รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception...

107
รายงาน รายงาน การศึกษา การศึกษา ขัขันตน นตน ( ( I I n n c c e e p p t t i i o o n n R R e e p p o o r r t t ) ) โครงการศึกษาวิจัย โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน ของขาราชการสวนทองถิ่น ของขาราชการสวนทองถิ่น ( ( ระยะทีระยะที2 2 ) ) สนอตอ สนอตอ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย จัดทําโดย สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.) Thailand Innovative Administration Consultancy Institute (TIA) มูลนิธิพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ

Upload: others

Post on 04-Aug-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

รายงานรายงานการศึกษาการศึกษาขั้ขั้นตนนตน ((IInncceeppttiioonn RReeppoorrtt))

โครงการศึกษาวิจัยโครงการศึกษาวิจัย

เรื่องเรื่อง

การปรบัปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนการปรบัปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน ของขาราชการสวนทองถิน่ของขาราชการสวนทองถิน่ ((ระยะที ่ระยะที ่22))

เเสนอตอสนอตอ

กระทรวงมหาดไทยกระทรวงมหาดไทย

จัดทําโดย

สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

Thailand Innovative Administration Consultancy Institute (TIA) มูลนิธิพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ

Page 2: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันท่ีปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล 1

1.2 วัตถุประสงค 2

1.3 ขอบเขตการศึกษา 3

1.4 ระเบียบและวิธีการศึกษา 4

1.5 ข้ันตอนการดําเนนิงาน 5

1.6 ระยะเวลาดําเนนิการ 7

1.7 แผนการดําเนนิการ 8

1.8 ผลผลิตของโครงการ 14

บทที่ 2 กรอบการดําเนินงาน 2.1 ผลการศึกษาเรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตาํแหนงและคาตอบแทน 17

ของขาราชการสวนทองถิน่ ระยะแรก

2.2 กรอบแนวคิดในการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนง 22

และคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิน่

2.3 แนวทางการปรับปรุงระบบจําแนกตาํแหนงและคาตอบแทน 24

ของขาราชการสวนทองถิน่

บทที่ 3 ระบบการบรหิารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย 3.1 ภาพรวมโครงสรางองคกรปกครองสวนทองถิน่ของไทย 36

3.2 โครงสรางและอํานาจหนาทีข่ององคกรปกครองสวนทองถิ่น 37

3.3 ระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในประเทศไทย 55

3.4 โครงสรางและอํานาจหนาที่ขององคกรที่รับผิดชอบ 57

การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

3.5 กระบวนการบริหารงานบุคคลสวนทองถิน่ของไทย 62

3.6 การกาํหนดตําแหนง โครงสรางการแบงสวนราชการ 80

และตําแหนงสายงานบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิน่

3.7 การจาํแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิน่ 90

บทที่ 4 การดําเนินงานตอไป 102

Page 3: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันท่ีปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1 แสดงแผนการดําเนนิงาน 8

2 การกําหนดตําแหนงขององคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 80

3 การกําหนดตําแหนงของเทศบาล 81

4 การกําหนดตําแหนงขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.) 83

5 ตําแหนงสายงานบริหารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการ 85

องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.)

6 ตําแหนงสายงานบรหิารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการเทศบาล 88

7 ตําแหนงสายงานบรหิารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการ 90

องคการบริหารสวนตําบล

8 แสดงบัญชีอัตราเงนิเดือนขาราชการพลเรือน 92

9 แสดงบัญชีแสดงกลุมงาน สายงาน และประเภทตําแหนง 93

ของสายงานตางๆ ในมาตรฐานกาํหนดตําแหนงขององคกรปกครองสวนทองถิน่

10 แสดงบัญชีอัตราเงนิเดือนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 100

ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี

11 แสดงบัญชีอัตราเงนิวทิยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 101

Page 4: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันท่ีปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1 แสดงกรอบการดําเนินงาน 17

2 แสดงกรอบแนวคิดการปฏิรูปโครงสรางระบบจําแนกตาํแหนง 23

และคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิน่

3 แสดงตวัอยางผลลพัธการประเมนิคางาน 27

4 แสดงตัวอยางผลลัพธทีจ่ะไดรับ 27

5 แสดงสมรรถนะของบุคคล 29

6 แสดงกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน 31

7 แสดงโครงสรางการบรหิารราชการแผนดนิของไทย 36

8 แสดงโครงสรางองคการบริหารสวนจงัหวัด 38

9 แสดงโครงสรางเทศบาล 44

10 แสดงโครงสรางองคการบรหิารสวนตาํบล 49

11 แสดงโครงสรางเมืองพทัยา 53

12 แสดงโครงสรางระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิน่ 56

13 แสดงความสมัพันธในระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิน่ 63

14 การกําหนดโครงสรางสวนราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 85

15 การกําหนดโครงสรางสวนราชการเทศบาล 87

16 การกําหนดโครงสรางสวนราชการองคการบริหารสวนตําบล 89

17 แสดงระดับตําแหนงของขาราชการพลเรือน 91

Page 5: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 สงผลกระทบทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

ระบบการบริหารงานบุคคลภาครัฐของประเทศไทยเปนอันมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของระบบจาํแนก

ตําแหนงและคาตอบแทน ซึ่งไดมีการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงจากเดิมในระบบ Position

Classification เปนระบบ Multi Classification Scheme โดยแบงประเภทตําแหนงออกเปน 4 ประเภทและ

แยกบัญชีเงินเดือนแตละประเภทออกจากกัน เพื่อใหเกิดความยืดหยุนในการปรับอัตราเงินเดือน

ใหสอดคลองกับตลาดและการบริหารผลงาน ความรูความสามารถของขาราชการแตละประเภท รวมทั้ง

ไดมีการนําระบบสมรรถนะและระบบประเมินผลงานมาใชในการบริหารผลงานของขาราชการ

จากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นขางตน ทําใหระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นในปจจุบัน

ซึ่งยึดถือตามแนวทางของกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนเปนหลัก รวมถึงระบบจําแนก

ตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นในปจจุบันที่นําระบบเกาของขาราชการพลเรือน

มาบังคับใชโดยอนุโลม ยอมสงผลกระทบไปดวยอยางหลีกเลี่ยงไมได ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551

สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (สํานักงาน ก.ถ.) ซึ่งมีหนาที่

รับผิดชอบประการหนึ่ง คือ ศึกษา วิเคราะห และรวบรวมขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการ

มาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น หรือ ก.ถ.อันเปนองคกรในการกําหนดมาตรฐานกลางและ

แนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น จึงไดจางสถาบันที่ปรึกษา

เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.) ดําเนินการโครงการศึกษาวิจัย เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนก

ตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น เพื่อศึกษาสภาพปญหาของระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นในปจจุบันและความเปนไปไดในการนําระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาใชกับระบบบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น

ผลการศึกษาวิจัยของ สปร. สรุปไดวา สภาพปญหาของระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

ของขาราชการสวนทองถิ่นในปจจุบัน ไดแก ความแตกตางของคางานไมชัดเจน ตําแหนงและระดับ

ไมสอดคลองกับคางาน มีสายงานมากไมคลองตัว เนนคุณวุฒิและอาวุโสมากกวาสมรรถนะและผลงาน

คาตอบแทนไมยืดหยุน และต่ํากวาตลาดแรงงาน ทําใหไมสามารถจูงใจคนดี คนเกง เขาสูระบบได สําหรับ

ความเปนไปไดในการนําระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ

Page 6: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 2

พลเรือน พ.ศ. 2551 มาใช มีความเปนไปไดสูง เพื่อความเปนมาตรฐานการบริหารงานบคุคลของหนวยงาน

ภาครัฐ และเพื่อความสะดวกตอการโอนยายทั้งระหวางขาราชการสวนทองถิ่นดวยกันหรือกับขาราชการ

อ่ืน ทั้งนี้ จากการสํารวจความคิดเห็นของขาราชการสวนทองถิ่นและผูที่เกี่ยวของสวนใหญเห็นดวยกับการ

นําระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนใหมของขาราชการพลเรือนมาใชโดยประยุกตใหสอดคลองกับ

สภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยทายที่สุด สปร. ไดเสนอแนะใหสํานักงาน ก.ถ. ดําเนินการศึกษา

รายละเอียดเกี่ยวกับการนําระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ

พลเรือน พ.ศ. 2551 มาประยุกตใชกับระบบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น รวมทั้งดําเนินการเตรียมความ

พรอมใหแกเจาหนาที่ของสํานักงาน ก.ถ. และผูที่เกี่ยวของ ในแบบคูขนาน เพื่อใหมีความรูความเขาใจและ

สามารถนําระบบใหมมาใชใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติ

ดังนั้น เพื่อใหการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นบรรลุ

วัตถุประสงค โดยสอดคลองและมีความตอเนื่องจากผลการศึกษาวิจัยดังกลาว จึงมีความจําเปนที่จะตอง

ดําเนินการโครงการศึกษาวิจัย เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการ

สวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) เพื่อใหไดระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่พึงปรารถนา และเหมาะสมกับ

ขาราชการสวนทองถิ่น

1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

ที่ใชในปจจุบัน กับระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น รวมทั้งระบบของ

เอกชนในประเทศไทย ตลอดจนระบบที่ใชอยูในสากล

2. เพื่อศึกษา และวางระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่พึงปรารถนา และเหมาะสมกับ

ขาราชการสวนทองถิ่น

3. เพื่อศึกษา และวางระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น ใหสอดคลองกับหลักการ

บริหารงานบุคคลแนวใหม โดยยึดหลักคุณธรรม (Merit) หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน

(Performance) หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) และหลักความสมดุลระหวางคุณภาพชีวิต

และการทํางาน (Work life balance)

4. เพื่อศึกษา และเสนอแนวทางและมาตรการเตรียมความพรอมของเจาหนาที่ของสํานักงาน ก.ถ.

และผู ที่ เ กี่ ย วข อ ง ให มี ความรู ค ว ามสามารถในการวิ เ ค ราะห และพัฒนา เครื่ อ งมื อกลไก

ในการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นตามระบบใหม

Page 7: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 3

1.3 ขอบเขตการศึกษา ดําเนินการศึกษาในประเด็นหลัก จํานวน 4 เร่ือง ประกอบดวย

1.3.1 การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน 1.3.1.1 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่ใช

ในปจจุบันและสภาพปญหา

1.3.1.2 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น

1.3.1.3 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของภาคเอกชนในประเทศไทย

1.3.1.4 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ใชอยูในสากลที่เปนแบบอยางที่ดี

1.3.2 การศึกษาเพื่อวางระบบโครงสรางตําแหนงและอัตราเงินเดือนใหมของขาราชการสวนทองถิ่น

1.3.2.1 การสํารวจและวิเคราะหงาน

1.3.2.2 การประเมินคางาน และจัดโครงสรางระดับชั้นงาน

1.3.2.3 การจําแนกกลุมประเภทตําแหนง

1.3.2.4 การกําหนดระดับตําแหนงในแตละกลุมประเภทตําแหนง

1.3.2.5 การจัดทําคําอธิบายกลุมประเภทตําแหนง

1.3.2.6 การจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงทุกตําแหนง

1.3.2.7 การจัดทําโครงสรางคาตอบแทน และบัญชีอัตราเงินเดือนแยกตามกลุมประเภท

ตําแหนง

1.3.2.8 การจัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหม และการจัดทําบัญชีตําแหนงเปรียบเทียบจากบญัชี

ตําแหนงปจจุบันเพื่อปรับเขาสูบัญชีตําแหนงระบบใหม

1.3.2.9 การวางระบบความกาวหนาในเสนทางสายอาชีพ

1.3.3 การศึกษาเพื่อวางระบบและกลไกการบริหารงานบุคคลตามระบบใหม

1.3.3.1 การวิเคราะหและจัดทํา Competency Model ของขาราชการสวนทองถิ่น รวมทั้ง

การจัดทําพจนานุกรมสมรรถนะ

1.3.3.2 การจัดทําหลักเกณฑและวิธีการประเมินสมรรถนะทั้งของตําแหนงและสายงาน

1.3.3.3 การจัดทําหลักเกณฑและแนวทางการบริหารผลงาน

1.3.4 การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางและมาตรการเตรียมความพรอมรองรับระบบใหม

1.3.4.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการรองรับการนําระบบใหมมาใช

1.3.4.2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและการฝกอบรมเตรียมความพรอมแกเจาหนาที่สํานักงาน

ก.ถ. และผูที่เกี่ยวของ อยางนอย 1,000 คน ทั้งในระดับผูบริหารและเจาหนาที่ จํานวน 3 หลักสูตร ไดแก

Page 8: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 4

- หลักสูตรผูบริหารระดับสูง จํานวนอยางนอย 100 คน

- หลักสูตรหวัหนาหนวยงานทีเ่กี่ยวของกับการบริหารงานบคุคล จํานวนอยางนอย 200 คน

- หลักสูตรเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล จํานวนอยางนอย 700 คน

1.3.4.3 การจัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพรอมใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

หนวยงานที่เกี่ยวของทั่วประเทศ โดยใชวธิีประชุมทางไกล

1.3.4.4 การจัดทําคูมือ และ e – Learning เกี่ยวกับระบบใหมที่สามารถใชงานทางเว็บไซต

ของสํานักงาน ก.ถ. อยางนอย 1 ระบบ

1.3.4.5 การจัดตั้งศูนยประชาสัมพันธผลการดําเนินการตามโครงการ เพื่อเสริมสรางความรู

ความเขาใจแกขาราชการสวนทองถิ่น และผูที่เกี่ยวของ โดยตอเนื่องตลอดระยะเวลาดําเนินการโครงการ

โดยจัดทําในรูปแบบของเว็บไซต ผานเว็บไซตของสํานักงาน ก.ถ.

1.4 ระเบียบและวิธีการศึกษา ระเบียบและวธิีการศึกษา ทาํโดย

1.4.1 การศึกษาวิจยัดําเนินการทัง้ในเชงิปริมาณและเชิงคุณภาพ ไดแก

1.4.1.1 การศึกษาคนควาจากเอกสาร การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ การศึกษาดูงาน

การเก็บขอมูลภาคสนามและแสวงหาความรูจากการสัมภาษณในเชิงลึกจากผูเชี่ยวชาญ (Resources

Person)

1.4.1.2 การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ระดมความคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ โดยกําหนด

กลุมประชากรการศึกษาใหครบถวนทุกมิติ ตามภาค ประเภทและขนาดของราชการบริหารสวนทองถิ่น

เพื่อใหไดขอมูลและขอเท็จจริงที่เปนประโยชนในการศึกษาวิจัย

1.4.2 ดําเนินการจัดการประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอขอคนพบ รายงานการศึกษา และรับฟงความ

คิดเห็นจากผูเกี่ยวของ

1.4.3 การศึกษาวิจัยครอบคลุมราชการบริหารสวนทองถิ่น ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด

เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล และเมืองพัทยา

1.4.4 การศึกษาวิจัยพิจารณาถึงการปรับปรุงแกไขกฎหมายจัดตั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น

และกฏหมายที่เกี่ยวกับขาราชการสวนทองถิ่น รวมทั้งการปรับปรุงแกไข ระเบียบ และหลักเกณฑที่เกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรือนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

ในสวนที่เกี่ยวของ ตลอดจนแนวโนมตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นควบคูกันไปดวย

Page 9: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 5

1.5 ขั้นตอนการดําเนินงาน

1.5.1 จัดทํารายงานการศึกษาเบื้องตน ประกอบดวย

1.5.1.1 รายงานการศึกษาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่โครงสรางการจัดองคการ การจัด

อัตรากําลัง ระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน รวมถึงระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่น และขอมูลอ่ืน ๆ ที่จําเปนตอการวิเคราะห

1.5.1.2 กรอบแนวคิดและหลักการในการดําเนินงานวิเคราะหในขั้นตอนสําคัญ ๆ อาทิ

การประเมินคางาน การกําหนดคาตอบแทน การจัดทําตนแบบสมรรถนะ เปนตน

1.5.1.3 แผนการดําเนินงาน ระยะเวลา และผลผลิตของโครงการ ต้ังแตเร่ิมตนจนส้ินสุด

โครงการ

1.5.2. จัดทํารายงานความกาวหนาฉบับที่ 1 ประกอบดวย

1.5.2.1 การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

1.5.2.2 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่ใช

ในปจจุบันและสภาพปญหา

1.5.2.3 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น

1.5.2.4 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของภาคเอกชนในประเทศไทย

1.5.2.5 การศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ใชอยูในสากลที่เปนแบบอยางที่ดี

1.5.2.6 การสํารวจขอมูลและวิเคราะหงานโดยดําเนินการกําหนดจํานวนตําแหนงงาน

ทั้งหมดที่จะสุมตัวอยางตามหลักสถิติ เพื่อใหการสํารวจไดขอมูลที่เที่ยงตรงและมีความนาเชื่อถือ

ดําเนินการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการวิเคราะหงาน (Job Analysis) เพื่อใหผูแทนของแตละตําแหนง

สามารถกรอกแบบสํารวจบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ไดอยางถูกตองตามมาตรฐานและให

ผูแทนของตําแหนงงานกรอกแบบสํารวจบรรยายลักษณะงานของตนเอง สงผูบังคับบัญชาโดยตรง

ตรวจสอบรับรองกอนสง โดยที่ปรึกษาเปนผูดําเนินการตรวจสอบคุณภาพและจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

สัมภาษณบางตําแหนงตามหลักสถิติ

1.5.2.7 การประเมินคางานและจัดทําโครงสรางระดับชั้นงาน โดยการประเมินคางานของ

ตําแหนงตาง ๆ ในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามหลักการประเมินคางาน (The Civil Service

Commission Guide Charts Method of Job Evaluation : CSC Guide Chart) โดยอาศัยขอมูลจากการ

สํารวจลักษณะงานเปนพื้นฐานเปรียบเทียบกับงานที่มีลักษณะใกลเคียงกันจากฐานขอมูล และหารือกับ

คณะทํางานเพื่อยืนยันผลการประเมินคางานดําเนินการจัดทําโครงสรางระดับตําแหนงใหมที่เหมาะสม

สอดคลองกับพันธกิจ แผนยุทธศาสตร และวัฒนธรรมองคกรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 10: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 6

1.5.2.8 จัดตั้งศูนยประชาสัมพันธผลการดําเนินการตามโครงการ เพื่อเสริมสรางความรู

ความเขาใจแกขาราชการสวนทองถิ่น และผูที่เกี่ยวของ ผานเว็บไซตของสํานักงาน ก.ถ.

1.5.3. จัดทํารายงานความกาวหนาฉบับที่ 2 ประกอบดวย

1.5.3.1 การจัดทํากรอบแนวทางในการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่จะเสนอใหมีการ

ปรับปรุง เชน การควบคุม การยุบเลิก หรือการสรางใหม

1.5.3.2 การจัดทําตนแบบสมรรถนะ (Competency Model) สําหรับขาราชการองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น โดยเตรียมการและการจัดประชุมสัมมนาเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลเชิงสมรรถนะ

ตามหลักวิธีการและกระบวนการอันเปนมาตรฐานสากล วิเคราะหขอมูล และพัฒนา Core Competency

และตนแบบสมรรถนะ (Competency Model) ประจํากลุมงานตาง ๆ ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะกับองคกรตาง ๆ ซึ่งมีภารกิจและขนาดองคกรที่เทียบเคียงไดกับองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น การจัดทํารางพจนานุกรมสมรรถนะ ซึ่งประกอบดวย คําจํากัดความประจําสมรรถนะรายการ

ตางๆ กําหนดความซ้ําซอนของสมรรถนะแตละระดับใหชัดเจน

1.5.4. จัดทํารางรายงานฉบับสมบูรณ ประกอบดวย

1.5.4.1 การจัดทําโครงสรางตําแหนงขาราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปนผลมาจาก

การตัดสินใจเลือกกรอบแนวทางในการจัดทําโครงสรางตําแหนง รวมถึงการจําแนกกลุมประเภทตําแหนง

การกําหนดระดับตําแหนงในแตละกลุมประเภทตําแหนง และการจัดทําคําอธิบายกลุมประเภทตําแหนง

1.5.4.2 การจัดทําโครงสรางบัญชีอัตราเงินเดือนที่สอดคลองกับโครงสรางตําแหนง

1.5.4.3 จัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหม และการจัดทําบัญชีตําแหนงเปรียบเทียบจากบัญชี

ตําแหนงปจจุบันเพื่อปรับเขาสูบัญชีตําแหนงระบบใหม

1.5.4.4 การจัดทําขอเสนอในการจัดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพสําหรับตําแหนง

ตางๆ ในองคกรปกครองสวนทองถิ่นตามระบบใหม ทั้งทางกาวหนาในกลุมงานประเภทเดียวกันและ

ระหวางกลุมงานทุกประเภท

1.5.4.5 การจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่ปรับปรุงแลว โดยการจัดทําตนรางมาตรฐาน

กําหนดตําแหนงทุกตําแหนง โดยวิเคราะหจากลักษณะงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

1.5.4.6 การจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการประเมินสมรรถนะ

1.5.4.7 การจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการนําระบบการบริหารผลงานมาใชในการ

บริหารทรัพยากรบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งเปนระบบที่เชื่อมโยงผลการปฏิบัติงานระดับ

องคกรมาสูผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ตลอดจนเสนอแนะแนวทางในการจัดทําเครื่องมือกลไกในการ

ประเมินผล

Page 11: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 7

1.5.4.8 การจัดทําแผนเพื่อการนําระบบใหมมาใช และการฝกอบรมเพื่อเตรียมความพรอม

ในการเริ่มใชระบบใหมแกเจาหนาที่ของสํานักงาน ก.ถ. และผูที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับผูบริหาร หัวหนา

หนวยงานและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล จํานวนไมนอยกวา 1,000 คน

1.5.4.9 จัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพรอมใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

หนวยงานที่เกี่ยวของทั่วประเทศ โดยใชวิธีประชุมทางไกล

1.5.4.10 จัดทําคูมือ และ e – Learning เกี่ยวกับระบบใหมที่สามารถใชงานทางเวบ็ไซตของ

สํานักงาน ก.ถ.

1.5.5 จัดทํารายงานฉบับสมบูรณ และรายงานสรุปสําหรับผูบริหาร ประกอบดวยเนื้อหาสาระ

ที่ครบถวนตามขอบเขตการศึกษา และไดรับการปรับแกตามความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบผลงาน

ทางวิชาการเรียบรอยแลว ทั้งนี้จะดําเนินการจัดประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอผลการศึกษา และรับฟงความ

คิดเห็นจากผูเกี่ยวของ กอนนําสงรายงานฉบับสมบูรณ

1.6 ระยะเวลาดําเนินการ กําหนดระยะเวลาในการศึกษา และสงมอบผลการศึกษาใหแลวเสร็จ ภายใน 365 วัน นับแต

วันลงนามในสัญญา

Page 12: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 8

1.7 แผนการดําเนินงาน

ตารางที่ 1 แสดงแผนการดําเนินงาน

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

1. การจัดทํารายงานการศึกษาเบื้องตน IR

- เริ่มเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ อัตรากําลังคน

โครงสรางองคกร ของทุกหนวยงานใน อปท.

