ่ัว

แปหลอ ถั่วแปยี และนํ้ามันงาของกลุมแมบานเกษตรกรบานปางหม ูตําบลปางหมู อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน.    กรุงเทพฯ  :สํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาติ  ปงบประมาณ  2554.

ธงพล  พรหมสาขา  ณ  สกลนคร    และอุทิศ  สังขรตัน.   (2556). แนวทางการพฒันาการดําเนินงาน

ของวิสาหกิจชุมชนในเขตลุมทะเลสาบสงขลา.  สงขลา  : คณะศิลปะศาสตร  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.  

วันทนีย  นําศรีคา.    (2550). การศึกษาและวจิัยเพิม่

Page 13: การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคา ...sms-stou.org/pr/media/journal/article/56-2/56-2-article7.pdf · 2014-03-17 · การพัฒนาศักยภาพกลุมสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑสูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

86      บทความวิจัย

วารสารการจัดการสมัยใหม  ปที่  11  ฉบับที่  2    เดือน  กรกฎาคม  –  ธันวาคม  2556                                                                                                                                                        

ศักยภาพดานการบริหารจัดการสินคา OTOP

กลุมชมุชน พื้นทีอ่ําเภอธญับรีุ จังหวัดปทุมธานี    วิทยานิพนธ  ศลิปะการออกแบบและเทคโนโลยี.    ปทมุธานี  : คณะศิลปกรรมศาสตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลธัญบุร.ี

ศิรินันท  จันทะพัน.    (2555). การบริหารจัดการกลุมทอ

ผายอมครามตนแบบของบานนาฮี ตําบลนาฮี อําเภออากาศอํานวย จังหวัดสกลนคร.  ขอนแกน  : สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น  วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น  มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สยุมพร  ล่ิมไทย.    (2549, มิถุนายน). ยุทธศาสตรการ

ขับเคลื่อน OTOP จากนโยบายสูการปฏิบัติ.    วารสารพัฒนาชมุชน,  45(6), หนา  16-17.

สํานักงานพัฒนาวิสาหกจิขนาดกลางและขนาดยอม.                 (2548). รายงานสถานการณวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดยอม ป 2548. พิมพครัง้ที่  1.

กรุงเทพฯ  : บริษัท  เรดเฟรน    ครีเอชั่น  จํากัด.   อานนท  วงษเชียง    และสุรีย  เขม็ทอง.    (2555, มกราคม-

มิถุนายน). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของ ธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดยอมในเขต หัวหิน  จังหวัดประจวบคีรีขันธ.    วารสารการ จัดการสมัยใหม  10(1), หนา  107-118.