รวมทั้ งการจําแนกตําแหนง ระบบบริหาร

ทรัพยากรบุคคล และคาตอบแทนปจจุบันเพื่อ

ประกอบการวิเคราะห

- เริ่มศึกษา โครงสรางองคกรและโครงสราง

ตําแหน งของสํานักงาน ก .ถ .และขอ มูลที่

เกี่ยวของ

- จั ดทํ ากรอบแนวคิ ดและหลั กการ ในการ

ดําเนินงานวิเคราะหในขั้นตอนสําคัญ ๆ เชน

การประเมินคางาน การกําหนดคาตอบแทน

การจัดทําตนแบบสมรรถนะ

- จัดทําแผนการดําเนินการ ระยะเวลา ตั้งแต

เริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการ

- รายงานการศึกษาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่โครงสรางการจัดองคการ การจัดอัตรากําลัง ระบบจําแนก

ตําแหนงและคาตอบแทน รวมถึงระบบการบริหาร

ทรัพยากรบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

และขอมูลอื่น ๆ

- กรอบแนวคิดและหลักการในการดํา เนินงานวิเคราะห

- แผนการดําเนินงาน ระยะเวลา และผลผลิตของ

โครงการ ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการ

Page 13: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 9

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

2. การจัดทํารายงานความกาวหนาครั้งที่ 1

- ศึกษามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่ใชในปจจุบัน - กําหนดจํานวนตําแหนงงานทั้งหมดที่จะสุม

ตัวอยาง

- จัดประชุมสัมมนาเชิ งปฏิบัติการเรื่ องการ

วิเคราะหงานและขอมูลเชิงสมรรถนะจํานวน 5

ครั้ง และใหผูแทนของตําแหนงงานเขียนแบบ

บรรยายลักษณะงาน (Job Description) ของ

ตนเอง โดยที่ปรึกษาเปนผูตรวจสอบคุณภาพ

- ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนใน

ปจจุบันและสภาพปญหา

- ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

ของขาราชการประเภทอื่น , ภาคเอกชน และ

ของสากล

- ประชุมคณะทํางานเพื่อนํ า เสนอเรื่ องการ

ประเมินคางานตามแนวคิดของ CSC Guide

Chart และการปรับระดับตําแหนงใหสูงขึ้นแก

คณะทํางานและผูบริหารของสํานักงาน ก.ถ.

- จัดทําโครงสรางชั้นงานใหม

- รายงานการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

- รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่ ใชใน

ปจจุบันและสภาพปญหา

- รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น

- รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของภาคเอกชนในประเทศไทย

- รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ใชอยูในสากล

- รายงานการสํารวจขอมูลและวิเคราะหงาน

- รายงานการประเมินคางานและจัดทําโครงสรางระดับชั้นงาน

- จัดตั้งศูนยประชาสัมพันธผลการดําเนินงานของโครงการ

PR1

Page 14: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 10

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

3. การจัดทํารายงานความกาวหนาครั้งที่ 2

- วิเคราะหขอมูลสมรรถนะที่ไดจากการสัมมนาที่

จัดเมื่อรายงานความกาวหนาครั้งที่ 1 และ

พัฒนาตนแบบสมรรถนะ (Competency

Model) ซึ่งจะแสดงความสามารถเฉพาะของ

ทุกตําแหนงงาน

- พัฒนาพจนานุกรมสมรรถนะ อันมีคําจํากัด

ความประจําสมรรถนะรายการตางๆ และการ

กําหนดระดับชั้นของสมรรถนะรายการตางๆ

- จัดทํารางมาตรฐานกําหนดตําแหนงใหมตาม

สายงานและโครงสรางตําแหนง

- นําสมรรถนะที่จัดทําขึ้นไปรวมกับรางมาตรฐาน

กําหนดตําแหน งงาน พรอมกําหนดระดับ

สมรรถนะที่ตองการในแตละประเภท และระดับ

ตําแหนง

- การจัดทํากรอบแนวทางในการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่จะเสนอใหมีการปรับปรุง

- การจัดทําตนแบบสมรรถนะ (Competency Model)

สําหรับขาราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่น

- การจัดทํารางพจนานุกรมสมรรถนะ

PR2

Page 15: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 11

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

4. การจัดทํารางรายงานฉบับสมบูรณ

- จัดทําโครงสรางตําแหนงขาราชการองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นที่ เปนผลมาจากการ

ตัดสินใจเลือกกรอบแนวทางในการจัดทํา

โครงสรางตําแหนง

- ดําเนินการสรุปการจัดทําโครงสรางตําแหนง

ขาราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปนผล

มาจากการตัดสินใจเลือกกรอบแนวทางในการ

จัดทําโครงสรางตําแหนง

- จัดสัมมนารวมกับตัวแทนของแตละสายงาน

จํานวน 2 ครั้ ง เพื่อตรวจสอบและปรับแก

มาตรฐานกําหนดตําแหนงใหมที่จัดทําขึ้น

- จัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหม และการบัญชี

ตําแหนงเปรียบเทียบจากบัญชีตําแหนงปจจุบัน

เพื่อปรับเขาสูบัญชีตําแหนงระบบใหม

- ดําเนินการวางระบบความกาวหนาในเสนทาง

สายอาชีพ (Career Planning)

- ศึกษาหลักเกณฑและพัฒนาหลักเกณฑและ

วิธีการประเมินสมรรถนะ

- รายงานการจัดทําโครงสรางตําแหนงขาราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่น

- รายงานสรุปการจําแนกกลุมประเภทตําแหนง การกําหนดระดับตําแหน งในแตละกลุมประเภท

ตําแหนง และการจัดทําคําอธิบายกลุมประเภท

ตําแหนง

- รายงานการจัดทําโครงสรางบัญชีอัตราเงินเดือนที่สอดคลองกับโครงสร างตําแหน งจัดทําบัญชี

ตําแหนงระบบใหม

- รายงานการจัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหมและการจัดทําบัญชีตําแหนงเปรียบเทียบจากบัญชีตําแหนง

ปจจุบันเพื่อปรับเขาสูบัญชีตําแหนงระบบใหม

- รายงานการจัดทําขอเสนอในการจัดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพสําหรับตําแหนงตางๆ

ตามระบบใหม

- รายงานการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่ปรับปรุงแลว โดยการจัดทําตนรางมาตรฐานกําหนด

ตําแหนงทุกตําแหนง

DFR

Page 16: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 12

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

- ศึกษาในหลักเกณฑและแนวทางการบริหาร

ผลงาน (Performance Management)

- ศึกษาแนวทางและมาตรการเตรียมความพรอม

รองรับระบบใหม

- จัดทําแผนปฏิบัติการรองรับการนําระบบใหมมาใช

- จัดทําคูมือ และ e – Learning เกี่ยวกับระบบ

ใหมที่สามารถใชงานทางเว็บไซตของสนง. ก.ถ.

- จัดประชุมและฝกอบรมเตรียมความพรอมแก

เจาหนาที่สนง. ก.ถ. และผูที่เกี่ยวของอยางนอย

1,000 คน ทั้งในระดับผูบริหารและเจาหนาที่

จํานวน 3 หลักสูตร ไดแก

ก) หลักสูตรผูบริหารระดับสูง จํานวน

อยางนอย 100 คน

ข) หลักสูตรหัวหนาหนวยงานที่เกี่ยวของกับ

การบริหารงานบุคคล จํานวนอยางนอย 200 คน

ค) หลักสูตรเจาหนาที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคล จํานวนอยางนอย 700 คน

- จัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพรอมใหแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั่วประเทศโดยวิธี

ประชุมทางไกล

- รายงานการจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการประเมินสมรรถนะ

- รายงานการจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการนําระบบการบริหารผลงานมาใช ในการบริหาร

ทรัพยากรบุคคล

- รายงานการจัดทําแผนเพื่อการนําระบบใหมมาใช - จัดทําคูมือ และ e – Learning เกี่ยวกับระบบใหม

- รายงานสรุปผลการผลการจัดประชุมและฝกอบรมการเตรียมความพรอมเจาหนาที่สนง. ก.ถ. และผูที่

เกี่ยวของ และรายงานสรุปผลการจัดประชุมชี้แจง

เพื่ อ เตรียมความพรอมใหแกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นทั่วประเทศโดยวิธีประชุมทางไกล

Page 17: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 13

เดือน กิจกรรม งานทีส่งมอบ

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.

5. การจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ

- จัดประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอผลการศึกษา

และ รับฟ ง ค ว ามคิ ด เ ห็ น จ ากผู เ กี่ ย ว ข อ ง

กอนนําสงรายงานฉบับสมบูรณ

- จัดทํารายงานฉบับสมบูรณ และรายงานสรุป

สําหรับผูบริหาร ประกอบดวยเนื้อหาสาระ

ที่ครบถวนตามขอบเขตการศึกษา และไดรับ

การปรับแกตามความเห็นของคณะกรรมการ

ตรวจสอบผลงานทางวิชาการเรียบรอยแลว

- รายงานสรุปผลการจัดประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอ

ผลการศึ กษา และรับฟ งความคิด เห็ นจาก

ผูเกี่ยวของ กอนนําสงรายงานฉบับสมบูรณ - รายงานฉบับสมบูรณ พรอมรายงานสรุปสําหรับผูบริหาร จํานวน 200 ชุด และแผน CD ซึ่งบรรจุ

เนื้อหารายงานฉบับสมบูรณและรายงานสรุปสําหรับ

ผูบริหาร จํานวน 200 ชุด

FR

Page 18: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 14

1.8 ผลผลิตของโครงการ ที่ปรึกษาจะนําเสนอผลการศึกษา โดยจัดทําเปนรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบผลงานทาง

วิชาการ ดังนี้

1.8.1 รายงานขั้นตน (Inception Report) จํานวน 30 ชุด ภายใน 60 วัน นับจากวันลงนาม

ในสัญญา โดยมีเนื้อหาประกอบดวย

1.8.1.1 รายงานการศึกษาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่โครงสรางการจัดองคการ การจัดอัตรากําลัง

ระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน รวมถึงระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลขององคกรปกครอง

สวนทองถิ่น และขอมูลอ่ืน ๆ ที่จําเปนตอการวิเคราะห

1.8.1.2 กรอบแนวคิดและหลักการในการดําเนินงานวิเคราะหในขั้นตอนสําคัญ ๆ อาทิ

การประเมินคางาน การกําหนดคาตอบแทน การจัดทําตนแบบสมรรถนะ

1.8.1.3 แผนการดําเนินงาน ระยะเวลา และผลผลิตของโครงการ ต้ังแตเร่ิมตนจนสิ้นสุด

โครงการ

1.8.2 รายงานความกาวหนาฉบับที่ 1 (Progress Report 1) จํานวน 30 ชุด ภายใน 180 วัน

นับจากวันลงนามในสัญญา โดยมีเนื้อหาประกอบดวย

1.8.2.1 รายงานการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน 1.8.2.2 รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

ที่ใชในปจจุบันและสภาพปญหา 1.8.2.3 รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น 1.8.2.4 รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของภาคเอกชนในประเทศไทย 1.8.2.5 รายงานการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ใชอยูในสากล 1.8.2.6 รายงานการสํารวจขอมูลและวิเคราะหงาน 1.8.2.7 งานการประเมินคางานและจัดทําโครงสรางระดับชั้นงาน 1.8.2.8 ต้ังศูนยประชาสัมพันธผลการดําเนินงานของโครงการ

1.8.3 รายงานความกาวหนาฉบับที่ 2 (Progress Report 2) จํานวน 30 ชุด ภายใน 240 วัน

นับจากวันลงนามในสัญญา โดยมีเนื้อหาประกอบดวย

1.8.3.1 การจัดทํากรอบแนวทางในการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่จะเสนอใหมี

การปรับปรุง

1.8.3.2 การจัดทําตนแบบสมรรถนะ (Competency Model) สําหรับขาราชการองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น

1.8.3.3 การจัดทํารางพจนานุกรมสมรรถนะ

Page 19: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 15

1.8.4 รางรายงานฉบับสมบูรณ (Draft final Report) จํานวน 30 ชุด ภายใน 320 วัน นับจากวัน

ลงนามในสัญญา โดยมีเนื้อหาประกอบดวย

1.8.4.1 รายงานการจัดทําโครงสรางตําแหนงขาราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่น

1.8.4.2 รายงานสรุปการจําแนกกลุมประเภทตําแหนง การกําหนดระดับตําแหนงในแตละกลุมประเภทตําแหนง และการจัดทําคําอธิบายกลุมประเภทตําแหนง

1.8.4.3 รายงานการจัดทําโครงสรางบัญชีอัตราเงินเดือนที่สอดคลองกับโครงสรางตําแหนงจัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหม

1.8.4.4 รายงานการจัดทําบัญชีตําแหนงระบบใหมและจัดทําบัญชีตําแหนงเปรียบเทียบ

จากบัญชีตําแหนงปจจุบันเพื่อปรับเขาสูบัญชีตําแหนงระบบใหม

1.8.4.5 รายงานการจัดทําขอเสนอในการจัดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพสําหรับตําแหนงตางๆ ตามระบบใหม

1.8.4.6 รายงานการจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงที่ปรับปรุงแลว โดยการจัดทําตนราง

มาตรฐานกําหนดตําแหนงทุกตําแหนง

1.8.4.7 รายงานการจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการประเมินสมรรถนะ

1.8.4.8 รายงานการจัดทําหลักเกณฑและแนวทางในการนําระบบการบริหารผลงานมาใช ในการบริหารทรัพยากรบุคคล

1.8.4.9 รายงานการจัดทําแผนเพื่อการนําระบบใหมมาใช 1.8.4.10 จัดทําคูมือ และ e – Learning เกี่ยวกับระบบใหม

1.8.4.11 รายงานสรุปผลการผลการจัดประชุมและฝกอบรมการเตรียมความพรอมเจาหนาที่สํานักงาน ก.ถ. และผูที่เกี่ยวของ และรายงานสรุปผลการจัดประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพรอมใหแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั่วประเทศโดยวิธีประชุมทางไกล

1.8.5 รายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) พรอมรายงานสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive

Summary) จํานวน 200 ชุด พรอมแผน CD ซึ่งบรรจุเนื้อหารายงานฉบับสมบูรณและรายงานสรุปสําหรับ

ผูบริหาร จํานวน 200 ชุด ภายใน 365 วัน นับจากวันลงนามในสัญญา รวมทั้งรายงานสรุปผลการจัด

ประชุมสัมมนาเพื่อนําเสนอผลการศึกษา และรับฟงความคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ กอนนําสงรายงาน

ฉบับสมบูรณ

Page 20: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 16

บทที่ 2

กรอบการดําเนินงาน

การบริหารงานบุคคลของขาราชการสวนทองถิ่นโดยเฉพาะเรื่องการจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

ของขาราชการในปจจุบันไดใชตามระบบของขาราชการพลเรือน โดยเปนระเบียบกอนที่ขาราชการพลเรือน

จะเปลี่ยนมาใชตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ดังนั้นปจจุบันระบบการจําแนก

ตําแหนงและคาตอบแทนระหวางขาราชการพลเรือนและขาราชการสวนทองถิ่นจึงแตกตางกัน แนวคิด

การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นไดเกิดเปนรูปธรรมหลังจาก

สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (สํานักงาน ก.ถ.) ไดใหสถาบัน

ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.) ไดทําการศึกษาวิจัย เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนก

ตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น ทั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพปญหาของระบบจาํแนกตาํแหนง

และคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นในปจจุบัน และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของขาราชการ

สวนทองถิ่นและผูที่เกี่ยวของในงานทองถิ่น เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน

ของขาราชการสวนทองถิ่นในอนาคต

หลังจากการศึกษาวิจัยของ สปร. ในระยะแรกเสร็จส้ิน สํานักงาน ก.ถ.ไดมอบหมายให สปร.

ดําเนินการศึกษาวิจัยเรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

(ระยะที่ 2) ซึ่งเปนการศึกษาตอเนื่องโดยมีวัตถุประสงคที่จะหารูปแบบโครงสรางของระบบจําแนกตําแหนง

และคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่เหมาะสม โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้อยูบนพื้นฐานของ

ความจําเปนในการพัฒนาองคกร ปรากฏตามกรอบการดําเนินงาน ดังภาพที่ 1

Page 21: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 17

ภาพที่ 1 แสดงกรอบการดาํเนนิงาน

2.1 ผลการศึกษาเรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น ระยะแรก

2.1.1 สภาพปญหาของการจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการทองถิ่นในปจจุบัน

• อัตรากําลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในหลายพื้นที่เกินปริมาณงานที่มีอยูจริงจึงทําให

เกิดผลเสียตอการใชงบประมาณในการจายคาจาง

• ในเร่ืองการจําแนกตําแหนงซึ่งปจจุบันยังใชตามระบบของขาราชการพลเรือน (ระบบเกา)

อยู ซึ่งระบบนี้แมจะเอื้อใหขาราชการสวนทองถิ่นมีโอกาสไดเลื่อนตําแหนง กาวหนา และเลื่อนขั้นเงินเดือน

ไดเร็ว แตการใหอํานาจผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนคนพิจารณาความดีความชอบทําใหเกิด

ชองวางในเรื่องคุณธรรม

ผลการศึกษาเรื่องการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะแรก) สภาพปญหาของการบริหารงานทองถิ่นในปจจุบัน ตองการมีมาตรฐานงาน

=

ความตองการปฏิรูประบบความตองการปฏิรูประบบ

คุณธรรมจริยธรรม โครงสรางองคกรการบริหารจัดการไมสมดุล

บุคคลากรขาดศักยภาพ

หลักบริหารผลการปฏิบัติงาน

หลักสมรรถนะ

หลักประเมิน คางาน

กรอบการดําเนินงาน

ศึกษาหารูปแบบที่เหมาะสม

จากหนวยงาน่

จากสภาพปจจุบันขององคกร

จากความตองการของผูที่มีสวนเกี่ยวของ

แกปญหา

Page 22: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 18

2.1.2 ผลการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการและการสัมภาษณเชิงลึก ประกอบดวยประเด็นตาง ๆ ดังนี้

(1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นในปจจุบัน

(2) ความเปนไปไดในการนําระบบขาราชการพลเรือนใหมมาใชกับองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น

(3) การกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรการวางแผนกําลังคนขององคกรปกครอง

สวนทองถิ่นที่พึงปราถนา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นในปจจุบัน

- คณะกรรมการบริหารงานบุคคลทองถิ่นมีหลายระดับมีจํานวนมาก มีมาตรฐานแตกตาง

กัน ขาดเอกภาพองคประกอบ ในการใหอํานาจคณะกรรมการในระดับจังหวัดยังไมเหมาะสม เพราะขาด

การถวงดุลอํานาจของแตละสวน

- สํานักงาน ก.ถ. ควรเปนอิสระและเจาหนาที่ควรเปนขาราชการทองถิ่น ขณะเดียวกันการ

ที่มีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเปนสํานักงานเลขานุการของ ก.กลาง และ ก.จังหวัด แสดงถึงแนวโนม

ทางการใชอํานาจของสวนกลาง

- นักการเมืองทองถิ่นที่เปนผูบริหารมักขาดมาตรฐานจริยธรรม ขาดคุณธรรมและขาด

ความเปนธรรม

- ทั้งผูบริหารและปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ขาดอํานาจที่แทจริงในการบริหาร

ทรัพยากรบุคคล เพราะอํานาจไปอยูที่ ก.จังหวัด

- อาจเกิดปญหาทุจริตในการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งบางอยางเกิดจากระเบียบของ

กระทรวงมหาดไทยเอง

- องคประกอบของผูดํารงตําแหนงในคณะกรรมการพนักงานสวนทองถิ่นไมเหมาะสม

เชน ตําแหนง ประธาน ก.จังหวัด ควรเปนผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งจะมีความเปนกลางมากกวา

- ความเปนอิสระจากสํานักงาน ก.ถ. มีนอยเพราะเปนสวนหนึ่งของระบบราชการและ

ผูที่ปฏิบัติงานก็ไมไดเปนบุคลากรของทองถิ่น ไมเขาใจในเรื่องระบบการบริหารงานบุคคลของทองถิ่น

ควรกําหนดใหเปนองคกรอิสระ

- ผูยกรางกฎหมายการบริหารงานบุคคลทองถิ่นมักไมใชผูที่ไดรับผลกระทบจาก

กฎหมาย แตผูบริหารงานบุคคลเปนผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติ

- ระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นยังขาดการมีสวนรวมของประชาชน ทําให

ขาดองคกรหรือกลุมที่จะถวงดุลอํานาจหรือการตรวจสอบเพื่อใหเกิดความเปนธรรม

Page 23: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 19

(2) ความเปนไปไดในการนําระบบขาราชการพลเรือนใหมมาใชกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

มีความเปนไปไดแตอาจตองใชเวลาในการพัฒนาระบบ ปญหาที่ขาราชการทองถิ่น

เกรงมากคือ อาจมีรายไดลดลง เพราะไมไดคาตําแหนง

แตหากองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองการปรับเปลี่ยนระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น โดยยึดตามแนวทางของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ

พลเรือน พ.ศ. 2551 นั้น ซึ่งสิ่งที่ตองพิจารณาในหลายดาน คือ

- กอนที่จะมีการปรับเปลี่ยนระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนใหมองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นตองศึกษาโครงสรางตนเองกอนวาเปนอยางไร และควรพัฒนาไปในแนวทางไหน

- ถาองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองการเปลี่ยนระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนของตนเองใหม ควรศึกษาระบบแนวทางหลายๆ แนวทางนอกเหนือจากพระราชบัญญัติ

ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 จากนั้นจึงดูวารูปแบบใดมีความเหมาะสมกับองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นมากที่สุด

- องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรมีแนวทางการปรับเปล่ียนระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนของตนเองใหมีลักษณะเฉพาะเปนของตนเองเพราะการทํางานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ยอมจะแตกตางกับงานของขาราชการพลเรือน

- ในเรื่องการโอนยายระหวางขาราชการพลเรือนและขาราชการทองถิ่นไมควรที่จะ

เกิดขึ้นเพราะโครงสรางของระบบแตกตางกัน แตถามีการปรับเปลี่ยนจริงก็ควรจะมีมาตรฐานการพิจารณา

ที่ชัดเจน โดยมีปจจัยพิจารณา เชน ความรู ความสามารถ สมรรถนะ ประสบการณ และผลงานที่ผานมา

เปนตน

- ทองถิ่นมีอํานาจในการปกครองตนเอง ในสวนหนึ่งดังนั้นควรมีการศึกษาถึงความ

จําเปนที่ตองมีขาราชการประจําสวนทองถิ่น อยางเชนตําแหนงปลัด ควรเปนตําแหนงขาราชการการเมือง

หรือขาราชการประจํา เพราะในการทํางานปจจุบันเมื่อเกิดความขัดแยงระหวางนายกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น นั้นๆ กับปลัด ผลคือ นโยบาย และงานตางๆ เกิดความลาชา ในเมื่อนโยบายการกระจาย

อํานาจของรัฐบาลตองการใหทองถิ่นไดดูแลตนเอง จึงคงมีนโยบายสอดคลองกันที่จะใหนายกองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นไดมีสิทธิ์คัดเลือกคนมาทําหนาที่นี้แทน ซึ่งก็จะไดคนที่มีความรูความสามารถ และเปน

มืออาชีพอยางแทจริง ในสวนของการกําหนดคาตอบแทนจึงขึ้นอยูกับรายไดขององคกรปกครอง

สวนทองถิ่น วามีรายไดรับจริงเทาไร (ไมรวมเงินอุดหนุน) ถามีรายไดมากก็สามารถจายคาตอบแทน

ในอัตราที่สูงได

- สําหรับระบบการจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนใหมนี้ในสวนของ ก.พ. ยังไม

ชัดเจนในการกําหนดการเลื่อนไหลของตําแหนงและสายงาน รวมทั้งกฎระเบียบตาง ๆ ก็ไมชัดเจน ฉะนั้น

Page 24: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 20

การนํามาใชในระบบการบริหารงานบุคคลของทองถิ่น ควรดูการประเมินผลการดําเนินงานของ ก.พ.กอน

เนื่องจากมีความเปนอิสระกันและระบบแตกตางกันมาก หากมีปญหาจะไดแกไขไดทันในภายหลัง

- การมีองคกรพิทักษคุณธรรมจะชวยถวงดุล และตรวจสอบการใชอํานาจที่ไมเปนธรรม

มากขึ้น

- การประเมินผลงานในปจจุบันใชไมไดผล การนําระบบใหมมาใชตองใหผูบังคับบัญชา

มีความกลาหาญในการนําระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานมาใชอยางจริงจัง

- ระบบจําแนกตําแหนงใหม จะตองทําใหขาราชการทองถิ่นมีความมั่นใจวา มีศักดิ์ศรี

มีเงิน มีตําแหนง อยูไดอยางสงางาม และระบบจําแนกตําแหนงใหมจะตองใกลเคียงกับเอกชน (3) การกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรกําลังคนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ที่พึงประสงค

- ควรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถกําหนดแนวทางของตนเองได

โดยคณะกรรมการขาราชการทองถิ่นกําหนดกรอบการดําเนินงานอยางกวางๆ ไว

- ในการบริหารงานบุคคลทองถิ่นควรใหอํานาจหนาที่ คณะกรรมการขาราชการ

ทองถิ่น ดูแลเพียงชุดเดียว - ควรมีการกําหนด และสรางมาตรฐานขาราชการสวนทองถิ่น

2.1.3 สภาพปญหาของระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

• การบริหารแบบคณะกรรมการหลายชุดทําใหเกิดความซ้ําซอน

• การบริหารแบบคณะกรรมการหลายชุดทําใหเกิดความลาชา

• การสรรหา และแตงตั้งบุคลากรซึ่งเปนอํานาจของ ก.จังหวัด มีชองวางเรื่อง การทุจริตใน

การสอบ ความไมเปนกลาง และขอสอบคัดเลือกก็ยังไมมีมาตรฐานที่แนนอน

• การโอนยายหรือการยืมตัว มีสวนหนึ่งเพื่อสนองความตองการจากการเมือง

• การประเมินผลการทดลองปฏิบัติราชการสวนทองถิ่นยังไมมีมาตรฐานกลาง • วินัย อุทธรณและการลงโทษ มีชองวาง คือ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นมักใช

อํานาจโดยขาดความยุติธรรม 2.1.4 ความเปนไปไดในการนําระบบขาราชการพลเรือนใหมมาใชกับระบบบริหารทรัพยากร

บุคคลสวนทองถิ่น

• มีความเปนไปไดในการนําระบบการจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาปรับใชกับระบบการบริหารงานบุคคลของขาราชการสวนทองถิ่น

โดยมีความตองการใหขาราชการสวนทองถิ่นกับขาราชการพลเรือนมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อจะทําให

ขาราชการทั้งสองระบบสามารถโอนยายระหวางกันได

Page 25: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 21

• ระบบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลทองถิ่น ควรลดบทบาทลงโดยการปรับลดจํานวน

คณะกรรรมการระดับตางๆ ใหเหมาะสมกะทัดรัดโดยใหมีคณะกรรมการพิทักษคุณธรรมเปนผูดูแลเรื่อง

จรรยา 2.1.5 ขอควรตระหนักในการนําระบบขาราชการพลเรือนใหมมาใชกับระบบบริหาร

ทรัพยากรบุคคลสวนทองถิ่น

• ระบบคาตอบแทนและการเลื่อนขั้นเงินเดือน

• การมีคุณธรรมและจริยธรรมในกระบวนการบริหารบุคลากรสวนทองถิ่น

• ระบบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นทั่วไป

• ระบบตําแหนงและการเลื่อนตําแหนง • ความแตกตางของแตละทองถิ่น

ทั้งนี้ เพราะในการปฏิบัติงานของขาราชการสวนทองถิ่น จําเปนตองมีระบบเงินเดือน

คาตอบแทนที่เหมาะสมชัดเจน ผูบริหารจึงควรมีหลักคุณธรรมและธรรมาภิบาล มีความรูความสามารถ

ในการบริหารจัดการ ทองถิ่นของตนเอง 2.1.6 ขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษาวิจยั

• ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเปนไปไดที่จะมีมาตรฐานอยางเดียวกัน

เห็นวาเปนไปไดที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกรูปแบบจะมีมาตรฐานจําแนกตําแหนง

อยางเดียวกัน และเห็นวามีความเปนไปไดที่โครงสรางคาตอบแทนจะเหมือนกัน แมวาองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นจะมีรูปแบบและขนาดแตกตางกัน

• ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเปนไปไดของการปรับปรุงระบบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลทองถิ่น

- มีความเปนไปไดที่จะปรับลดจํานวนคณะกรรมการบริหารงานบุคคลทองถิ่นในระดับ

ตาง ๆ ใหมีจํานวนเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน

- ควรจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษคุณธรรม เพื่อสรางความสมดุลระหวางคุณธรรม จรรยา

มาตรฐาน คุณภาพและความเปนอิสระ

• ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเปนไปไดของการนําระบบจําแนกตําแหนงมาใช - มีความเปนไปไดที่ ก.ถ. จะกระจายอํานาจไปให อ.ก.ถ.จังหวัด

- มีความเปนไปไดในการจําแนกตําแหนงเปน 4 ประเภทตําแหนงมาใชกับองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นโดยแตละประเภทมี 2-5 ระดับ ตามจํานวนและโครงสรางงาน

- มีความเปนไปไดที่จะนําการประเมินคางาน การกําหนดมาตรฐานการกําหนดตําแหนง

และการลดจํานวนสายงานมาใชกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 26: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 22

- มีความเปนไปไดในการนําระบบบัญชี เงินเดือนแบบกําหนดตามประเภทตําแหนง มาใชกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามโครงสรางใหมของ ก.พ.

- มีความเปนไปไดที่จะนําวิธีการกําหนดเสนทางความกาวหนาในอาชีพ โดยมีแผนการ

พัฒนารายบุคคลมาใชในองคกรปกครองสวนทองถิ่น

- มีความเปนไปไดที่จะนําจรรยา วินัย การดําเนินการทางวินัย การลงโทษและ

การอุทธรณแบบใหมมาใช

- มีเปนไปไดของการปรับปรุงระเบียบกฎเกณฑ ข้ันตอนตาง ๆ ในกรอบการบริหาร

บุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนแบบใหม

- มีความเปนไปไดที่จะนําระบบขาราชการพลเรือนใหมตามแนวทางของ ก.พ. มาใชกับ

การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

2.2 กรอบแนวคิดในการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการ

สวนทองถิ่น(ระยะที่ 2) คณะที่ปรึกษาไดใหความสําคัญในหลักการ ดังนี้

1. หลักความรูความสามารถ โดยคํานงึถึงปริมาณงานกับความเหมาะสมในตําแหนงหนาที ่

2. หลักคุณธรรม โดยคํานงึถงึจริยธรรม ความยุติธรรมและและความเสมอภาค

3. หลักผลงาน โดยใชวิธีประเมินผลการปฏิบัติงานเปนตัวกําหนดในการใหความดีความชอบและ

การลงโทษ

4. หลักกระจายอํานาจ เพื่อสรางความเขมแข็งและความมีอิสระในการบริหารงานขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่น

5. หลักความสมดุล โดยคํานึงถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของคนทํางานและผลการปฏิบัติงานที่ออกมา

อยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล

Page 27: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 23

หลักสมดุล

หลักกระจายอํานาจ

หลักผลงาน

หลักความรูความสามารถ

หลักคุณธรรม

การปฏิรูปโครงสรางขาราชการสวนทองถิ่น

การปฏิรูปโครงสรางขาราชการสวนทองถิ่น

ภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดการปฏิรูปโครงสรางระบบจําแนกตาํแหนงและคาตอบแทนของขาราชการ

สวนทองถิ่น

แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารแบบธรรมาภิบาล

ธรรมาภิบาล (Good Governance) เปนหลักการบริหารจัดการราชการของประเทศไทย

แบบใหม โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาประเทศนี้ไปสูความมั่นคง ความสงบ-สันติสุข หลักธรรมาภิบาล ต้ังอยู

บนรากฐานของความถูกตอง ดีงาม มั่นคง หรือธรรมาธิปไตย ที่มุงใหประชาชนทุกภาคสวนไดเขามา

มีสวนรวมในการคิด การบริหารจัดการพื้นที่ของตนเอง ดังนั้นแนวความคิดเกี่ยวกับ Government

จึงเปลี่ยนไปกลายมาเปน Governance โดยที่ทุกภาคสวนจะตองเขามามีสวนรวม กลาวคือ

• ภาครัฐ ตองเปนผูเร่ิมกระบวนการ โดยการสรางความโปรงใส ซื่อตรง เปนธรรม

มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเปนผูใหบริการของรัฐที่มีคุณภาพไปสูประชาชนทุกคนอยางเปนธรรม

• ภาคธุรกิจเอกชน ตองยึดถือความซื่อสัตย เปนธรรมตอลูกคา ความรับผิดชอบตอสังคม

และใหบริการที่มีมาตรฐาน

• ภาคประชาชน ตองสรางจิตสํานึกสาธารณะ รูถึงสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบ

ตอตนเองและสังคม และการเมือง

Page 28: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 24

องคประกอบของหลักธรรมาภิบาล ที่สําคัญมีอยู 6 ประการ ดังนี้

1) หลักนิติธรรม หรือ หลักนิติรัฐ เปนหลักที่มีความมุงหมายที่จะคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

ของประชาชนจากการใชอํานาจรัฐ โดยรัฐตองตรากฎหมาย กฎ ระเบียบขอบังคับใหทันสมัย เปนธรรม

และเปนที่ยอมรับของสังคม

2) หลักคุณธรรม คือ การยึดมั่นในความถูกตองดีงาม มีคานิยมที่ดีงามที่ควรถือเปนหลัก

ในการปฏิบัติ ไดแก ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ ขยันความอดทน หมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย

เคารพสิทธิของผูอ่ืน

3) หลักความโปรงใส คือ การเปดเผยขอมูลขาวสารอยางตรงไปตรงมา และสามารถ

ตรวจสอบความถูกตองได นอกจากนี้ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก มีกระบวนการ

ตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพซึ่งจะเปนการสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน อันจะทําให

การทํางานภาครัฐปลอดจากการทุจริตหรือรับผลประโยชนตางตอบแทน

4) หลักความมีสวนรวม คือ การใหประชาชนไดมีสวนรวมในการรับรู และรวมเสนอ

ความเห็นตลอดจนการตัดสินใจในเรื่องสําคัญ โดยเปดชองทางโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม

กิจกรรมกับภาครัฐในระดับตางๆ ไดแก การแจงความเห็น การไตสวนสาธารณะ การประชาพิจารณ

การแสดงประชามติ ฯลฯ

5) หลักความรับผิดชอบ ผูบริหารและขาราชการผูปฏิบัติงานตองมุงมั่นปฏิบัติงานตาม

หนาที่ของตนเอง โดยมีเปาหมาย คือ การใหบริการแกประชาชนและผูรับบริการ เปนการทํางานเพือ่อํานวย

ความสะดวก นอกจากนี้ยังตองมีความรับผิดชอบตอความบกพรองที่ตนกระทําขึ้น ตลอดจนพรอมที่จะ

ปรับปรุงแกไขงานของตนเองตอไป

6) หลักความคุมคา คือ การใชทรัพยากรที่มีอยูใหกอประโยชนและเกิดความคุมคาสูงสุด

แกสังคมโดยรวม

2.3 แนวทางการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

จากสภาพปญหาของระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นในปจจุบัน ซึ่งสามารถแบงออกเปน

2 ลักษณะ คือ ปญาหาที่เกิดจาการบริหารงานบุคคลซึ่งเปนปญหาจากระบบ และปญหาเรื่องจริยธรรม

ของขาราชการ ผูบริหารของทองถิ่น คณะที่ปรึกษามีแนวทางในการปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและ

คาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นการบริหารงานบุคคลคล โดยนําหลักการในการพัฒนาระบบ

การบริหารงานบุคคลที่สําคัญมาพิจารณา ดังนี้

Page 29: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 25

1. หลักการประเมินคางาน

2. หลักการจัดทําตนแบบสมรรถนะ

3. หลักการบริหารผลการปฏิบัติงาน

4. หลักการกําหนดคาตอบแทน

2.3.1 หลักการประเมินคางาน การประเมินคางานเปนวิธีการจัดลําดับชั้นงาน (Ranking) โดยการดําเนินการอยางเปนระบบ

เพื่อตีคางานไดอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรม โดยนํางานมาวิเคราะหเปรียบเทียบกัน หรือเปรียบเทียบ

ลักษณะงานขนาด และคุณภาพความยุงยากของงานที่เปนอยูปจจุบัน ภายใตองคประกอบหรือปจจัย

การประเมินที่มีระดับการวัด (Scale) ที่กําหนดไวเปนมาตรฐาน เพื่อการกําหนดระดับตําแหนงของงานตางๆ 1) องคประกอบในการประเมินคางาน

การประเมินคางานเปนแนวทางที่ใชสําหรับการพิจารณา หนาที่ความรับผิดชอบ คุณภาพ

และความยุงยากของงานในตําแหนงตางๆ รวมไปถึงการประเมินความรู และประสบการณที่ตองการในการ

ปฏิบัติงานของตําแหนงนั้นๆ โดยกําหนดองคประกอบการประเมินคางานไว 3 ดาน มี 8 องคประกอบยอย

เพื่อการกําหนดระดับตําแหนงไดอยางถูกตองและเปนธรรม ดังนี้

(1) ดานความรูและทักษะที่จําเปนในงาน (Know-How) คือผลรวมของความรู ทักษะ

และประสบการณทุกอยางที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน เพื่อใหไดผลงานในระดับที่เปนที่ยอมรับตามมาตรฐาน

ขององคกร Know-How ประกอบดวยความรู ความชํานาญตาง ๆ ซึ่งเปนพื้นฐานของการทํางานใหสําเร็จ

แบงไดเปน 3 ดานตางๆ ดังนี้

• องคประกอบที่ 1 ความรอบรูและชํานาญงาน เปนการวัดความรูในขั้นตอน

การปฏิบัติขององคกร ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และความเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพตางๆ (Technical

Know How))

• องคประกอบที่ 2 การบริหารการจัดการ เปนการวัดความรูในการบริหาร

จัดการงานตางๆ ที่มีความหลากหลายในเรื่องวัตถุประสงคของงานเขาไวดวยกัน ความรูในดานนี้สามารถ

นํามาใชในตั้งแตการใหคําแนะนํา ปรึกษา จนกระทั่งนํามาใชในการสั่งการ ความรูนี้ครอบคลุมการวางแผน

การจัดการ การสั่งการ การควบคุม และการปฏิบัติงานที่สรางสรรคที่อาจจะไมเคยมีการทาํมากอน และนาํเอา

ปจจัยในเรื่องขนาด ความหลากหลายของงานภายในองคกร รวมถึงปจจัยทางดานระยะเวลา มาพิจารณา

ประกอบ (Management Breadth)

• องคประกอบที่ 3 การสื่อสารและปฏิสัมพันธ เปนการวัดทักษะในการทํางาน

รวมกับผูอ่ืนหรือทักษะในการโนมนาวใหผูอ่ืนทํางานใหตน ทั้งภายในหรือภายนอกองคกร (Human Relations

Skills)

Page 30: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 26

(2) ดานการคิดและการตัดสินใจแกไขปญหา คือ กระบวนการทางความคิด

ซึ่งจําเปนตองใชในการวิเคราะห การประเมิน การสรางสรรคส่ิงใหมๆ การใหเหตุผล และการหาขอสรุป

อยางไรก็ตาม กรอบความคิดจะถูกจํากัดดวยขอกําหนด และมาตรฐานขององคกร ส่ิงที่ถือปฏิบัติกันมา

กอนแลว หรือขออางอิงอื่นๆ ถาขอจํากัดเหลานี้มีมากขึ้น อิสระและขอบเขตการใชความคิดในการแกไข

ปญหา การแกไขปญหาประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 2 ดาน ดังนี้

• องคประกอบที่ 4 การปฏิบัติงานและการตัดสินใจแกไขปญหา เปนการวัด

อิสระหรือสภาพแวดลอมในการกําหนดแนวทางในการคิดแกไขปญหานั้นๆ เกิดขึ้น (Thinking Environment)

• องคประกอบที่ 5 ความทาทายในความคิดหรือความคิดสรางสรรค เปน

การวัดความยาก และความซับซอนของปญหาที่งานตองเผชิญ (Thinking Challenge)

(3) ดานภาระความรับผิดชอบ คือ ความรับผิดชอบประจําตําแหนงตอการกระทํา และ

ผลลัพธที่ตามมาของการกระทํานั้นๆ อันไดแก บทบาทของตําแหนงตอผลสัมฤทธิ์ ความรับผิดชอบมี

3 ดานดังนี้

• องคประกอบที่ 6 อิสระในการปฏิบัติงาน คือการวัดอํานาจและการควบคุม

บังคับบัญชาหรือชี้นําที่ตองการในตําแหนงดังกลาว

• องคประกอบที่ 7 ขอบเขตผลกระทบของงาน เปนการวัดผลกระทบของงาน

ตอความสําเร็จขององคกรหรือของประเทศหากพิจารณาในบริบทของภาคราชการ

• องคประกอบที่ 8 ขอบเขตความรับผิดชอบ เปนการวัดลักษณะของบทบาท

ในองคกร

โดยการประเมินคางานที่ดีนั้นจะชวยทําใหตําแหนงตางๆ ในภาคราชการสวนทองถิ่น

สามารถเปรียบเทียบไดกับภาคราชการอื่นๆ และตําแหนงในภาคเอกชน โดยกระบวนการที่ใชนั้นจะใช

กระบวนการของสํานักงาน ก.พ. คือ CSC Guide Chart (The Civil Service Commission Guide Charts

Method of Job Evaluation) ซึ่งเปนเครื่องมือที่เที่ยงตรงและไดทดลองใชกับภาคราชการพลเรือนของไทย

จํานวน 60,000 กวาตําแหนง กอนนํามากําหนดเปนโครงสรางระดับชั้นงาน ดังพระราชบัญญัติระเบียบ

ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

Page 31: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 27

พนักงานขาย

ผลการประเมนิ �คาขนาดงาน

KH

PS

AC

TOTAL

DI3 175

D3(29)

C+2S

50

76

301

ACCOUNTABILITY

PROBLEM SOLVING

KNOW-HOW

�ตํ าแหนงงาน:

ภาพที ่3 แสดงตวัอยางผลลัพธการประเมินคางาน

เมื่อไดผลการประเมินคางานแลว ข้ันตอนสําคัญขั้นถัดมา คือ การกําหนดโครงสรางระดับชั้นงาน

และความกวางของแตละระดับชั้นงานโครงสรางระดับชั้นงานที่เกิดขึ้นจะตองเปนโครงสรางที่เกิดจากการ

จัดกลุมอยางสมเหตุสมผล หรืออาจสะทอนกลุมของงานตางๆ ที่มีขนาดใกลเคียงกัน ผลลัพธการประเมิน

คางานเปนหนทางหนึ่งสูการกําหนดโครงสรางระดับชั้นงานที่ยุติธรรม อันจะเปนพื้นฐานการกําหนดโครงสราง

คาตอบแทนในทุกตําแหนงงานตอไป

ระดับ ผูบริหารระดับสูง ฝาย IT ฝายการผลิต ฝายการตลาด ฝายการเงินและ

บัญชี ฝายบุคคล ฝายกฎหมาย

10 CEO GIII3(57)+3 =1708

9

8 ผูอํานวยการฝาย

GII3(50)+3 =1192

7 ผูอํานวยการฝาย

GII3(57)+1 =1028

ผูอํานวยการฝาย FII3 (50)+3

=1040

ผูอํานวยการฝาย GII3(50)+1

=954

ท่ีปรึกษา GII3(50)+1

=954

6 หัวหนา โรงงาน FII3(43)+3=839

หัวหนาสํานัก FII3(50)+1=830

5 หัวหนาวิศวกร

FII3(50)0 =700

หัวหนาสวนการขาย FII3(43)+2

=702

หัวหนาสวนบัญชี FII3(43+10

=677 4

ภาพที่ 4 แสดงตัวอยางผลลัพธทีจ่ะไดรับ

Page 32: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 28

จากกระบวนการดังกลาว ที่ปรึกษาจะไดมาซึ่งผลโครงสรางระดับชั้นงานและการแบงประเภท

ชั้นงานตางๆ ตามลักษณะงานของภาคราชการสวนทองถิ่น

2.3.2 หลักการจัดทําตนแบบสมรรถนะ สมรรถนะ(Competency) หมายถึง ความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะ

ของบุคคล (Attributes) ซึ่งบุคคลจะแสดงออกทางวิธีการคิดและพฤติกรรมในการทํางาน ซึ่งจะสงผลตอ

การปฏิบัติงานของแตละบุคคล วาบุคคลผูนั้นทํางานแลวเกิดประสิทธิภาพอยางไร กอใหเกิดความสําเร็จ

ตามมาตรฐานหรือสูงกวามาตรฐานที่องคการไดกําหนดเอาไว

ปจจุบัน สมรรถนะ ไดเขามามีบทบาทในการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้โดยแนวคิดของ

สมรรถนะไดอธิบายวา คุณลักษณะของบุคคลเปรียบเสมือนภูเขาน้ําแข็งที่ลอยอยูในน้ํา โดยมีสวนหนึ่ง

ที่เปนสวนนอยลอยอยูเหนือน้ําซึ่งสามารถสังเกตและวัดไดงาย ไดแก ความรูสาขาตางๆ ที่ไดเรียนมา

(Knowledge) และสวนของทักษะ ไดแก ความเชี่ยวชาญ ความชํานาญพิเศษดานตางๆ (Skill) สําหรับ

สวนของภูเขาน้ําแข็งที่จมอยูใตน้ําซึ่งเปนสวนที่มีปริมาณมากกวานั้น เปนสวนที่ไมอาจสังเกตไดชัดเจนและ

วัดไดยากกวา และเปนสวนที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคลมากกวา ไดแก บทบาทที่แสดงออกตอสังคม

(Social role) ภาพลักษณของบุคคลที่มีตอตนเอง (Self image) คุณลักษณะสวนบุคคล (Trait) และ

แรงจูงใจหรือแรงผลักดันเบื้องลึก (Motive) สวนที่อยูเหนือน้ําเปนสวนที่มีความสัมพันธกับเชาวนปญญา

ของบุคคล ซึ่งการที่บุคคลมีความฉลาดสามารถเรียนรูองคความรูตางๆ และทักษะไดนั้น ยังไมเพยีงพอทีจ่ะ

ทําใหมีผลการปฏิบัติงานที่โดดเดน จึงจําเปนตองมีแรงผลักดันเบื้องลึก คุณลักษณะสวนบุคคล

ภาพลักษณของบุคคลที่มีตอตนเอง และบทบาทที่แสดงออกตอสังคมอยางเหมาะสมดวย จึงจะทําให

บุคคลกลายเปนผูที่มีผลงานโดดเดนได (ภาพที่ 5)

ดังนั้นการนําสมรรถนะมาปรับใชในการบริหารงานบุคคลจึงเปนการพัฒนาและกระตุน

ศักยภาพบุคคลผูปฏิบัติงานใหแสดงออกมามากที่สุด

Page 33: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 29

ภาพที่ 5 แสดงสมรรถนะของบุคคล

(1) สมรรถนะกับการบริหารบุคคล

สมรรรถนะที่ใชในการบริหารบุคคล เปนการประยุกตโดยนําหลักการของสมรรถนะมา

เขามามีสวนรวมในกระบวนการตางๆ เชน กระบวนการสรรหา กระบวนวางแผนการกาวหนาในอาชีพ

กระบวนการบริหารผลงาน การใหคาตอบแทน เปนตน

การกําหนดตนแบบสมรรถนะ (Competency Model) สําหรับขาราชการ ก็เพื่อ

วัตถุประสงคในการสรางแบบสมรรถนะ (Competency) ใหภาคราชการโดยเฉพาะสําหรับใชในการบริหาร

และประเมินผลงานตลอดจนพัฒนาศักยภาพในระยะยาว ในระบบราชการไทย สํานักงานคณะกรรมการ

ขาราชการพลเรือนไดจัดทําตนแบบสมรรถนะไว 2 สวนหลักๆ เพื่อใหหนวยงานของรัฐนําไปปรับใช คือ

สมรรถนะหลัก (Core Competency) และสมรรถนะประจํากลุมงาน (Functional Competency)

• สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของตําแหนงทุก

ตําแหนง กําหนดขึ้นใหมีคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกัน ประกอบดวยสมรรถนะ 5 ดาน คือ

- การมุงผลสมัฤทธิ ์ (Achievement Motivation)

- การบริการที่ดี (Service Mind)

- การสั่งสมความเชีย่วชาญในงานอาชีพ (Expertise)

- จริยธรรม (Integrity)

- ความรวมแรงรวมใจ (Teamwork)

Page 34: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 30

• สมรรถนะประจํากลุมงาน (Functional Competency) คือ สมรรถนะที่กําหนด

เฉพาะสําหรับแตละกลุมงานเพื่อสนับสนุนใหแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแกหนาที่และสงเสริมใหสามารถปฏิบัติ

ภารกิจในหนาที่ไดดียิ่งขึ้น โดยแตละกลุมงานจะมีสมรรถนะประจํากลุมงาน ๆ ละ 3 ดาน ซึ่งแตละกลุมงาน

สามารถเลือกจากสมรรถนะรวมของกลุมงานที่มีอยู 20 สมรรถนะ ไดแก

- การคิดวิเคราะห (Analytical Thinking)

- การมองภาพองครวม (Conceptual Thinking)

- การพัฒนาศกัยภาพคน (Caring & Development Others)

- การสั่งการตามอํานาจหนาที่ (Holding People Accountable)

- การสืบเสาะหาขอมูล (Information Seeking)

- ความเขาใจขอแตกตางทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity)

- ความเขาใจผูอ่ืน (Interpersonal Understanding)

- ความเขาใจองคกรและระบบราชการ (Organizational Awareness)

- การดําเนินการเชิงรุก (Proactiveness)

- ความถกูตองของงาน (Concern for Order)

- ความมัน่ใจในตัวเอง (Self Confidence)

- ความยืดหยุนผอนปรน (Flexibility)

- ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing)

- สภาวะผูนํา (Leadership)

- สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality)

- วิสัยทัศน (Visioning)

- การวางกลยุทธิ์ภาครัฐ (Strategic Orientation)

- ศักยภาพเพื่อนําการปรับเปลี่ยน (Change Leadership)

- การควบคุมตนเอง (Self Control)

- การใหอํานาจแกผูอ่ืน (Empowering Others)

นอกจากสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจํากลุมงานแลวปจจุบันอาจเพิ่มสมรรถนะอีกหนึ่ง

สมรรถนะ คือ สมรรถนะประจําผูบริหาร (Managerial Competency) โดยสมรรถนะโดยกําหนดใหเปน

สมรรถนะสําหรับผูบริหารหนวยงานที่จําเปนตองมี ซึ่งมีอยู 2 สมรรถนะ คือ มีภาวะผูนําและการมอง

ภาพรวมเชิงกลยุทธ

Page 35: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 31

2.3.3 หลักการบริหารผลการปฏิบัติงาน

การบริหารผลการปฏิบัติงาน เปนกระบวนการในการบริหารทรัพยากรมนุษยแบบบูรณาการ

ที่เชื่อมโยงการวางแผนยุทธศาสตรและเปาหมายเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร โดยมุงเนนใหคน

ในองคกรสามารถปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกับเปาหมายขององคกร เปนการสงเสริมประสิทธิภาพ

ในการทํางานขององคกรที่มุงเนนผลสําเร็จหรือประสิทธิผล ดังนั้นในการทํางานจึงมีความยืดหยุนสูง

ไมยึดติดกับกรอบเนนการคิดสรางสรรควิธีการทํางานใหมีความหลากหลาย คนที่อยูในกระบวนการนี้

จึงมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดซึ่งเปนการสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน

การบริหารผลการปฏิบัติงานประกอบดวย 4 กระบวนการ คือ

1) การวางแผนปฏิบัติงาน

2) การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

3) การติดตามผลการปฏิบัติงาน

4) การประเมินผลการปฏิบัติงาน

ภาพที่ 6 แสดงกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน

วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย

ประด็นยุทธศาสตร

ยุทธศาสตรองคกร

เปาหมายผลการปฏิบัติงานขององคกร • ถายทอดใหแกบุคลากรทุกคนในองคกร

การวางแผนการปฏิบตัิงาน

การติดตามผลการปฏิบตัิงาน

การพัฒนาผลการปฏิบตัิงาน การประเมินผลการปฏิบตัิงาน

กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน

Page 36: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 32

1) การวางแผนปฏิบัติงาน การวางแผนการปฏิบัติงานเปนขั้นตอนแรกของกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน

โดยเปนการกําหนดเปาหมายในการปฏิบัติงานในระดับบุคคลลําดับตางๆ ใหสอดคลองกับเปาหมายของ

องคกร สามารถแบงออกเปน 2 องคประกอบ คือ การวางแผนเปาหมายการปฏิบัติงาน และการกําหนด

คุณลักษณะที่คาดหวัง 2) การพฒันาผลการปฏิบัติงาน

การพัฒนาผลการปฏิบัติงานการพัฒนารายบุคคลอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมายของ

การพัฒนาองคกร คือ องคกรแหงการเรียนรู และมีเปาหมายของการพัฒนาบุคคลากร คือ เปนที่ผูมี

ศักยภาพในการทํางาน การพัฒนาทําไดโดยการฝกอบรม การกําหนดสมรรถนะที่ตองการในการพัฒนา

การกําหนดกจิกรรมอื่นๆ ที่จําเปน แตทั้งนี้มีการกําหนดระยะเวลาและวิธีการใหชัดเจน

3) การติดตามผลการปฏิบัติงาน การติดตามผลการปฏิบัติงาน เปนกระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูลและรับฟงความคิดเห็น

รวมกันของคนในองคกร โดยเปนการใหขอมูลความกาวหนาของงานที่รับผิดชอบ ตลอดจนปญหาอุปสรรค

ที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะรวมกันหาทางออก 4) การประเมินผลการปฏิบัติงาน

การประเมินผลการปฏิบัติงานเปนเปนการสรุปผลการปฏิบัติงานวาไดเปนไปตามเปาหมาย

และวัตถุประสงคที่กําหนดไวหรือไม หรือประสบความสําเร็จระดับใด เพื่อใชเปนขอมูลในการบริหารงาน

บุคคล เชน การใหรางวัลและคาตอบแทน การใหความดีความชอบ การนําขอมูลที่ไดไปปรับปรุงแกไขและ

ปองกันปญหาที่อาจจะเกิดไดในอนาคต

2.3.4 หลักการบริหารคาตอบแทน

คาตอบแทน คือ รางวัลหรือเปนการจายประโยชนใดๆ แกผูทํางานในรูปแบบที่เปนเงินและ

ไมเปนตัวเงิน นอกจากนี้คาตอบแทนยังเปนเครื่องมือที่ใชในการบริหาร เพื่อเปนสิ่งจูงใจสําหรับ

ผูปฏิบัติงานใหปฏิบัติงานไดอยางเต็มกําลังความสามารถ

การบริหารคาตอบแทนเปนการวางแผนในการจัดระบบงานที่เกี่ยวกับการจายตอบแทน

ทุกรูปแบบทั้งที่เปนประโยชนทางตรงและทางออม ดังนี้

- คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน สามารถแบงเปน 2 ประเภท คือ เปนคาตอบแทนเปนเงิน

โดยตรง ไดแก เงินเดือน เงินคาขยัน การใหหุน เปนตน และเปนคาตอบแทนโดยออมที่ไมใชตัวเงินโดยตรง

เปนสวัสดิการตางๆ ไดแก การประกันสุขภาพ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ประกันสังคม คาที่พัก คาเดินทาง

เปนตน

Page 37: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 33

- คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน ไดแก ความรับผิดชอบ หนาที่การงาน โอกาส

ความกาวหนาในอาชีพ โอกาสในการไดเรียนรู อบรม เปนตน

กระบวนการการจัดทําโครงสรางคาตอบแทนพื้นฐาน (Base Pay Structure)

แบงเปน 4 ข้ันตอน ดังนี้

1) การวิเคราะหงาน (Job analysis)

2) การประเมินคางาน (Job evaluation)

3) การสํารวจคาตอบแทน (Survey)

4) การออกแบบโครงสรางคาตอบแทนพื้นฐาน(Pay Structure)

1) การวิเคราะหงาน (Job analysis) เปนขั้นตอนในรวบรวมขอมูลของงานเพื่อทําการ

แยกองคประกอบของงานออกมา ซึ่งจะทําใหไดขอมูลมาจัดทําเอกสาร 2 ประเภท คือ การจัดทํา

คําพรรณนาลักษณะงาน (Job description) ซึ่งจะทําใหทราบถึงหนาที่และความรับผิดชอบของ

ตําแหนงงาน และการระบุคุณสมบัติของผูปฏิบัติงาน (Job specification) ซึ่งแสดงรายละเอียดทางดาน

ความรู ทักษะ และความสามารถของผูปฏิบัติงาน

ในการวิเคราะหงานประกอบดวยกระบวนการและวิธีการตางๆ ดังนี้

• กระบวนการในการวิเคราะหงาน (Job analysis procedures) ประกอบดวย

ข้ันตอนตางๆ 6 ข้ันตอน คือ กําหนดเปาหมายในการวิเคราะหงาน ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับงาน เลือก

วิธีเก็บขอมูล จัดเตรียมการวิเคราะหงาน ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล และวิเคราะหและจัดทํา

คําบรรยายลักษณะงาน

• วิธีการรวบรวมขอมูลเพื่อการวิเคราะหงาน ไดแก จากการสังเกต

การสัมภาษณ การออกแบบสอบถาม การบันทึกขอมูลการปฏิบัติงาน และใชแบบผสมผสานหลาย ๆ วิธี

• เนื้อหาของขอมูลที่จะเก็บรวบรวม ไดแก ขอมูลที่เกี่ยวของกับงานทัง้หมด และ

ขอมูลที่เกี่ยวของกับ ผูปฏิบัติงาน

2) การประเมินคางาน เปนการเปรียบเทียบงานอยางเปนระบบเพื่อหาความสัมพันธ

ในระบบงานในองคกร ซึ่งจะเปนขอมูลในการกําหนดคาตอบแทนตอไป

การประเมนิคางานประกอบดวยวิธกีารตางๆ คือ

• กระบวนการในการประเมินคางาน ไดแก ศึกษารายละเอียดของงาน กําหนด

คาที่จะใชเปนตัววัดงาน สรางระบบประเมินผล ดําเนินการประเมินผล และวิเคราะหคางานที่ได

• วิธีที่ใชในการประเมินคา ไดแก - วิธีจัดลําดับงาน เปนวิธีที่จัดเรียงความสําคัญของงานจากลําดับมากสุด

ถึงนอยที่สุด

Page 38: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 34

- วิธีจําแนกงาน เปนวิธทีี่จัดเกรดของงานตามลักษณะงาน

- วิธีประเมินคางานแบบเทียบปจจัย เปนการประเมินคางานที่พัฒนามาจาก

การผสมผสานหลักการประเมินคางานของวิธีลําดับงาน และวิธีใหคะแนนเขาดวยกัน

- การใหคะแนน ซึ่งเปนวิธีที่นิยมกันมากที่สุด เนื่องจากเปนวิธีประเมินที่ไดจาก

ขอมูลรอบดาน

3) การสํารวจคาตอบแทน เปนการสํารวจเพื่อทราบถึงอัตราคาจาง เพื่อปรับปรุง

โครงสรางการจายคาตอบแทนใหเหมาะสม เปนการรักษาพนักงานที่มีความสามารถใหอยูกับองคกร และ

เปนการจูงใจใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีวิธีการสํารวจ คือ การสํารวจแบบเปน

ทางการและไมเปนทางการ (Formal and informal surveys) ซึ่งเปนการสํารวจเงินเดือนจากหนวยงาน

อ่ืนๆ เชน บริษัท หรือหนวยงานรัฐบาล

4) การออกแบบโครงสรางคาตอบแทน เปนการกําหนดคาตอบแทนพื้นฐานใหแก

ตําแหนงงานตาง ๆ ในองคการ ดวยอัตราที่แตกตางกันตามคาของงานที่ประเมินได โดยมีปจจัยที่ตอง

พิจารณาในการกําหนดแนวทาง คือ ระดับคาจางต่ําสุดและสูงสุด ความสัมพันธระหวางระดับคาจางทัว่ไป

กับสัดสวนคาตอบแทนของคาตอบแทนหลักกับประโยชนอ่ืนๆ ซึ่งจะมีลักษณะโครงสรางคาตอบแทน

พื้นฐาน ดังนี้

- กําหนดเปนขั้นเงินเดือน ซึ่งจะแสดงขั้นเงินเดือนสําหรับตําแหนงตาง ๆ ไวอยาง

แนนอน โดยมีการกําหนดอัตราต่ําสุด(Minimum rate ) อัตราขั้นสูงสุด (Maximum rate) ของเงินเดือน

ในแตละระดับ และระหวางอัตราต่ําสุดและสูงสุดมีการแบงเงินเดือนออกเปนขั้น ๆ ซึ่งใชในการพิจารณา

ข้ึนเงินเดือนประจําป

- การกําหนดเปนชวงเงินเดือน (Range structure) โครงสรางลักษณะจะมีความ

คลองตัวในการพิจารณาปรับเงินเดือนและคาตอบแทนใหแกพนักงานมากกวาโครงสรางแบบขั้นเงินเดือน

โดยกําหนดเปนชวงเงินเดือนโดยแสดงอัตราเงินเดือนหรือคาจางขั้นต่ําสุดและอัตราขั้นสูงสุด โดยไมมี

การซอยขั้นเงินเดือนเปนขั้น ทําใหสามารถปูนบําเหน็จความดีความชอบใหแกพนักงานที่มีผลงานดีเดน

ไดมากหรือจะปรับเงินเดือน หรือใหคาตอบแทนแกบุคคลที่เหมาะสมในการเลื่อนตําแหนงสูงขึ้นก็กระทําได

คลองตัวกวา

- การกําหนดเปนอัตราเดียว (Single rate) มีการกําหนดไดหลายวิธีตามปริมาณ

งานหรือตามเวลาที่ใชในการทํางานเปนสําคัญ ลักษณะการกําหนดอัตราคาตอบแทนที่เปนที่นิยมกันมี

3 วิธี คือ อัตราคาจางรายชิ้น (Piece rate structure) อัตราคาจางรายชั่วโมง (Hourly rate structure)

อัตราคาจางเริ่มตน (Starting rate structure)

- การกําหนดเปนแบบกวาง (Broad banding) โครงสรางลักษณะนี้เปนการทําให

ตําแหนงจํานวนมากแบบดั้งเดิมซึ่งมีอัตราการจายที่แตกตางกันใหมีระดับการจายที่กวางและนอยลง

Page 39: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 35

เพื่อใหบริหารจัดการไดงายขึ้นยกระดับของการมีผลประโยชนรวมกัน และสรางบรรยากาศของความเปน

อันหนึ่งอันเดียวกัน

Page 40: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 36

บทที่ 3

ระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย 3.1 ภาพรวมโครงสรางองคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทย

การบริหารราชการของประเทศไทยไดใหอํานาจประชาชนสามารถบริหารจัดการปกครองทองถิ่น

ของตนเองได ซึ่งเปนไปตามหลักการกระจายอํานาจ ที่ตองการการกระจายอํานาจการบริหารจาก

สวนกลางไปสูทองถิ่น ปจจุบันรูปแบบการปกครองทองถิ่นของไทยมีอยู 2 รูปแบบ คือ

1. รูปแบบทั่วไป ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล ซึ่งแบงออกเปน เทศบาล

ตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

2. รูปแบบพิเศษ ไดแก กรุงเทพมหานคร (กทม.) และเมืองพัทยา

ภาพที่ 7 แสดงโครงสรางการบริหารราชการแผนดนิของไทย (การศกึษาวิจัยครัง้นี้ไมรวมกรงุเทพมหานคร)

เมืองพัทยา กทม.

สวนทองถิ่น

• กระทรวง

• ทบวง

• กรม

• จังหวัด

• อําเภอ

• ตําบล

• หมูบาน

• อบจ.

• อบต.

• เทศบาลตําบล,เทศบาลเมือง,เทศบาลนคร

สวนภูมิภาค

สวนกลาง

การบริหารราชการแผนดินของไทย

Page 41: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 37

3.2 โครงสรางและอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.2.1 องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.)

พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดให

องคการบริหารสวนจังหวัด มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนราชการสวนทองถิ่น โดยมีโครงสรางและอํานาจ

หนาที่ดังนี้ โครงสราง

ปจจุบันไดแบงโครงสรางองคการบริหารสวนจังหวัด ออกเปน 2 สวน คือ สภาองคการ

บริหารสวนจังหวัด ทําหนาที่ฝายนิติบัญญัติ และนายกองคการบริหารสวนจังหวัดทําหนาที่ฝายบริหาร

โดยมีขอกําหนดดังนี้

1) สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ประกอบดวยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

โดยมีเกณฑจํานวนประชากรในจังหวัดตอจํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด ดังนี้

- จังหวัดที่มีราษฎรไมเกิน 500,000 คน มีสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจงัหวัดได 24

คน

- จังหวัดที่มีราษฎรเกินกวา 500,000 คน แตไมเกิน 1,000,000 คน มีสมาชิกสภา

องคการบริหารสวนจงัหวัดได 30 คน

- จังหวัดที่มีราษฎรเกินกวา 1,000,000 คน แตไมเกิน 1,500,000 คน มีสมาชกิสภา

องคการบริหารสวนจงัหวัดได 36 คน

- จังหวัดที่มีราษฎรเกินกวา 1,500,000 คน แตไมเกิน 2,000,000 คน มีสมาชกิสภา

องคการบริหารสวนจงัหวัดได 42 คน

- จังหวัดที่มีราษฎรเกินกวา 2,000,000 คน มีสมาชกิสภาองคการบรหิารสวนจงัหวดัได

48 คน

ทั้งนี้ ใหสภาองคการบริหารสวนจังหวัดเลือกสมาชิกเปนประธานสภาองคการบริหาร

สวนรวมทั้งใหจังหวัด จํานวน 1 คน และรองประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 2 คน

2) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน

โดยนายกองคการบริหารสวนจังหวัดอาจแตงตั้งรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัดที่ไมใชสมาชิก

สภาองคการบริหารสวนจังหวัด เปนผูชวยเหลือในการปฏิบัติราชการขององคการบริหารสวนจังหวัดตามที่

นายกองคการบริหารสวนจังหวัดมอบหมายได ตามเกณฑ ดังนี้

- ในกรณีที่มีสมาชิก 48 คน ใหมีรองนายกองคการบริหารสวนจงัหวัดไดไมเกิน 4 คน

- ในกรณีที่มีสมาชิก 36 หรือ 42 คน ใหมีรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัดไดไมเกนิ

3 คน

Page 42: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 38

- ในกรณีที่มีสมาชิก 24 หรือ 30 คน ใหมีรองนายกองคการบริหารสวนจังหวัดไดไมเกนิ

2 คน

ทั้งนี้นายกองคการบริหารสวนจังหวัดอาจแตงตั้งเลขานุการนายกองคการบริหาร

สวนจังหวัดและที่ปรึกษานายกองคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งมิใชสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดได

จํานวนรวมกันไมเกิน 5 คน

ภาพที่ 8 แสดงโครงสรางองคการบริหารสวนจงัหวัด

อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด แบงไดตามกฏหมายตางๆ ดังนี ้1) อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดตามพระราชบัญญัติองคการบริหาร

สวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และที่แกไขเพิ่มเติม ซึ่งกําหนดไวดังนี้

• ตราขอบัญญัติโดยไมขัดหรือแยงตอกฎหมาย

• จัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด และประสานการจัดทําแผนพัฒนา

จังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

• สนับสนุนสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่นในการพัฒนาทองถิ่น

• ประสานและใหความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ของสภาตําบลและราชการ สวนทองถิ่นอื่น

• แบงสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะตองแบงใหแกสภาตําบลและราชการสวนทองถิ่นอื่น

องคการบริหารสวนจังหวัด

สภา อบจ. นายก อบจ.

รองนายก อบจ.

ปลัด อบจ.

รองปลัด อบจ.

สวนงานตางๆ

ประธานสภา อบจ.

รองประธานสภา อบจ.

เลขานุการสภา อบจ.

คณะกรรมการชุดตางๆ

เลขานายก อบจ.

ที่ปรึกษานายก อบจ.

Page 43: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 39

• อํานาจหนาที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวนจังหวัด

พ.ศ. 2498 เฉพาะภายในเขตสภาตําบล

• คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทองถิน่

• จัดทํากิจการใด ๆ อันเปนอํานาจหนาที่ของราชการสวนทองถิ่นอื่นที่อยูในเขต

องคการบริหารสวนจังหวัด และกิจการนั้นเปนการสมควรใหราชการสวนทองถิ่นอื่นรวมกันดําเนินการหรือ

ใหองคการบริหารสวนจังหวัดจัดทํา ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

• จัดทํากิจการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด

บรรดาอํานาจหนาที่ใดซึ่งเปนของราชการสวนกลาง หรือราชการสวนภูมิภาคอาจมอบ

ใหองคการบริหารสวนจังหวัดปฏิบัติได ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

• การปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด ตองเปนไปเพื่อ

ประโยชนสุขของประชาชน โดยใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และใหคํานึงถึงการมีสวนรวมของ

ประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนจังหวัด การจัดทํางบประมาณ การจัดซื้อจัดจาง

การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปดเผยขอมูลขาวสาร ทั้งนี้ใหเปนไปตามกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับวาดวยการนั้น และหลักเกณฑ และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

• องคการบริหารสวนจังหวัดอาจจัดทํากิจการใด ๆ อันเปนอํานาจหนาที่ของราชการ

สวนทองถิ่นอื่นหรือองคการบริหารสวนจังหวัดอื่นที่อยูนอกเขตจังหวัดได เมื่อไดรับความยินยอมจาก

ราชการสวนทองถิ่นอื่น หรือองคการบริหารสวนจังหวัดอื่นที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และ

เงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

• กิจการใดเปนกิจการที่องคการบริหารสวนจังหวัดพึงจัดทําตามอํานาจหนาที่ ถาองคการบริหารสวนจังหวัดไมจัดทํา รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยโดยความเห็นชอบของ

คณะรัฐมนตรีอาจมีคําสั่งใหราชการสวนกลางหรือราชการสวนภูมิภาคจัดทํากิจการนั้นได ในกรณี

ที่ราชการสวนกลางหรือราชการสวนภูมิภาคจัดทํากิจกรรมขางตน ใหคิดคาใชจายและคาภาระตาง ๆ

ตามความเปนจริงไดตามอัตราและระยะเวลาที่เหมาะสม

• องคการบริหารสวนจังหวัดอาจใหบริการแกเอกชน สวนราชการ หนวยงานของรัฐ

รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการสวนทองถิ่นอื่นโดยเรียกคาบริการได โดยตราเปนขอบัญญัติ

• องคการบริหารสวนจังหวัดอาจมอบใหเอกชนกระทํากิจการซึ่งอยูในอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดและเรียกเก็บคาธรรมเนียม คาบริการหรือคาตอบแทนที่เกี่ยวของแทน

องคการบริหารสวนจังหวัดได แตตองไดรับความเห็นชอบจากสภาองคการบริหารสวนจังหวัด และ

Page 44: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 40

ผูวาราชการจังหวัดเสียกอน ทั้งนี้หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการใหกระทํากิจการขางตน ใหเปนไป

ตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด รวมถึงสิทธิในการกระทํากิจการตามขางตน เปนสิทธิเฉพาะตัว

จะโอนไปไมได

• การดําเนินกิจการขององคการบริหารสวนจังหวัดที่มีลักษณะเปนการพาณิชย อาจทาํไดโดยตราเปน ขอบัญญัติ ทั้งนี้ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยกําหนด

2) อํานาจตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดแก อํานาจหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของ

ประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังนี้

• การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง และประสานการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด

ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

• การสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิน่อื่นในการพัฒนาทองถิ่น

• การประสานและใหความรวมมือในการปฏิบัติหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น

• การแบงสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะตองแบงใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น

• การคุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาปาไม ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• การจัดการศึกษา

• การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน

• การสงเสริมการมีสวนรวมของราษฎรในการพัฒนาทองถิ่น

• การสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยทีี่เหมาะสม

• การจัดตั้งและดูแลระบบบําบัดน้ําเสียรวม

• การกําจัดมูลฝอย และสิ่งปฏกิูลรวม

• การจัดการสิง่แวดลอมและมลพิษตาง ๆ

• การจัดการและดูแลสถานีขนสงทั้งทางบกและทางน้าํ

• การสงเสริมการทองเที่ยว

• การพาณิชย การสงเสริมการลงทุน และการทํากิจการไมวาจะดําเนินการเองหรือ

รวมกับบุคคลอื่นหรือจากสหการ

• การสรางและบํารุงรักษาทางบกและทางน้ําที่เชื่อมตอระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น

• การจัดตั้งและดูแลตลาดกลาง • การสงเสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น

Page 45: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 41

• การจัดใหมีโรงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาล การปองกันและควบคุมโรคติดตอ

• การจัดใหมพีพิิธภัณฑและหอจดหมายเหตุ • การขนสงมวลชนและการวิศวกรรมจราจร • การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย

• การจัดใหมีระบบรักษาความสงบเรียบรอยในจังหวัด

• จัดทํากิจการใดอันเปนอํานาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นที่อยูในเขตและกิจการนั้นเปนการสมควรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นรวมกันดําเนินการหรือใหองคการบริหาร

สวนจังหวัดจัดทํา ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

• สนับสนุนหรือชวยเหลือสวนราชการ หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในการพัฒนาทองถิ่น

• การใหบริการแกเอกชน สวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองคกรปกครอง

ทองถิ่นอื่น

• การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส

• จัดทํากิจการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกําหนดใหเปนอํานาจและหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด

• กิจการอื่นใดที่เปนผลประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

3) อํานาจหนาที่ตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เรื่อง กําหนดอํานาจ และหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะขององคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งกําหนดไวดังนี้

(1) การใหบริการสาธารณะในเขตจังหวัด

• ดําเนินงานในกิจกรรมที่เปนโครงการที่มีขนาดใหญที่เกินศักยภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในเขตจังหวัด

• ดําเนินงานในกิจกรรมที่เปนภาพรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดที่มุงตอประโยชนของทองถิ่นหรือประชาชนเปนสวนรวม และไมเขาไปดําเนินงานที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น

อ่ืนในจังหวัดสามารถดําเนินการไดเอง

• เขาไปดําเนินงานตามแผนงานหรือโครงการในลักษณะที่มีความคาบเกี่ยวตอเนื่อง หรือมีผูที่ไดรับประโยชนในองคกรปกครองสวนทองถิ่นมากกวา 1 แหงขึ้นไป

Page 46: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 42

(2) ในการดําเนินการตามขอ (1) ควรจะใหเปนไปในลักษณะดังนี ้คือ

• การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นของตนเองและประสานการจัดทําแผนจังหวัด โดยการ

สรางและพัฒนาระบบการประสานแผนการพัฒนาทองถิ่นในจังหวัดเพื่อนําไปสูการใชจายงบประมาณ

ในการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีความสมดุลและคุมคาทางเศรษฐกิจ

• การกอสรางและบํารุงรักษาโครงการที่เปนโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ หรือมีการ

เกี่ยวเนื่องกันหลายองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือในลักษณะที่เปนเครือขายหลักในการเชื่อมโยงกับ

แผนงานโครงการที่ดําเนินการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในจังหวัด

• การจัดการศึกษา สาธารณสุข การสังคมสงเคราะห การพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับ

ประชาชนในระดับจังหวัด และไมเปนการซ้ําซอนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในจังหวัด โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อขยายศักยภาพและมุงตอผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการศึกษา สาธารณสุข การสังคม

สงเคราะห การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในจังหวัด

• การสงเสริมจารีต ประเพณี วัฒนธรรม การทองเที่ยว การสงเสริมการลงทุน และ

พาณิชยกรรมของจังหวัด

• การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในระดับจังหวัด โดยเฉพาะอยางยิ่ง

การทําหนาที่เปนองคกรหลักในการกําจัดมูลฝอย ส่ิงปฏิกูลรวม การดูแลระบบบําบัดน้ําเสียรวมใหแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในจังหวัด

• ใหบริการดานเทคนิค วิชาการ เครื่องมือ เครื่องจักรกล บุคลากร แกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นอื่นในเขตจังหวัด

• ดําเนินการตามภารกิจที่ไดรับการถายโอนภารกิจตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการกําหนดขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งกิจกรรมที่มีหนาที่

ที่ตองทํา

(3) การสนับสนุนงบประมาณใหแกราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค จะกระทําไดแตเฉพาะ

กรณีที่อยูในอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดที่จะตองดําเนินการเอง แตไมสามารถดําเนินการ

เองได เนื่องจากเปนงานปฏิบัติซึ่งจะตองใชเทคนิควิชาการสูง และหนวยงานของรัฐนั้นมีความสามารถทีจ่ะ

ดําเนินการไดดีกวา และผลของการใหการสนับสนุนนั้นจะเปนประโยชนตอการดําเนินงานตามอํานาจ

หนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด การสนับสนุนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในจังหวัด

จะกระทําไดในกรณีที่เรงดวนและจําเปน หากไมดําเนินการจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอ

ประชาชน การใหการสนับสนุนแกประชาคม องคกรประชาชน ควรเปนไปในลักษณะของการสงเสริม

ความสามารถดําเนินการ โดยใชศักยภาพของตนเองในการบริหารจัดการในลักษณะของการรวมคิด

รวมทํา รวมรับผลประโยชน โดยไมใหการสนับสนุนในลักษณะของการใหส่ิงของ หรือการเขาไปดําเนินการแทน

Page 47: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 43

3.2.2 เทศบาล พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดใหเทศบาลมีฐานะ

เปนทบวงการเมือง ซึ่งหมายถึง สวนราชการหรือองคการบริหารสวนทองถิ่นที่มีสภาพเปนนิติบุคคลและ

มีอํานาจหนาที่ในทางปกครอง โดยมีโครงสรางและอํานาจหนาที่ ดังนี้ โครงสราง ปจจุบันเทศบาลแบงออกเปน 3 ระดับ ตามจํานวนประชากรและรายได ไดแก

เทศบาลตําบล ไดแก ทองถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขึ้นเปนเทศบาล

ตําบล

เทศบาลเมือง ไดแก ทองถิ่นอันเปนที่ต้ังศาลากลางจังหวัด หรือ ทองถิ่นชุมนุมชนที่มี

ราษฎรตั้งแต 10,000 คน ข้ึนไป ทั้งมีรายไดพอควรแกการที่จะปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามกฎหมาย และ

ซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปนเทศบาลเมือง

เทศบาลนคร ไดแก ทองถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต 50,000 คนขึ้นไปทั้งมีรายได

พอควรแกการที่จะปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามกฎหมาย และซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปน

เทศบาลนคร

โครงสรางของเทศบาลแบงเปน 2 สวน คือ สภาเทศบาล ซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติ และ

นายกเทศมนตรีเปนฝายบริหาร ดังนี้

1) สภาเทศบาล เปนฝายที่คอยควบคุมและตรวจสอบฝายบริหาร ประกอบดวยสมาชิก

ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยมีเกณฑจํานวนประชากรตอจํานวนสมาชิกสภาเทศบาล

ดังนี้

- สภาเทศบาลตําบล มีสมาชกิทั้งหมด 12 คน

- สภาเทศบาลเมือง มีสมาชกิทั้งหมด 18 คน

- สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทั้งหมด 24 คน

สภาเทศบาลมีประธานสภาหนึ่งคน และรองประธานสภาหนึง่คน ซึ่งผูวาราชการจงัหวัด

แตงตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล

2) นายกเทศมนตรี ไดกําหนดใหมีนายกเทศมนตรี 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

ของประชาชน โดยนายกเทศมนตรีอาจแตงตั้งรองนายกเทศมนตรีซึ่งไมใชสมาชิกสภาเทศบาล

เปนผูชวยเหลือในการบริหารราชการตามที่นายกเทศมนตรีมอบหมายได ตามเกณฑ ดังนี้

- เทศบาลตาํบล มีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 2 คน

- เทศบาลเมือง มีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 3 คน

- เทศบาลนคร มีรองนายกเทศมนตรีไมเกิน 4 คน

Page 48: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 44

นอกจากนี้นายกเทศมนตรีอาจแตงตั้งที่ปรึกษานายกเทศมนตรีและเลขานุการ

นายกเทศมนตรี ซึ่งไมใชสมาชิกสภาเทศบาลได โดยในกรณีเทศบาลตําบลใหแตงตั้งไดจํานวนรวมกัน

ไมเกิน 2 คน ในกรณีเทศบาลเมืองแตงตั้งไดจํานวนรวมกันไมเกิน 3 คน ในกรณีเทศบาลนครแตงตั้งได

จํานวนรวมกันไมเกิน 5 คน

ภาพที่ 9 แสดงโครงสรางเทศบาล

อํานาจหนาที่ของเทศบาล แบงตามกฏหมายตางๆ ดังนี ้

1) อํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แกไขเพิ่มเติม ซึ่งกําหนดไว

ดังนี้

(1) เทศบาลตําบล มีหนาที่ที่ตองทาํในเขตเทศบาล ดังนี ้

• รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน

• ใหมีและบํารุงทางบกและทางน้ํา

• รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกาํจัดมูลฝอยและ

ส่ิงปฎิกูล

• ปองกันและระงับโรคติดตอ

โครงสรางเทศบาล

สภาเทศบาล นายกเทศมนตร ี

รองนายกเทศมนตร ี

ปลัดเทศบาล

รองปลัดเทศบาล

สวนงานตางๆ

ประธานสภาเทศบาล

รองประธานสภาเทศบาล

สมาชกิสภา

- เทศบาลตําบล - เทศบาลเมือง - เทศบาลนคร

- เลขานุการนายกฯ

- ท่ีปรึกษานายกฯ

Page 49: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 45

• ใหมีเครื่องใชในการดับเพลิง • ใหราษฎรไดรับการศึกษาอบรม

• สงเสริมการพฒันาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ

• บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และวฒันธรรมอันดีของทองถิน่

• หนาที่อ่ืนตามที่กฎหมายบญัญัติใหเปนหนาที่ของเทศบาล

นอกจากนีเ้ทศบาลตําบลอาจจัดทํากิจการอื่นๆ ในพื้นที่ ไดแก

• ใหมีน้าํสะอาดหรือการประปา

• ใหมีโรงฆาสัตว • ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม

• ใหมีสุสานและฌาปนสถาน

• บํารุงและสงเสริมการทาํมาหากนิของราษฎร • ใหมีและบํารุงสถานทีท่ําการพิทักษรักษาคนเจ็บไข • ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน

• ใหมีและบํารุงทางระบายน้าํ

• เทศพาณิชย (2) เทศบาลเมือง มีหนาทีท่ี่ตองทําในเขตเทศบาล ดังนี ้

• ใหอํานาจหนาที่ตามอาํนาจหนาที่ของเทศบาลตําบล

• ใหมีน้าํสะอาดหรือการประปา

• ใหมีโรงฆาสัตว • ใหมีและบํารุงสถานทีท่ําการพิทักษและรักษาคนเจ็บไข • ใหมีและบํารุงทางระบายน้าํ

• ใหมีและบํารุงสวมสาธารณะ

• ใหมีและบํารุงการไฟฟา หรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน

• ใหมีการดําเนนิกิจการโรงรบัจํานาํหรือสถานสนิเชื่อทองถิ่น

นอกจากนีเ้ทศบาลเมืองอาจจัดทํากจิการอืน่ๆ ในพื้นที ่ไดแก

• ใหมีตลาด ทาเทียบเรือและทาขาม

• ใหมีสุสานและฌาปนสถาน

• บํารุงและสงเสริมการทาํมาหากนิของราษฎร • ใหมีและบํารุงการสงเคราะหมารดาและเดก็

Page 50: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 46

• ใหมีและบํารุงโรงพยาบาล

• ใหมีการสาธารณูปการ • จัดทํากจิการซึง่จําเปนเพื่อการสาธารณสุข

• จัดตั้งและบํารุงโรงเรียนอาชวีศึกษา

• ใหมีและบํารุงสถานที่สําหรบัการกฬีาและพลศึกษา

• ใหมีและบํารุงสวนสาธารณะ สวนสัตว และสถานทีพ่ักผอนหยอนใจ

• ปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรม และรักษาความสะอาดเรียบรอยของทองถิน่

• เทศพาณชิย 3) เทศบาลนคร มีหนาที่ทีต่องทําในเขตเทศบาล ดังนี ้

• ใหอํานาจหนาที่ตามอาํนาจหนาที่ของเทศบาลเมือง • ใหมีและบํารุงการสงเคราะหมารดาและเดก็

• กิจการอยางอืน่ซึ่งจาํเปนเพือ่การสาธารณสุข

• การควบคุมสุขลักษณะและอนามยัในรานจําหนายอาหาร โรงมหรสพ และสถานบรกิารอื่น

• จัดการเกี่ยวกบัที่อยูอาศยัและการปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรม

• จัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขามและที่จอดรถ

• การวาผังเมืองและการควบคมุการกอสราง • การสงเสริมกจิการการทองเที่ยว

นอกจากนี้เทศบาลนครอาจจัดทํากิจการอื่นๆ ในทุกกิจการซึ่งอยูในอํานาจหนาที่ของ

เทศบาลเมืองได

การทําการนอกเขตเทศบาล และการทําการรวมกับบุคคลอื่น เทศบาลอาจทํากิจการ

นอกเขต ไดเมื่อ

• การนั้นจําเปนตองทําและเปนการที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการที่ดําเนินตามอํานาจหนาที่ที่อยู

ภายในเขตของตน

• ไดรับความยินยอมจากสภาเทศบาล สภาองคการบริหารสวนจังหวัด หรือสภาองคการ

บริหารสวนตําบลแหงทองถิ่นที่เกี่ยวของและ

• ไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

นอกจากนี้เทศบาลอาจทําการรวมกับบุคคลอื่นโดยกอต้ังบริษัทจํากัด หรือถือหุนในบริษัทจํากัด

ไดเมื่อ

• บริษัทจํากัดนั้นมีวัตถุประสงคเฉพาะเพื่อกิจการคาขายอันเปนสาธารณูปโภค

Page 51: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 47

• เทศบาลตองถือหุนเปนมูลคาเกินกวารอยละหาสิบของทุนที่บริษทนั้นจดทะเบียนไว ใน

กรณีที่มีหลายเทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัดหรือองคการบริหารสวนตําบล ถือหุนอยูในบริษัท

เดียวกันใหนับหุนที่ถือนั้นรวมกัน และ

• ไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

นอกจากนั้น การเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนที่เทศบาลถืออยูในบริษัทจํากัด ตองไดรับอนุมัติจาก

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

การทาํการแบบสหการ เทศบาลทําได ดังนี ้

• ถามีกิจการใดอันอยูภายในอํานาจหนาที่ของเทศบาลตั้งแตสองแหงขึ้นไปที่จะรวมกันทํา

เพื่อใหเกิดประโยชนอยางยิ่ง ก็ใหจัดตั้งเปนองคการขึ้นเรียกวา สหการ มีสภาพเปนทบวงการเมือง และมี

คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยผูแทนของเทศบาลที่เกี่ยวของอยูดวย

• สหการอาจไดรับเงินอุดหนนุจากรัฐบาล และอาจกูเงินได

การจัดทําเทศบัญญัติ เทศบาลมีอํานาจตราเทศบัญญัติโดยไมขัดหรือแยงตอบทกฎหมาย

เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามหนาที่ของเทศบาลที่กําหนดไว หรือมีกฎหมายบัญญัติใหเทศบาล

ตราเทศบัญญัติหรือใหมีอํานาจตราเทศบัญญัติ 2) อํานาจหนาที่ของเทศบาลตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย

อํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหเทศบาลมีอํานาจและหนาที่ในการ

จัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังนี้

• การจัดทาํแผนพัฒนาทองถิน่ของตนเอง

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้าํ และทางระบายน้ํา

• การจัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขาม และที่จอดรถ

• การสาธารณูปโภคและการกอสรางอืน่ ๆ

• การสาธารณูปการ

• การสงเสริม การฝก และประกอบอาชพี

• การพาณิชย และการสงเสริมการลงทนุ

• การสงเสริมการทองเที่ยว

• การจัดการศึกษา

• การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส

• การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิญญาทองถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

• การปรับปรุงแหลงชมุชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับทีอ่ยูอาศัย

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานทีพ่ักผอนหยอนใจ

Page 52: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 48

• การสงเสริมกฬีา

• การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน

• สงเสริมการมสีวนรวมของราษฎรในการพฒันาทองถิ่น

• การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

• การกําจัดมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และน้ําเสยี

• การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล

• การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

• การควบคุมการเลี้ยงสัตว

• การจัดใหมีและควบคมุการฆาสัตว

• การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัย โรงมหรสพ และ

สาธารณสถานอื่น ๆ

• การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากปาไม ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอม

• การผังเมือง

• การขนสงและการวิศวกรรมจราจร

• การดูแลรักษาที่สาธารณะ

• การควบคุมอาคาร

• การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย

• การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสริมและสนับสนุนการปองกันและรักษาความ

ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

• กิจการอื่นใดที่เปนผลประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ

กําหนด

3.2.3 องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม

กําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น โดยมี

โครงสรางและอํานาจหนาที่ ดังนี้ โครงสราง ปจจุบัน โครงสรางขององคการบริหารสวนตําบลแบงเปน 2 สวน คือ สภาองคการบริหารสวน

ตําบล ซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติ และนายกองคการบริหารสวนตําบลเปนฝายบริหาร ดังนี้

Page 53: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 49

1) สภาองคการบริหารสวนตําบล ประกอบดวยสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล

ซึ่งเลือกตั้งมาจากหมูบานในเขตองคการบริหารสวนตําบลนั้นจํานวนหมูบานละ 2 คน โดยมีขอยกเวน คือ

กรณีที่เขตองคการบริหารสวนตําบลใดมีเพียงหนึ่งหมูบานใหสภาองคการบริหารสวนตําบลมีสมาชิก

สภาองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 6 คน และในกรณีที่เขตองคการบริหารสวนตําบลใดมีสองหมูบาน

ใหเลือกตัวแทนจากหมูบานๆ ละ 3 คน ทั้งนี้สภาองคการบริหารสวนตําบลมีประธานสภาและ

รองประธานสภาหนึ่งคนซึ่งเลือกจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล โดยใหนายอําเภอแตงตั้ง

ตามมติของสภาองคการบริหารสวนตําบล

2) นายกองคการบริหารสวนตําบล มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทั้งนี้

นายกองคการบริหารสวนตําบลอาจแตงตั้งรองนายกองคการบริหารสวนตําบลซึ่งมิใชสมาชิกสภาองคการ

บริหารสวนตําบล เปนผูชวยเหลือในการบริหารราชการตามที่นายกองคการบริหารสวนตําบลมอบหมาย

ไดไมเกิน 2 คน และตําแหนงเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน ซึ่งมิไดเปนสมาชิก

สภาองคการบริหารสวนตําบลหรือเจาหนาที่ของรัฐ

ภาพที่ 10 แสดงโครงสรางองคการบริหารสวนตําบล

อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล แบงตามกฏหมายตางๆ ดังนี ้1) อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบลตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ

บริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และที่แกไขเพิ่มเติม กําหนดให องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

มีอํานาจหนาที่ในการพัฒนาตําบลทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยมีหนาที่ตองทําในเขต

องคการบริหารสวนตําบล ดังตอไปนี้

โครงสรางองคการบริหารสวนตําบล

สภาองคการบริหารสวนตําบล นายกองคการบริหารสวนตําบล

รองนายกฯ

ปลัด อบต.

ประธานสภาฯ

รองประธานฯ

สมาชกิสภา

เลขานุการนายกฯ

สวนงานตางๆ

Page 54: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 50

• จัดใหมีและบาํรุงรักษาทางน้ําและทางบก

• รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ํา ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและ

ส่ิงปฏิกูล

• ปองกันและระงับโรคติดตอ

• ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

• สงเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

• สงเสริมการพฒันาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอาย ุและผูพิการ

• คุมครอง ดูแล และบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญทองถิน่ และวฒันธรรมอันดขีองทองถิ่น

• ปฏิบัติหนาที่อ่ืนตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรใหตาม

ความจําเปน และสมควร

นอกจากนี้องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) อาจจัดทํากิจการในเขตองคการบริหารสวนตําบล

ดังตอไปนี้

• ใหมีน้าํเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกตร

• ใหมีและบํารุงการไฟฟาหรือแสงสวางโดยวิธีอ่ืน

• ใหมีและบํารุงรักษาทางระบายน้าํ

• ใหมีและบํารุงสถานที่ประชมุ การกีฬา การพักผอนหยอนใจ และสวนสาธารณะ

• ใหมีและสงเสริมกลุมเกษตรกรและกิจการสหกรณ • สงเสริมใหมีอุตสาหกรรมในครอบครัว

• บํารุงและสงเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร • การคุมครองดูแลและรักษาทรพัยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน

• หาผลประโยชนจากทรัพยสินขององคการบริหารสวนตําบล

• ใหมีตลาด ทาเทียบเรือ และทาขาม

• กิจการเกี่ยวกบัการพาณิชย • การทองเทีย่ว

• การผังเมือง 2) อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอน

กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหองคการบริหารสวนตําบล

มีอํานาจหนาที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังนี้

Page 55: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 51

• การจัดทาํแผนพัฒนาทองถิน่ของตนเอง

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้าํ และทางระบายน้ํา

• การจัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขาม และที่จอดรถ

• การสาธารณูปโภคและการกอสรางอืน่ ๆ

• การสาธารณูปการ

• การสงเสริม การฝก และประกอบอาชพี

• การพาณิชย และการสงเสริมการลงทนุ

• การสงเสริมการทองเที่ยว

• การจดัการศึกษา

• การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส

• การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิญญาทองถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

• การปรับปรุงแหลงชมุชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับทีอ่ยูอาศัย

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานทีพ่ักผอนหยอนใจ

• การสงเสริมกฬีา

• การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน

• สงเสริมการมสีวนรวมของราษฎรในการพฒันาทองถิ่น

• การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

• การกําจัดมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และน้ําเสยี

• การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล

• การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

• การควบคุมการเลี้ยงสัตว

• การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว

• การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัย โรงมหรสพ และ

สาธารณสถานอื่น ๆ

• การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากปาไม ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอม

• การผังเมือง

• การขนสงและการวิศวกรรมจราจร

• การดูแลรักษาที่สาธารณะ

Page 56: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 52

• การควบคุมอาคาร

• การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย

• การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสริมและสนับสนุนการปองกันและรักษาความ

ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

• กิจการอื่นใดที่เปนผลประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ

กําหนด

3.2.4 เมืองพัทยา

พระราชบัญญัตติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 กําหนดใหเมืองพัทยา

เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นและมีฐานะเปนนิติบุคคล โดยมีโครงสรางและอํานาจ ดังนี้ โครงสราง ปจจุบัน โครงสรางของเมืองพัทยาแบงเปน 2 สวน คือ สภาเมืองพัทยา ซึ่งเปนฝาย

นิติบัญญัติ และนายกเมืองพัทยาเปนฝายบริหาร ดังนี้

1) สภาเมืองพัทยา เปนฝายที่คอยควบคมุและตรวจสอบฝายบริหาร ประกอบดวยสมาชิก

ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีจํานวน 24 คน

ใหสภาเมืองพัทยาเลือกสมาชิกเปนประธานสภาเมืองพัทยาคนหนึ่ง และรองประธาน

สภาเมืองพัทยาจํานวนสองคน แลวเสนอผูวาราชการจังหวัดแตงตั้ง นอกจากนี้ประธานสภาเมืองพัทยา

อาจแตงตั้งเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยาและผูชวยเลขานุการประธานสภาเมืองพัทยาไมเกินจํานวน

รองประธานสภาเมืองพัทยา เพื่อชวยเหลือกิจการตามที่ไดรับมอบหมายได

2) นายกเมืองพัทยา ไดกําหนดใหมีนายกเมืองพัทยา 1 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

ของประชาชน โดยนายกเมืองพัทยาอาจแตงตั้งรองนายกเมืองพัทยาจํานวนไมเกินสี่คนซึ่งมิใชสมาชิก

สภาเมืองพัทยา เปนผูชวยเหลือในการบริหารราชการตามที่นายกเมืองพัทยามอบหมาย รวมทั้ง

นายกเมืองพัทยาอาจแตงตั้งเลขานุการนายกเมืองพัทยาและผูชวยเลขานุการนายกเมืองพัทยาไมเกิน

จํานวนรองนายกเมืองพัทยา และอาจแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธานที่ปรึกษาและที่ปรึกษาไดจํานวน

รวมกันแลวไมเกินหาคน โดยบุคคลที่ไดรับแตงตั้งเปนเลขานุการนายกเมืองพัทยา ผูชวยเลขานุการ

นายกเมืองพัทยาประธานที่ปรึกษาหรือที่ปรึกษา ตองมิใชสมาชิกเมืองพัทยา

Page 57: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 53

ภาพที่ 11 แสดงโครงสรางเมืองพทัยา

อํานาจหนาที่ของเมืองพทัยา แบงตามกฏหมายตางๆ ดังนี ้1) อํานาจหนาที่ของเมืองพัทยาตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา

พ.ศ. 2542 กําหนดใหเมืองพัทยา มีอํานาจหนาที่ดําเนินการในเขตเมืองพัทยา ดังตอไปนี้

• การรักษาความสงบเรียบรอย

• การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิง่แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาต ิ

• การคุมครองและดูแลรักษาทรัพยสินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน

• การวางผงัเมืองและการควบคุมการกอสราง • การจัดการเกีย่วกับที่อยูอาศัยและการปรบัปรุงแหลงเสือ่มโทรม

• การจัดการจราจร • การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง • การกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏกิูล และการบําบัดน้ําเสีย

• การจัดใหมนี้ําสะอาดหรือการประปา

• การจดัใหมกีารควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ และที่จอดรถ

โครงสรางเมืองพัทยา

สภาเมืองพัทยา นายกเมืองพทัยา

รองนายกเมอืงพัทยา

ปลัดเมืองพทัยา

รองปลัดเมืองพัทยา

สวนงานตางๆ

ประธานสภาเมืองฯ

รองประธานสภาเมืองฯ

สมาชกิสภา

- เลขานุการนายกฯ - ผูชวยเลขานุการนายกฯ

- ประธานที่ปรึกษานายกฯ

- ท่ีปรึกษานายกฯ

Page 58: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 54

• การควบคุมอนามัยและความปลอดภัยในรานจําหนายอาหาร โรงมหรสพและ

สถานบริการอื่น

• การควบคุมและสงเสริมกิจการทองเทีย่ว

• การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณ ีภูมิปญญาทองถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

• อํานาจหนาทีอ่ื่นตามที่กฎหมายกาํหนดใหเปนของเทศบาลนครหรือของเมืองพัทยา

2) อํานาจหนาที่ของเมืองพัทยา ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหเมืองพัทยามีอํานาจและหนาที่

ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ดังนี้

• การจัดทาํแผนพัฒนาทองถิน่ของตนเอง

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้าํ และทางระบายน้ํา

• การจัดใหมีและควบคุมตลาด ทาเทียบเรือ ทาขาม และที่จอดรถ

• การสาธารณูปโภคและการกอสรางอืน่ ๆ

• การสาธารณูปการ

• การสงเสริม การฝก และประกอบอาชพี

• การพาณิชย และการสงเสริมการลงทนุ

• การสงเสริมการทองเที่ยว

• การจัดการศึกษา

• การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผูดอยโอกาส

• การบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิญญาทองถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

• การปรับปรุงแหลงชมุชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับทีอ่ยูอาศัย

• การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานทีพ่ักผอนหยอนใจ

• การสงเสริมกฬีา

• การสงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน

• สงเสริมการมสีวนรวมของราษฎรในการพฒันาทองถิ่น

• การรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง

• การกําจัดมูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และน้ําเสยี

• การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล

• การจัดใหมีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

Page 59: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 55

• การควบคุมการเลี้ยงสัตว

• การจัดใหมีและควบคุมการฆาสัตว

• การรักษาความปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัย โรงมหรสพ และ

สาธารณสถานอื่น ๆ

• การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากปาไม ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอม

• การผังเมือง

• การขนสงและการวิศวกรรมจราจร

• การดแูลรักษาที่สาธารณะ

• การควบคุมอาคาร

• การปองกนัและบรรเทาสาธารณภัย

• การรักษาความสงบเรียบรอย การสงเสริมและสนับสนุนการปองกันและรักษาความ

ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

• กิจการอื่นใดที่เปนผลประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศ

กําหนด

3.3 ระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย

จากโครงสรางและอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นขางตน จะเห็นไดวารูปแบบ

การปกครองสวนทองถิ่นไทยมีความหลากหลาย ดังนั้นจึงสงผลใหรูปแบบของการจัดการองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นแตละแบบจึงมีความแตกตางกัน ปจจุบันการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ของไทยถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ซึ่งไดกําหนด

อํานาจหนาที่ และโครงสรางการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกําหนดใหมีองคกร

3 องคกร ทําหนาที่รับผิดชอบ คือ

1. คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.)

2. คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นระดับประเทศ (ก .กลาง )

ซึ่งประกอบดวย คณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.) คณะกรรมการกลาง

พนักงานเทศบาล (ก.ท.) และคณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.)

3. คณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นระดับจังหวัด (ก.จังหวัด) ซึ่งประกอบดวย

คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.จ.) คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.)

คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)

Page 60: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 56

นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา (ก.เมืองพัทยา) รับผิดชอบในสวนของ

เมืองพัทยา และคณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร (ก.ก.) รับผิดชอบในสวนของกรุงเทพมหานคร

ภาพที่ 12 แสดงโครงสรางระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิน่

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสรางและอํานาจหนาที่ในการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นของ

คณะกรรมการในแตชุด ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 มีดังนี้

โครงสรางระบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองทองถิ่น

คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) (สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเปนฝายเลขานุการ)

คณะกรรมการกลางขาราชการ หรือพนักงานสวนทองถิน่ (ก.กลาง)

(กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเปนฝายเลขานุการ)

คณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิน่

ระดับจังหวัด (ก.จังหวัด)

คณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร (ก.ก.)

คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด

คณะกรรมการพนักงานเทศบาล

คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล

คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา (ก.เมืองพัทยา)

คณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด

คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล

คณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล

Page 61: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 57

3.4 โครงสรางและอํานาจหนาที่ขององคกรที่รับผิดชอบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

3.4.1 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) ประกอบดวย

• ประธานที่มาจากการคัดเลือก

• กรรมการโดยตําแหนงจํานวน 6 คน ไดแก เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการ

พลเรือนเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ

ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย และอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น

• กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูซึ่งมีความรู

ความเชี่ยวชาญในดานการบริหารงานทองถิ่น ดานการบริหารงานบุคคล ดานระบบราชการ ดานบริหาร

และการจัดการหรือดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานทางวิชาการหรือมีความรูเปนที่ยอมรับ

• ผูแทนคณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 1 คน ผูแทน

คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล จํานวน 1 คน ผูแทนคณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล จํานวน

1 คน ผูแทนคณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร จํานวน 1 คน ผูแทนคณะกรรมการพนักงาน

เมืองพัทยา จํานวน 1 คน และในกรณีที่มีกฎหมายจัดตั้งองคการปกครองสวนทองถิ่นอื่น ใหมีผูแทน

คณะกรรมการพนักงานองคการปกครองสวนทองถิ่นอื่นซึ่งองคการปกครองสวนทองถิ่นนั้นคัดเลือกกันเอง

จํานวน 1 คน

• หัวหนาสํานักงาน ก.ถ. เปนเลขานุการ ก.ถ. อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

• กําหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคลโดยเฉพาะในเรื่องการแตงตั้งและการใหพนจากตําแหนงของพนักงานสวนทองถิ่น

รวมตลอดถึงการกําหนดโครงสรางอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นใหมีสัดสวนที่เหมาะสมแก

รายไดและการพัฒนาทองถิ่นตามอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ การกําหนดมาตรฐาน

กลางและแนวทางจะตองไมมีลักษณะเปนการกําหนดหลักเกณฑการบริหารงานบุคคลโดยเฉพาะเจาะจง

ที่ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นไมสามารถบริหารงานบุคคลตามความตองการและความเหมาะสมของ

แตละองคกรปกครองสวนทองถิ่นได

• กําหนดแนวทางการพัฒนาการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นเพื่อรองรับการกระจายอํานาจการปกครองสวนทองถิ่น

• กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขการคัดเลือกผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ในแตละประเภทและผูทรงคุณวุฒิเขามาเปนคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น

• สงเสริมใหมีการศึกษา วิเคราะห หรือวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

Page 62: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 58

• ใหคําปรึกษา คําแนะนํา และพิจารณาปญหาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่นแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

• ประสานงานกับคณะรัฐมนตรี หนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

คณะกรรมการขาราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการประเภทตาง ๆ คณะกรรมการกลาง

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น และคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น เพื่อสงเสริมให

การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นมีประสิทธิภาพ

• ปฏิบัติการอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น

3.4.2 คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.กลาง) มีจํานวน 3 คณะ

ไดแก

1) คณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.)

2) คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.)

3) คณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.)

โดยคณะกรรมการแตคณะจะมีโครงสรางที่คลายคลึงกัน ประกอบดวย

• รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย

ซึ่งไดรับมอบหมาย เปนประธาน

• ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ผูอํานวยการ

สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมบัญชีกลาง และอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น

• ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิน่ จํานวน 6 คน แบงเปน

- ในสวนของคณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด คัดเลือก

จากนายกองคการบริหารสวนจังหวัดจํานวน 3 คน และปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดจํานวน 3 คน

- ในสวนของคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล คัดเลือกจากนายกเทศมนตรี

จํานวน 3 คน และปลัดเทศบาล จํานวน 3 คน

- ในสวนของคณะกรรมการกลางพนักงานสวนตําบล คัดเลือกจากนายกองคการ

บริหารสวนตําบล จํานวน 3 คน และปลัดองคการบริหารสวนตําบล 3 คน

• ผูทรงคุณวุฒ ิจํานวน 6 คน อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิน่

• กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขการคัดเลือกผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ

ผูทรงคุณวุฒิ

• กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามเบื้องตนของ

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นๆ

Page 63: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 59

• กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตราตําแหนงและมาตรฐานของตําแหนง • กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตราเงินเดือนและวิธีการจายเงินเดือน และ

ประโยชนตอบแทนอื่น

• กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขในการคัดเลือก การบรรจุและ

แตงตั้ง การยาย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดับ และการเลื่อนขั้นเงินเดือน

• กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการวินัยและการรักษาวินัย และการดําเนินการ

ทางวินัย

• กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการใหออกจากราชการ • กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิอุทธรณ การพิจารณาอุทธรณ และการรองทุกข • กําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับโครงสรางการแบงสวนราชการ วิธีการบริหาร และ

การปฏิบัติงานของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นๆ และกิจการอันเกี่ยวกับการบริหารงาน

บุคคลในองคกรปกครองสวนทองถิ่นประเภทนั้นๆ ในระดับจังหวัด

• ใหขอคิดเห็นหรือใหคําปรึกษาในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นๆ

• กํากับดูแล แนะนํา และชี้แจง สงเสริมและพัฒนาความรูแกขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่น

• ปฏิบัติการตามที่กฎหมายอื่นกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ ทั้งนี้การกําหนดมาตรฐานทั่วไปขางตน ไดให ก.กลาง กําหนดใหเหมาะสมกับลักษณะ

การบริหารและอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น แตจะตองอยูภายใตมาตรฐานกลางเกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคลที่ ก.ถ. กําหนด

3.4.3 คณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นในระดับจังหวัด (ก.จังหวัด)

ในแตละจังหวัดจะมีคณะกรรมการรวม 3 คณะ ดังนี ้

1) คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.จ.)

2) คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.)

3) คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.จังหวัด)

1) คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.จ.) มีจํานวนกรรมการ

12 คน คือ

- ผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน

- หัวหนาสวนราชการประจาํจังหวัด จํานวน 3 คน

Page 64: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 60

- ผูแทนองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 4 คน ไดแก

(1) นายกองคการบริหารสวนจังหวัด

(2) สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจงัหวัดซึ่งสภาองคการบริหารสวนจงัหวัด

คัดเลือกจํานวน 1 คน

(3) ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด

(4) ผูแทนขาราชการองคการบริหารสวนจงัหวัด ซึ่งคัดเลือกกันเอง จํานวน 1 คน

- ผูทรงคุณวฒุจิํานวน 4 คน

2) คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) มีกรรมการจํานวน 18 คน คือ

- ผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน

- หัวหนาสวนราชการประจาํจังหวัด จํานวน 5 คน

- ผูแทนเทศบาล จํานวน 6 คน ไดแก

(1) ประธานสภาเทศบาล ซึ่งประธานสภาเทศบาลในเขตจังหวัดนัน้คัดเลือกกันเอง

จํานวน 2 คน

(2) นายกเทศมนตรี ซึ่งนายกเทศมนตรีในเขตจังหวัดนัน้เลือกกนัเอง จํานวน 2 คน

(3) ผูแทนพนักงานเทศบาล ซึ่งปลัดเทศบาลในเขตจังหวัดนัน้คัดเลอืกกันเอง

จํานวน 2 คน

- ผูทรงคุณวฒุ ิจํานวน 6 คน

3) คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.จงัหวดั) มีกรรมการจํานวน 27 คน คือ

- ผูวาราชการจังหวัดหรือรองผูวาราชการจังหวัด ซึ่งไดรับมอบหมาย เปนประธาน

- นายอําเภอหรือหัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด จํานวน 8 คน

- ผูแทนองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 9 คน ไดแก

(1) ประธานสภาองคการบรหิารสวนตําบล ซึ่งประธานสภาองคการบริหารสวน

ตําบลในเขตจงัหวัดนัน้คัดเลือกกันเอง จํานวน 3 คน

(2) นายกองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งนายกองคการบริหารสวนตําบลในเขต

จังหวัดนัน้ คัดเลือกกันเอง จาํนวน 3 คน

3) ผูแทนพนักงานสวนตําบล ซึ่งปลัดองคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดนัน้

คัดเลือกกันเอง จํานวน 3 คน

- ผูทรงคุณวฒุ ิจํานวน 9 คน

Page 65: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 61

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นในระดับจังหวัด

• กําหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามที่มีความจําเปนเฉพาะสําหรับขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นในจังหวัด

• กําหนดจํานวนและอัตราตําแหนง อัตราเงินเดือนและวิธีการจายเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นสําหรับขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นในจังหวัด

• กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขในการคัดเลือก การบรรจุและแตงตั้ง การยาย การโอน

การรับโอน การเลื่อนระดับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การใหออกจาก

ราชการ การอุทธรณ และการรองทุกข

• กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงานของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นในจังหวัด

• กํากับ ดูแล ตรวจสอบ แนะนําและชี้แจง สงเสริมและพัฒนาความรูแกขาราชการหรือ

พนักงานสวนทองถิ่นประเภทนั้นในจังหวัด

ทั้งนี้ ในการดําเนินการตาม อํานาจหนาที่ขางตนตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

กลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นแตละประเภท และตองอยูภายใตกรอบมาตรฐานทั่วไป

ที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นแตละประเภทกําหนด

3.4.4 คณะกรรมการพนกังานเมืองพทัยา (ก.เมืองพทัยา) มีจํานวนกรรมการ 12 คน คือ

- ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี เปนประธาน

- นายอําเภอหรือหัวหนาสวนราชการในจงัหวัดชลบุรี จํานวน 3 คน

- ผูแทนเมืองพัทยา จํานวน 4 คน ไดแก

1) นายกเมืองพทัยา

2) สมาชิกสภาเมืองพัทยา ซึ่งสภาเมืองพัทยาคัดเลือก จํานวน 1 คน

3) ปลัดเมืองพัทยา

4) ผูแทนพนกังานเมืองพทัยา ซึ่งคัดเลือกกันเองจาํนวน 1 คน

- ผูทรงคุณวฒุ ิจํานวน 4 คน

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการพนกังานเมืองพทัยา คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา มีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับคณะกรรมการขาราชการ

หรือพนักงานสวนทองถิ่นในระดับจังหวัดประเภทอื่น โดยมีอํานาจหนาที่ในการกําหนดหลักเกณฑและ

ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา ในเรื่องตอไปนี้

Page 66: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 62

• กําหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามที่มีความจําเปนเฉพาะสําหรับพนักงาน

เมืองพัทยา

• กําหนดจํานวนและอัตราตําแหนง อัตราเงินเดือนและวิธีการจายเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นสําหรับพนักงานเมืองพัทยา

• กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขในการคัดเลือก การบรรจุและแตงตั้ง การยาย การโอน

การรับโอน การเลื่อนระดับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การใหออก

จากราชการ การอุทธรณ และการรองทุกข

• กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงานของสําหรับพนักงานเมืองพัทยา

• กํากับ ดูแล ตรวจสอบ แนะนําและชี้แจง สงเสริมและพัฒนาความรูแกสําหรับพนักงาน

เมืองพัทยา

ทั้งนี้ การกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของคณะกรรมการพนักงาน

เมืองพัทยาจะตองกําหนดใหสอดคลองกับความตองการและความเหมาะสมของเมืองพัทยาแตจะตอง

อยูภายใตมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลที่คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาลกําหนด

3.5 กระบวนการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นของไทย

กระบวนการการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย มีจุดเริ่มตนจาก

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ซึ่งกําหนดใหมีคณะกรรมการมาตรฐาน

การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น

(ก.กลาง) ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการ 3 คณะ คือ คณะกรรมการกลางขาราชการองคการบริหาร

สวนจังหวัด (ก.จ.) คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล (ก.ท.)และคณะกรรมการกลางพนักงาน

สวนตําบล (ก.อบต.) และคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.จังหวัด) ซึ่งประกอบดวย

คณะกรรมการ 3 คณะ คือ คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (ก.จ.จ.) คณะกรรมการ

พนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) และคณะกรรมการพนักงานสวนตําบล (ก.อบต.จังหวัด) หลังจากการจัดตั้งคณะกรรมการชุดตางๆ เพื่อทําการดูแลงานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

แลว คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) ซึ่งมีหนาที่กําหนดมาตรฐานกลาง

การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นของไทย ไดออกประกาศมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น เพื่อใชเปนมาตรฐานกลางของการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งจะเปน

แนวทางใหคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.กลาง) ไปกําหนดมาตรฐานทั่วไป

การบริหารงานบุคคลขององคการปกครองสวนทองถิ่น และตอเนื่องไปถึงการกําหนดหลักเกณฑและ

ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละประเภทในจังหวัดที่ดูแล

Page 67: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 63

โดยคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.จังหวัด) ซึ่งมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น ที่กําหนดโดยคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) มีรายละเอียด

ดังนี้

ภาพที่ 13 แสดงความสัมพันธในระบบการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

กําหนดมาตรฐานกลาง การบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น

คณะกรรมการมาตรฐาน การบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น

กําหนดมาตรฐานทั่วไป การบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น - อบจ. - เทศบาล - อบต.

คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงาน สวนทองถิ่น (ก.กลาง)

- ก.จ. - ก.ท. - ก.อบต.

กําหนดหลักเกณฑและดําเนินการเกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ในจังหวัด - อบจ. - เทศบาล - อบต.

คณะกรรมการขาราชการ หรือพนักงานสวนทองถิ่น

(ก.จังหวัด) - ก.จ.จ. - ก.ท.จ. - ก.อบต.จังหวัด

กําหนดหลักเกณฑและดําเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล

ของเมืองพัทยา

คณะกรรมการพนักงาน เมืองพัทยา

(ก.เมืองพัทยา)

กระบวนการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

1) การกําหนดตําแหนง

และอัตราตําแหนง

2) การกําหนดโครงสราง

การแบงสวนราชการ

3) โครงสรางเงินเดือน

และประโยชนตอบ

แทนอื่น

4) การสรรหาและบรรจุ

แตงตั้ง

5) การยาย

6) การโอน

7) การเลื่อนตําแหนง

และระดับ

8) การเลื่อนขั้นเงินเดือน

9) การพัฒนาบุคคล

10) วินัยและการดําเนินการทางวินัย

11) การอุทธรณ 12) การรองทุกข 13) การพนจากตําแหนง

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542

Page 68: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 64

3.5.1 มาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น คณะกรรมการมาตรฐาน

การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) ไดประกาศกําหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลของ

พนักงานสวนทองถิ่น เพื่อใหมีทิศทางที่เหมาะสมและเปนธรรม โดยแบงเปนเรื่องตางๆ ไดแก

3.5.1.1 การกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการ การกําหนดตําแหนงและมาตรฐานตําแหนง

• ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการและ

การกําหนดตําแหนง โดยคํานึงถึงอํานาจหนาที่และปริมาณงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้

ภายใตกรอบมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด โดยให

องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําแผนอัตรากําลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เสนอคณะกรรมการ

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นพิจารณาใหความเห็นชอบ และจัดโครงสรางการแบงสวนราชการและ

การกําหนดตําแหนงใหเปนไป ตามแผนอัตรากําลังดังกลาว

แผนอัตรากําลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จะตองเปนไปตามกรอบ

มาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• การกําหนดมาตรฐานของตําแหนงและอัตราตําแหนง ใหจําแนกตําแหนงเปนประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตําแหนงในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพ

ของงานอยูในระดับเดียวกันโดยประมาณเปนกลุมเดียวกันและระดับเดียวกัน โดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่

ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ความกาวหนาในสายงานของพนักงานสวนทองถิ่นประกอบกับ

ความตองการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งมีขนาดแตกตางกันดวย โดยมาตรฐานดังกลาวจะตอง

ไมตํ่ากวามาตรฐานที่ ก.พ.กําหนด ทั้งนี้ ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรอื

พนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

3.5.1.2 กําหนดโครงสรางอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่น

• การจัดโครงสรางอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่น ใหคํานึงถึงหนาที่

ความรับผิดชอบ คุณภาพปริมาณและความยากงายของงานในแตละตําแหนง ใหมีสัดสวนที่เหมาะสมแก

รายไดและการพัฒนาทองถิ่นตามอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหนงของพนักงานสวนทองถิ่น ใหเปนไป

ตามกฎหมายวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงที่กําหนดไวสําหรับขาราชการพลเรือนหรือขาราชการ

ครู แลวแตกรณีโดยอนุโลม

• ใหมีการจัดประโยชนตอบแทนอื่นแกพนักงานสวนทองถิ่น เพื่อเปนการ

เสริมสรางความมั่นคง สรางขวัญและแรงจูงใจใหกับพนักงานสวนทองถิ่น

Page 69: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 65

องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่บริหารจัดการการจายเงินเดือน ประโยชนตอบ

แทนอื่นและเงินคาจางไดตํ่ากวาที่กําหนดในมาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 สามารถจัดประโยชนตอบแทนอื่นแกพนักงานสวนทองถิ่นเปนพิเศษอีกก็ได ทั้งนี้

ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

3.5.1.3 การสรรหาบุคคล

• การสรรหาบุคคลเขารับราชการในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหใชวิธีการ

สอบแขงขันหรือการคัดเลือก โดยดําเนินการในรูปคณะกรรมการและคํานึงถึงความเปนธรรมและ

ความเสมอภาคในโอกาสแกบุคคลที่มีสิทธิอยางเทาเทียมกัน เพื่อใหไดผูที่มีความรูเหมาะสมกับตําแหนง

ตามวัตถุประสงคขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

• การสอบแขงขัน อยางนอยตองมีหลกัเกณฑและวิธกีาร ดังนี ้

(1) หลักสูตรการสอบแขงขัน อยางนอยตองมี 3 ภาค คือ ภาคความรู

ความสามารถทั่วไป ภาคความรูความสามารถที่ใชเฉพาะตําแหนงและภาคความเหมาะสมกับตําแหนง

(2) การกําหนดหลักสูตร วิธีการสอบแขงขันและวิธีดําเนินการเกี่ยวกับ

การสอบแขงขัน ตลอดจนเกณฑการตัดสิน การขึ้นบัญชีผูสอบแขงขันได การนํารายชื่อผูสอบแขงขันได

ในตําแหนงหนึ่ง ไปข้ึนบัญชีเปนผูสอบแขงขันไดในตําแหนงอื่นและการยกเลิกบัญชีผูสอบแขงขันได

(3) ผูสมัครสอบแขงขันในตําแหนงใด ตองมีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติ

เฉพาะสําหรับตําแหนงที่กําหนดไวในมาตรฐานของตําแหนงนั้น

การดําเนินการสอบแขงขัน ใหดําเนินการเปนการทั่วไปอยางเปดเผย โปรงใส

สามารถ ตรวจสอบได โดยคํานึงถึงหลักวิชาการวัดผล การประกาศผลการสอบใหดําเนินการอยางเปดเผย

องคกรปกครองสวนทองถิ่น อาจขอใชบัญชีผูสอบแขงขันไดจากองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นหรือสวนราชการอื่น ซึ่งมีหลักสูตร หลักเกณฑ และมาตรฐานการสอบเทียบเทากับ

มาตรฐานของ ก.พ. มาบรรจุเขารับราชการได โดยความยินยอมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ

สวนราชการนั้น และเปนไปตามความสมัครใจของผูสอบแขงขันไดตามลําดับที่ในบัญชีผูสอบแขงขันได

และตองเปนบัญชีผูสอบแขงขันตําแหนงเดียวกับตําแหนงที่จะบรรจุเขารับราชการ เวนแต คณะกรรมการ

กลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนดเปนอยางอื่น

• การคัดเลือก ใหคํานึงถึง ความรูความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ

ใหเหมาะสม กับตําแหนง และตองเปนไปตามความตองการและความเหมาะสมของทองถิ่น

การดําเนินการคัดเลือกอาจกระทําโดยการสอบสัมภาษณ สอบขอเขียน

สอบปฏิบัติ หรือทดลองปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางก็ได แตจะตองกําหนดหลัเกณฑและ

วิธีการเชนเดียวกับการสอบแขงขันดวย

Page 70: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 66

การคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการในฐานะผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ

ผูชํานาญการ ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น

กําหนด

ในกรณีที่มีเหตุพิเศษไมจําเปนตองดําเนินการสอบแขงขัน อาจคัดเลือกบุคคล

เพื่อบรรจุเขารับราชการและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการ

กลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด โดยคํานึงถึงมาตรฐานที่ ก.พ. กําหนดดวย

3.5.1.4 การแตงต้ังและการใหพนจากตําแหนง

• การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงพนักงานสวนทองถิ่นตําแหนงใด

ใหคํานึงถึง ความรูความสามารถ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง รวมทั้งใหพิจารณาถึงคุณลักษณะ

ความจําเปนอื่น ที่ตองใชในการปฏิบัติงานในตําแหนงนั้น ตามลักษณะงานของแตละองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น

การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนพนักงานสวนทองถิ่น และการแตงตั้ง

ใหดํารงตําแหนง ใหบรรจุและแตงตั้ง จาก

(1) ผูสอบแขงขันไดตามลําดับที่การขึ้นบัญชี

(2) ผูไดรับคัดเลือก

(3) กรณีอ่ืนตามที่กําหนดไวในกฎหมาย หรือตามมาตรฐานทั่วไปที่

คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• การยายพนักงานสวนทองถิ่นใหไปดํารงตําแหนงใด ใหเปนไปตาม

คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้น โดยคํานึงถึงความรู ความสามารถ ประสบการณ เพื่อประโยชนแก

การบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและการพัฒนาพนักงานสวนทองถิ่น

การยายพนักงานสวนทองถิ่นผูดํารงตําแหนงใดไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนง

อ่ืนภายในองคกรปกครองสวนทองถิ่นแหงเดียวกัน ตองยายไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับเดียวกัน

เวนแตกรณีการยาย ไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับที่ตํ่ากวาเดิม ตองเปนไปตามความสมัครใจของ

พนักงานสวนทองถิ่นผูนั้นและเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่นกําหนด

• การโอน การรับโอน พนักงานสวนทองถิ่น ขาราชการตามกฎหมายอื่น

ซึ่งไมใช ขาราชการการเมือง หรือขาราชการวิสามัญ สามารถกระทําไดเพื่อประโยชนและประสิทธิภาพ

ในการบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและการพัฒนาพนักงานสวนทองถิ่น

การโอน การรับโอน พนักงานสวนทองถิ่น ใหคณะกรรมการกลาง

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น กําหนดหลักเกณฑใหพนักงานสวนทองถิ่นแตละแหงมีโอกาสโอนไป

Page 71: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 67

ปฏิบัติหนาที่ในระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันได โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น

การรับโอนขาราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งไมใชขาราชการการเมือง หรือ

ขาราชการวิสามัญ มาบรรจุเปนพนักงานสวนทองถิ่น อาจทําไดถาเจาตัวสมัครใจ โดยผูบริหารทองถิ่นหรือ

ผูมีอํานาจตามกฎหมายที่จะรับโอนทําความตกลงกับผูมีอํานาจสั่งบรรจุของสวนราชการหรือหนวยงาน

สังกัดเดิม แลวเสนอเรื่องใหคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นพิจารณาใหความเห็นชอบ

การรับโอน ใหรับโอนมาแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับที่ไมสูงกวาเดิม

และรับเงินเดือนในขั้นที่ไมสูงกวาเดิม เวนแตการรับโอนพนักงานสวนทองถิ่นหรือขาราชการตามกฎหมาย

อ่ืน ผูสอบแขงขันได ผูสอบคัดเลือกไดหรือผูไดรับคัดเลือก ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการ

กลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

ในการนับเวลาราชการ ใหถือเวลาราชการของผูที่โอนมาในขณะที่เปน

พนักงานสวนทองถิ่นหรือขาราชการตามกฎหมายอื่นนั้น เปนเวลาราชการในสังกัดใหมดวย

• การเลื่อนพนักงานสวนทองถิ่นขึ้นแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น

ใหพิจารณาจากคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง ผลงาน ความรู ความสามารถ ความประพฤติ คุณธรรม

และจริยธรรม และประวัติการปฏิบัติราชการ ตลอดจนประโยชนที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นพึงจะไดรับ

การเลื่อนพนักงานสวนทองถิ่นขึ้นแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในระดับที่สูงขึ้น

ใหเลื่อนและแตงตั้งจากผูสอบแขงขันได ผูสอบคัดเลือกไดหรือผูไดรับคัดเลือกใหดํารงตําแหนงนั้น

• การออกจากราชการของพนักงานสวนทองถิ่น นอกจากเปนไปตาม

มาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนดไวแลวพนักงาน

สวนทองถิ่นออกจากราชการเมื่อ

(1) ตาย

(2) ลาออก และไดรับอนุญาตใหลาออก

(3) เปนผูขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือมีลักษณะตองหาม

3.5.1.5 การเพิ่มพูนประสิทธิภาพ และเสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ

และการเลื่อนขั้นเงินเดือน

• ใหมีการเพิ่มพูนความรู ทักษะ ทัศนคติ ความประพฤติ คุณธรรมและ

จริยธรรม เพื่อเปนการเสริมสรางและพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและปฏิบัติตนของพนักงาน

สวนทองถิ่น ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• พนักงานสวนทองถิ่นผู ใดปฏิ บั ติตนเหมาะสมกับการเปนพนักงาน

สวนทองถิ่น และปฏิบัติราชการมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเปนที่พอใจของทางราชการ

Page 72: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 68

ถือวาผูนั้นมีความชอบ จะไดรับบําเหน็จความชอบซึ่งอาจเปนคําชมเชย เครื่องเชิดชูเกียรติ รางวัล

ประโยชนตอบแทนอื่น หรือการไดเลื่อนขั้นเงินเดือนตามควรแกกรณี ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการ

กลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานสวนทองถิ่น ใหผูบริหารทองถิ่นพิจารณาโดย

คํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานที่ไดปฏิบัติมา ความสามารถและ

ความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน ความมีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนการรักษาวินัยที่เหมาะสมกับ

การเปนพนักงานสวนทองถิ่น ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่นกําหนด

การเลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานสวนทองถิ่นที่อยู ในหลักเกณฑ ใหมี

คณะกรรมการขึ้นพิจารณาโดยใชหลักเกณฑและวิธีการในการเลื่อนขั้นเงินเดือนเปนมาตรฐานเดียวกับที่

ก.พ. กําหนด

สําหรับโควตาการเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษ ใหเปนตามมาตรฐานทั่วไป

ที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด โดยคํานึงถึงมติคณะรัฐมนตรีในเรื่อง

ดังกลาว

• การพัฒนาบุคคล ใหมีการพัฒนาผูไดรับการบรรจุเขารับราชการเปน

พนักงานสวนทองถิ่นกอนมอบหมายหนาที่ใหปฏิบัติ เพื่อใหรูระเบียบแบบแผนของทางราชการ หลักและวธิี

ปฏิบัติราชการ บทบาทและหนาที่ของขาราชการในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข และแนวทางปฏิบัติตนเพื่อเปนพนักงานสวนทองถิ่นที่ดี

• ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่พัฒนาผูอยูใตบังคับบัญชาเพื่อเพิ่มพูนความรู ทักษะ ทัศนคติที่ดี คุณธรรมและจริยธรรม อันจะทําใหปฏิบัติหนาที่ราชการไดอยางมีประสิทธิภาพ

ในการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงทางบริหาร ควรจัดใหมีการพัฒนาพนักงาน

สวนทองถิ่น ผูจะไดรับการเลื่อนตําแหนงเพื่อเปนการเพิ่มพูนความรู ทักษะ ทัศนคติที่ดี คุณธรรมและ

จริยธรรม อันจะทําใหปฏิบัติหนาที่ราชการในตําแหนงนั้นไดอยางมีประสิทธิภาพ

ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสนับสนุนใหมีการพัฒนาพนักงานสวนทองถิ่น

ไดมีโอกาสเพิ่มพูนความรูความสามารถในการปฏิบัติงานดวย

• การประเมินผลการปฏิบัติงาน ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่ประเมินผลการ

ปฏิบัติราชการของผูใตบังคับบัญชาเพื่อใชประกอบการพิจารณาแตงตั้ง เลื่อนขั้นเงินเดือน พัฒนาพนักงาน

สวนทองถิ่น เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และมีหนาที่เสริมสรางแรงจูงใจใหผูใตบังคับบัญชา

ปฏิบัติตนเหมาะกับการเปนพนักงานสวนทองถิ่นและปฏิบัติราชการมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

Page 73: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 69

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ใหคํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน

ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของงานที่ไดปฏิบัติมา ความสามารถและความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน

ความมีคุณธรรมและ จริยธรรม ตลอดจนการรักษาวินัยที่เหมาะสมกับการเปนพนักงานสวนทองถิ่น

โดยจัดทําการประเมินอยางนอยปละ 2 คร้ัง และเปดโอกาสใหผูถูกประเมิน ชี้แจง หรือขอคําปรึกษาดวย

3.5.1.6 วินยั การรกัษาวนิัย และการดําเนินการทางวินยั

• พนักงานสวนทองถิ่นตองรักษาวินัยตามที่กําหนดเปนขอหามและขอปฏิบัติโดยเครงครัดอยูเสมอ

ขอหามและขอปฏิบัติใหมีมาตรฐานเดียวกับที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวย

ระเบียบขาราชการพลเรือน

• ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางและพัฒนาใหผูใตบังคับบัญชามีวินัย

ปองกัน มิใหผูใตบังคับบัญชากระทําผิดวินัย และดําเนินการทางวินัยแกผูใตบังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูล

ที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย

ผูบังคับบัญชาผูใดละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง หรือปฏิบัติหนาที่

ดังกลาวโดยไมสุจริต ใหถือวาผูนั้นกระทําผิดวินัย

• พนักงานสวนทองถิ่นผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติทางวินัย

ผูนั้นเปนผูกระทําผิดวินัย จักตองไดรับโทษทางวินัย เวนแตมีเหตุอันควรงดโทษ ทั้งนี้ การลงโทษทางวนิยัให

มีมาตรฐานเดียวกับที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน

• การดําเนินการทางวินัยแกพนักงานสวนทองถิ่นซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย ใหสอบสวนเพื่อใหไดความจริงและยุติธรรมโดยไมชักชา เวนแตเปนกรณีที่ไม

จําเปนตองสอบสวน ซึ่งไมทําใหเสียความเปนธรรม และจะสั่งใหผูถูกกลาวหาพักราชการหรือใหออกจาก

ราชการไวกอน เพื่อรอฟงผลการสอบสวนพิจารณาก็ได

การสอบสวนอยางนอยตองมีการแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐาน

ที่สนับสนุนขอกลาวหาใหผูถูกกลาวหาทราบ เพื่อใหผูถูกกลาวหามีโอกาสชี้แจงและนําสืบแกขอกลาวหา

และการใหสิทธิผูถูกกลาวหานําที่ปรึกษาหรือทนายความเขาฟงในการชี้แจง หรือใหปากคําของตน

กระบวนการสอบสวนใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลาง

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• ผู ส่ังลงโทษตองสั่งลงโทษใหเหมาะสมกับความผิดและมิใหเปนไปโดยพยาบาท โดยอคติ หรือโดยโทสะจริตหรือลงโทษผูที่ไมมีความผิด

Page 74: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 70

การลงโทษพนักงานสวนทองถิ่นใหทําเปนคําสั่ง ในคําสั่งลงโทษใหแสดง

ขอเท็จจริง พฤติการณการกระทําผิด ขอกฎหมายและขอพิจารณา ทั้งนี้ ใหระบุสิทธิในการอุทธรณและ

ระยะเวลาสําหรับการอุทธรณไวในคําสั่งลงโทษดวย

• พนักงานสวนทองถิ่นผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวา กระทําหรือละเวนกระทําการ

ใดที่พึงเห็นไดวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง และเปนการกลาวหาเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชาของ

ผูนั้นหรือตอผูมี หนาที่สืบสวนสอบสวน หรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเปน

การกลาวหาเปนหนังสือโดยผูบังคับบัญชาของผูนั้น หรือมีกรณีถูกฟองคดีอาญาหรือตองหาวากระทํา

ความผิดอาญา เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทที่ไมเกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ

แมภายหลังผูนั้นจะออกจาก ราชการไปแลว เวนแตออกจากราชการเพราะตาย ก็ใหมีการสืบสวนหรือ

พิจารณาและดําเนินการทางวินัย ตอไปได เสมือนวาผูนั้นยังมิไดออกจากราชการ

• เมื่อผูบังคับบัญชาไดดําเนินการทางวินัยหรือส่ังใหพนักงานสวนทองถิ่นออกจากราชการไปแลว ใหมีการรายงานการดําเนินการทางวินัย หรือการสั่งใหออกจากราชการดังกลาว

ตอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น เพื่อพิจารณาหรือตรวจสอบตามอํานาจหนาที่ที่กําหนดในกฎหมายวาดวย

ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการ

หรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด

• พนักงานสวนทองถิ่นซึ่งโอนมาจากพนักงานสวนทองถิ่นอื่น หรือขาราชการ

ตามกฎหมายอื่น ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยอยูกอนวันโอนมาบรรจุใหผูบังคับบัญชาของพนักงาน

สวนทองถิ่นผูนั้นดําเนินการทางวินัยตอไปได

3.5.1.7 การอุทธรณ

• พนักงานสวนทองถิ่นผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัยใหมีสิทธิอุทธรณได หลักเกณฑและวิธีการอุทธรณ และการพิจารณาอุทธรณ ใหเปนไปตาม

มาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด และอยางนอยตองมี

สาระสําคัญในเรื่อง สิทธิในการอุทธรณ สิทธิในการคัดคานผูพิจารณาอุทธรณดวยเหตุอันสมควร

สิทธิในการชี้แจงหรือแถลง ขอเท็จจริงเพิ่มเติมตามความจําเปน สิทธิการถอนอุทธรณ และการกําหนด

ระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณ ใหเปนไปดวยความรวดเร็วและเปนธรรม

• พนักงานสวนทองถิ่น ซึ่งโอนมาจากพนักงานสวนทองถิ่นอื่นหรือขาราชการ

ตามกฎหมายอื่น ผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัยอยูกอนวันโอนมาบรรจุและผูนั้นมีสิทธิอุทธรณไดตามกฎหมาย

วาดวยระเบียบขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นที่โอนมานั้นแตยังมิไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย

Page 75: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 71

ดังกลาว หรือไดใชสิทธิอุทธรณแตการพิจารณายังไมแลวเสร็จ ก็ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณ หรือมีสิทธิไดรับ

การพิจารณาอุทธรณตอไปไดแลวแตกรณี

3.5.1.8 การรองทุกข

• พนักงานสวนทองถิ่นผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการหรือเห็นวาผูบังคบับัญชาใชอํานาจหนาที่ปฏิบัติตอตนโดยไมถูกตองหรือไมปฏิบัติตอตนใหถูกตองตามกฎหมาย หรือมีความคับของใจ

อันเกิดจากการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาตอตน ใหผูนั้นมีสิทธิรองทุกขได

หลักเกณฑและวิธีการรองทุกขและการพิจารณาเรื่องรองทุกข ใหเปนไปตาม

มาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนด โดยมีหลักประกันและ

หลักเกณฑพื้นฐานเชนเดียวกับหลักเกณฑและวิธีการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ เวนแตการรองทุกข

กรณีพนักงานสวนทองถิ่นเห็นวาผูบังคับบัญชาใชอํานาจหนาที่ปฏิบัติตอตนโดยไมถูกตอง หรือไมปฏิบัติ

ตอตนใหถูกตองตามกฎหมายหรือมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาตอตน

อาจกําหนดขั้นตอนการทําความเขาใจกันระหวางพนักงานสวนทองถิ่นผูนั้นกับผู บังคับบัญชา

เพื่อแกปญหาในชั้นตนกอนก็ได

3.5.1.9 การบริหารงานบคุคลของพนกังานครสูวนทองถิ่น

• พนักงานครูสวนทองถิ่น ไดแก พนักงานสวนทองถิ่นซึ่งดํารงตําแหนงเปน

ผูสอนประจําในสถานศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือดํารงตําแหนงอื่นซึ่งมีหนาที่เปนผูบริหาร

หรือใหการศึกษาในสถานศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือดํารงตําแหนงที่มีหนาที่เกี่ยวกับ

การใหการศึกษา ซึ่งไมสังกัดสถานศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นนํากฎหมายวาดวย

ระเบียบ ขาราชการครู ในสวนที่เกี่ยวของมาใชบังคับกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานครูสวนทองถิ่น

โดยอนุโลม 3.5.1.10 การบริหารงานบุคคลของลูกจาง

• การบริหารงานบุคคลสําหรับลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นกําหนดมาตรฐานทั่วไป หลักเกณฑหรือ

วิธีปฏิบัติใหเหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติงานของลูกจางในแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 76: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 72

3.5.2 มาตรฐานทั่วไปการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น จากประกาศเรื่อง กําหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น ของ

คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น (ก.ถ.) ซึ่งกลาวมาแลวขางตน กับลักษณะ

โครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทยที่มีความแตกตางกัน สงผลใหการกําหนดมาตรฐาน

ทั่วไปการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น ที่ออกโดยคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น

(ก.กลาง) มีความแตกตางกันบางในบางประเด็น แตทั้งนี้เมื่อพิจารณาตามโครงสรางการบริหารงานบุคคล

สวนทองถิ่นทุกประเภทก็พบวามีลักษณะกระบวนการบริหารงานบุคคลที่เหมือนกัน โดยจะประกอบดวย

หลักการบริหารงานบุคคล ดังนี้

1) การกําหนดตําแหนงและอัตราตําแหนง

2) การกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการ

3) โครงสรางเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่น

4) การสรรหา และการบรรจุแตงตั้ง

5) การยาย

6) การโอน

7) การเลื่อนตาํแหนงและระดับ

8) การเลื่อนขัน้เงนิเดือน

9) การพัฒนบุคคล

10) วินัยและการดาํเนนิการทางวินัย

11) การอุทธรณ 12) การรองทกุข 13) การพนจากตําแหนง

1) การกําหนดตําแหนงและอัตราตําแหนง • ตําแหนงของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น มีอยู 3 ประเภท คือ

(1) ตําแหนงทั่วไป

(2) ตําแหนงวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ

(3) ตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงหรือบริหารระดับกลาง • ระดับตําแหนงขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัดและพนักงานเทศบาลมี 9 ระดับ

สวนพนักงานสวนตําบลมี 8 ระดับ โดยตําแหนงระดับที่ 1 เปนตําแหนงต่ําสุด เรียงสูงขึ้นไปตามลําดับ

ความยาก และคุณภาพของงาน จนถึงตําแหนงสูงสุด

Page 77: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 73

• ในปจจุบันตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น แบงเปน 8 กลุมงาน โดยมี

สายงานทั้งสิ้น 125 สายงาน

• การกําหนดตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น ในสวนราชการวาจะมี

ตําแหนงใด ระดับใด อยูในสวนราชการใด จํานวนเทาใด ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําเปน

แผนอัตรากําลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อเปนกรอบในการกําหนดตําแหนงและการใชตําแหนง

โดยเสนอใหคณะกรรมการระดับจังหวัดพิจารณาใหความเห็นชอบ

• การปรับปรุงการกําหนดตําแหนง สามารถทําได 5 วิธี คือ

- การปรับระดับระดับตําแหนงใหสูงขึ้นในสายงานเดิม

- การปรับลดหรือขยายระดับตาแหนง - การปรับเกลี่ยตําแหนงโดยไมเปลี่ยนสายงาน

- การปรับเกลี่ยตําแหนงโดยเปลี่ยนสายงาน หรือระดับตําแหนง

- การยุบเลิกตําแหนง แตทั้งนี้ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับจังหวัด

2) การกาํหนดโครงสรางการแบงสวนราชการ แบงตามประเภทองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้ องคการบริหารสวนจังหวัด

• ในการกําหนดโครงสรางสวนราชการขององคการบริหารสวนจังหวัดใหคํานึงถึงความตองการและความเหมาะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด โดยใหมีการแบงสวนราชการดังตอไปนี้

(1) สํานกัปลดัองคการบริหารสวนจงัหวัด

(2) กอง หรือสวนราชการทีเ่รียกชื่ออยางอื่น

ใหสวนราชการตาม (1) มีฐานะเปนกอง

• ใหองคการบริหารสวนจงัหวดัประกาศกําหนดกองหรือสวนราชการทีเ่รียกชื่ออยางอ่ืนโดยใหถอืวาเปนสวนราชการที่มีความจาํเปนในการบริหารราชการ ดังนี ้

(1) กองกิจการสภาองคการบริหารสวนจังหวัด

(2) กองแผนและงบประมาณ

(3) กองคลงั

(4) กองชาง

(5) หนวยตรวจสอบภายใน

ใหสวนราชการตาม (5) เปนสวนราชการที่มีฐานะต่ํากวากอง โดยใหข้ึนตรงตอ

ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด

Page 78: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 74

• องคการบริหารสวนจังหวัดอาจประกาศกําหนดกอง หรือสวนราชการอื่นไดตาม

ความเหมาะสม และความจําเปนขององคการบริหารสวนจังหวัด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด

• สํานักปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดมีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบลและราชการที่มิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานัก กอง หรือสวนราชการ

ใดในองคการบริหารสวนจังหวัดโดยเฉพาะ

• กอง หรือ สวนราชการใหมีหนาที่ตามที่องคการบริหารสวนจังหวัดกําหนด

โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด

• การแบงสวนราชการภายใน สํานักปลัด สํานัก กอง หรือสวนราชการใหกําหนดเปน

ประกาศองคการบริหารสวนจังหวัด โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการขาราชการองคการบริหาร

สวนจังหวัด

• การจัดตั้ง การปรับปรุง การรวมหรือยุบสวนราชการ ใหองคการบริหารสวนจังหวัดพิจารณาเสนอความเห็นและพิจารณาอัตรากําลัง การจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกันแลวเสนอตอ

คณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด พิจารณาใหความเห็นชอบ เทศบาล

• ในการกําหนดโครงสรางสวนราชการของเทศบาล ใหคํานึงถึงความตองการ และ

ความเหมาะสมของเทศบาล โดยใหมีโครงสรางสวนราชการ ดังนี้

(1) สํานักปลัดเทศบาล

(2) กองหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอืน่

• ใหเทศบาลอาจประกาศกาํหนดกองหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอืน่โดยใหถือวาเปนสวนราชการที่มีความจาํเปนในการบรหิารราชการ ดังนี ้

1) หนวยราชการที่เปนสํานักหรือกอง

(1) การคลัง

(2) การชาง

(3) การสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม

(4) การศึกษา

(5) วิชาการและแผนงาน

(6) การประปา

(7) การแพทย

(8) การชางสขุาภิบาล

Page 79: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 75

(9) สวัสดิการสังคม

2) หนวยงานตรวจสอบภายใน

• เทศบาลอาจประกาศกําหนดกอง หรือสวนราชการอื่นไดตามความเหมาะสม

และความจําเปนของเทศบาล โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล

• สํานักปลัดเทศบาลมีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของเทศบาลและราชการที่มิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานัก กอง หรือสวนราชการใดในเทศบาลโดยเฉพาะ

• สํานัก กอง หรือ สวนราชการใหมีหนาที่ตามที่เทศบาลกําหนด โดยไดรับความ

เห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานเทศบาล

• การแบงสวนราชการภายใน สํานักปลัด สํานัก กอง หรือสวนราชการใหกําหนด

เปนประกาศเทศบาล โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานเทศบาล

• การจัดตั้ง การปรับปรุง การรวมหรือยุบสวนราชการ ใหเทศบาลพิจารณาเสนอความเห็นและพิจารณาอัตรากําลัง การจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกันแลวเสนอตอคณะกรรมการ

พนักงานเทศบาล พิจารณาใหความเห็นชอบ

องคการบริหารสวนตําบล

• ในการกําหนดโครงสรางสวนราชการขององคการบริหารตําบลใหคํานึงถึงความตองการและความเหมาะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด โดยใหมีการแบงสวนราชการดังตอไปนี้

(1) สํานกัปลดัองคการบริหารสวนจงัหวัด

(2) กอง หรือสวนราชการทีเ่รียกชื่ออยางอื่น

ใหสวนราชการตาม (1) มีฐานะเปนกองหรือสวน

• ใหองคการบริหารสวนตําบลประกาศกําหนดกองหรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น โดยใหถือวาเปนสวนราชการหลักขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้

(2) กองหรือสวนการคลัง

(3) กองชางหรือสวนโยธา

สวนราชการที่องคการบริหารสวนตําบลอาจประกาศกําหนดไดตามความ

เหมาะสมขององคการบริหารสวนตําบล ไดแก

(1) กองหรือสวนสงเสริมการเกษตร

(2) กองหรือสวนสงเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

(3) กองหรือสวนราชการสวนสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม

(4) กองหรือสวนราชการอื่นตามความตองการและความเหมาะสมขององคการ

บริหารสวนตําบล

Page 80: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 76

• องคการบริหารตําบลอาจประกาศกําหนดกอง หรือสวนราชการอื่นไดตามความเหมาะสม และความจําเปนขององคการบริหารสวนตําบล โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงาน

สวนตําบล

• สํานักปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดมีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบลและราชการที่มิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานัก กอง หรือสวนราชการ

ใดในองคการบริหารสวนตําบลโดยเฉพาะ

• กอง หรือ สวนราชการใหมีหนาที่ตามที่องคการบริหารสวนตําบลกําหนด

โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานสวนตําบล

• การแบงสวนราชการภายในสํานักปลัดองคการบริหารสวนตําบล กอง หรือ

สวนราชการอื่น ใหกําหนดเปนประกาศองคการบริหารสวนตําบล โดยได รับความเห็นชอบจาก

คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล

การจัดตั้ง การปรับปรุง การรวมหรือยุบสวนราชการ ใหองคการบริหารสวนตําบล

พิจารณาเสนอความเห็นและพิจารณาอัตรากําลัง การจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกันแลวเสนอตอ

คณะกรรมการพนักงานสวนตําบล พิจารณาใหความเห็นชอบ

3) โครงสรางเงนิเดือนและประโยชนตอบแทนอื่น อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหนงและการรับเงินประจําตําแหนงของขาราชการหรือ

พนักงานสวนทองถิ่น เปนไปตามกฎหมายวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงที่กําหนดไวสําหรับ

ขาราชการพลเรือน หรือขาราชการครู แลวแตกรณีมาบังคับใชโดยอนุโลม ทั้งนี้ ปจจุบันยังคงใชตามบัญชี

แนบทาย พ.ร.บ. เงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. 2538 ยกเวนขาราชการหรือพนักงานครู และ

บุคลากรทางการศึกษาบางตําแหนง

4) การสรรหา และการบรรจแุตงต้ัง การสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่นมีอยูหลายรูปแบบ ดังนี้

1. การสอบแขงขัน

2. การคัดเลือกกรณีที่มีเหตพุิเศษ (ไมตองสอบแขงขัน)

3. การสอบคัดเลือก เพื่อแตงตัง้ใหดํารงตําแหนงสูงขึน้

4. การคัดเลือก เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสงูขึ้น (โดยไมตองสอบคัดเลือก)

นอกจากนี้ ในสวนของเทศบาลไดกําหนดเพิ่มเติมในเรื่องการคัดเลือกเพื่อรับโอนมาแตงตั้ง

ใหดํารงตําแหนงบริหารหรือสายงานผูบริหารสถานศึกษา

Page 81: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 77

5) การยาย การยายใหไปดํารงตําแหนงอื่นในองคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจทําไดในสายงานเดิม

หรือตางสายงาน โดยเปนอํานาจของผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น แตสําหรับการยายใหไปดํารง

ตําแหนงในสายงานที่ตํ่ากวาเดิมหรือระดับตํ่ากวาเดิมใหกระทําไดเมื่อขาราชการหรือพนักงานผูนั้น

สมัครใจ และตองรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับจังหวัด

6) การโอน การโอนขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นจากแหงหนึ่งไปอีกแหงหนึ่ง ซึ่งเปนไปตาม

ความตองการของขาราชการหรือพนักงานผูนั้น ในปจจุบันมีอยู 4 รูปแบบ ไดแก

- การโอนภายในจังหวัดเดียวกัน

- การโอนระหวางจังหวัด

- การโอนขามประเภทขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

- การโอนไปเปนขาราชการประเภทอื่น

ทั้งนี้ การโอนจะสามารถกระทําไดตอเมื่อเปนการตกลงยินยอมของผูบริหารทั้งสองฝาย

รวมทั้งตัวขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นเอง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการระดับจังหวัด

7) การเลื่อนตําแหนงและระดับ การเลื่อนตําแหนงและระดับขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น อาจทําไดโดยจากการ

สอบแขงขัน การสอบคัดเลือก และการคัดเลือก ในรูปแบบ ดังนี้

1. การเลื่อนและแตงตั้งจากผูสอบแขงขันได

2. การเลื่อนและแตงตั้งจากผูสอบคัดเลือกได

3. การเลื่อนและแตงตั้งจากผูที่ไดรับการคัดเลือก ไดแก

- การเลื่อนในระดับควบ

- การเลื่อนนอกระดับควบ

- การเลื่อนและแตงตั้งในตําแหนงสําหรับผูปฎิบัติงานที่มีประสบการณ - การเลื่อนและแตงตั้งในตําแหนงสายผูบริหาร

ทั้งนี้ ในทุกกรณีตองไดรับความเห็นชอบจากผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ

คณะกรรมการระดับจังหวัด

Page 82: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 78

8) การเลื่อนขั้นเงินเดือน การเลื่อนขั้นเงินเดือนของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น ใหผูบังคับบัญชาเปนผู

พิจารณา โดยคํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ตลอดจนการรักษา

ระเบียบวินัยและความเหมาะสมกับการปฎิบัติหนาที่ ทั้งนี้ เมื่อผูบังคับบัญชาไดพิจารณาแลว ใหองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นตั้งคณะกรรมการเพื่อทําหนาที่พิจารณาตามหลักเกณฑที่กําหนด โดยใหผูบริหาร

องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูมีอํานาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนในทุกตําแหนงตามความเห็นของ

คณะกรรมการดังกลาว

9) การพัฒนาบคุคล การพัฒนาบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิน่ แบงออกไดเปน 2 สวนใหญ ๆ ไดแก

1. การสงเสริมโดยการเพิ่มพนูคุณวุฒ ิไดแก การใหไปศึกษาเพิ่มเติม

2. การเสริมสมรรถนะบุคลากรในองคกร ไดแก การจัดฝกอบรม การศึกษาดูงาน

การสงไปฝกปฏิบัติงานและการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น

โดยใหผูบังคับบัญชามีหนาที่พัฒนาผูใตบังคับบัญชาเพื่อเพิ่มพูนความรู ทักษะ ทัศนคติ

ที่ดี รวมถึงคุณธรรมและจริยธรรม อันจะทําใหปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธภาพ

10) วินัย และการดําเนินการทางวนิัย ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น ตองรักษาวินัยตามที่กําหนดเปนขอหามและ

ขอปฏิบัติ ของประกาศคณะกรรมกลางมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น โดยการกําหนด

การลงโทษทางวินัยของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นมี 5 สถาน คือ

(1) ภาคทัณฑ

(2) ตัดเงินเดือน

(3) ลดขั้นเงินเดือน

(4) ปลดออก

(5) ไลออก

กระบวนการการสอบสวน การดําเนินทางวินัยทางวินัยแกขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่นที่ถูกแจงขอกลาวหา ตองกระทําโดยไมชักชาและตองแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐาน

ใหผูถูกกลาวหาทราบและตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาชี้แจงและนําสืบแกขอกลาวหา ในการชี้แจง

แกขอกลาวหาและการใหปากคําของผูถูกกลาวหาโดยมีขอกําหนดประเภทความผิด คือ

1.การกระทําความผิดวินัยไมรายแรง ถาเปนการกลาวหาวาเปนการกระทําความผิด

วินัยที่ไมรายแรง ใหดําเนินการสอบสวนตามที่ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นเห็นสมควร

2.การกระทําความผิดวินัยอยางรายแรง ถาเปนการกลาวหาวาเปนการกระทํา

ความผิดทางวินัยอยางรายแรง ใหผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นตั้งคณะกรรมการสอบสวน

Page 83: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 79

ทั้งนี้ ในการลงโทษทางวินัยไมรายแรง ใหผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูมี

อํานาจในการออกคําสั่ง แตตองรายงานใหคณะกรรมการระดับจังหวัดทราบดวย สําหรับในสวนของ

การลงโทษวินัยรายแรง เมื่อผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นพิจารณาแลวตองเสนอใหคณะกรรมการ

ระดับจังหวัดใหความเห็นชอบกอน

11) การอุทธรณ ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นที่ถูกคําสั่งลงโทษทางวินัย สามารถยื่นเรือ่งอทุธรณตอ

คณะกรรมการระดับจังหวัดได ทั้งนี้ หากยังไมพอใจในผลการพิจารณาของคณะกรรมการระดับจังหวัด

ก็สามารถยื่นเรื่องตอศาลปกครองใหมีการพิจารณาไตสวนความชอบดวยกฏหมายของการออกคําสั่ง

ลงโทษได

สิทธิในการยืน่อุทธรณ มีดังนี ้

(1) การอุทธรณคําสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือนหรอืลดขั้นเงินเดือน

(2) การอุทธรณคําสั่งลงโทษปลดออก หรือ ไลออก

3) การอุทธรณ ในกรณีขาราชการหรือพนกังานสวนทองถิ่น ที่รับโอนมา

12) การรองทกุข ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิน่ มีสิทธิในการรองทุกข ในกรณีดังนี ้

(1) ถูกสั่งใหออกจากราชการ

(2) เห็นวาผูบังคับบัญชาใชอํานาจหนาที่ปฏิบัติตอตนโดยไมถูกตองหรือไมปฏิบัติตอตน

ใหถูกตองตามกฎหมาย หรือมีความคับของของใจอันเกิดจากการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาตอตน ทั้งนี้

การรองทุกขในกรณีที่เหตุแหงการรองทุกขเกิดจากผูบังคับบัญชาอื่นซึ่งไมใชผูบริหารองคปกครอง

สวนทองถิ่นใหยื่นเรื่องราวรองทุกขตอผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น

13) พนจากตําแหนง การออกจากราชการของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น มีอยูหลายกรณี ไดแก

(1) ตาย

(2) พนจากราชการตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการสวนทองถิ่น

(3) ลาออกจากราชการและไดรับอนุญาตใหลาออกหรือการลาออกมีผลตาม (2)

(4) ถูกสั่งใหออกจากราชการ เนื่องดวยไมผานการทดลองปฏิบัติราชการ หรือขาด

คุณสมบัติ

(5) มีคําสั่งใหปลดออก หรือไลออก

Page 84: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 80

3.6 การกําหนดตําแหนง โครงสรางการแบงสวนราชการ และตําแหนงสายงานบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

3.6.1 การกําหนดตําแหนงขององคกรปกครองสวนทองถิ่น คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น หรือ ก.กลาง ไดกําหนดตําแหนง

ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น โดยแบงตําแหนงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้

1. ตําแหนงประเภททั่วไป

2. ตําแหนงประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7 ข้ึนไป)

3. ตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ข้ึนไป)

การกําหนดตําแหนงออกเปนประเภทตางๆ มีผลตอการกําหนดจํานวนสายงานขาราชการ

หรือพนักงานสวนทองถิ่น โดยแบงตามประเภทขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้

• กําหนดสายงานขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด 90 สายงาน

• กําหนดสายงานพนักงานเทศบาล 113 สายงาน

• กําหนดสายงานพนักงานสวนตําบล 70 สายงาน

ตารางที่ 2 การกําหนดตําแหนงขององคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.)

การกาํหนดตาํแหนงของ อบจ. สายงานนักบริหาร

1. นักบริหารงาน อบจ. 7 - 9 2.นักบริหารงานทั่วไป 6 - 9 3. นักบริหารงานคลัง 6 - 9

4.นักบริหารงานนโยบายและแผน 6 - 9 5.นักบริหารงานชาง 6 - 9 6. นักบริหารการศึกษา 6 - 9

7.นักบริหารงานสาธารณสุข 6 - 9 8.ผูบริหารสถานศึกษา (ระบบวิทยฐานะ)

สายงานเริ่มตนจากระดับ 3 และ 4

1. เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 3 - 7 2.จนท.วิเคราะหนโยบายและแผน 3 - 7 3.เจาหนาที่ระบบงานคอมพิวเตอร 3 - 7

4.บุคลากร 3 - 7 5.นิติกร 3 - 7 6.นักวิชาการพัสดุ 3 - 7

7.นักวิชาการพัฒนาทองเที่ยว 3 - 7 8.นักวิชาการคลัง 3 - 7 9.นักวิชาการเงินและบัญชี 3 - 7

10.เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน 3 - 7 11.นักวิชาการประชาสัมพันธ 3 - 7 12.วิศวกรโยธา 3 - 7

13.วิศวกรไฟฟา 3 - 7 14.วิศวกรสุขาภิบาล 3 - 7 15.นักสถาปตยกรรม 3 - 7

16.วิศวกรสิ่งแวดลอม 3 - 7 17.นักวิศวกรเครื่องกล 3 - 7 18.นักสังคมสงเคราะห 3 - 7

19.นักผังเมือง 3 - 7 20.บรรณารักษ 3 - 7 21.นักพัฒนาชุมชน 3 - 7

22.นักวิชาการสิ่งแวดลอม 3 - 7 23.นายแพทย 4 - 7 24.ทันตแพทย 4 - 7

25.ทันตสาธารณสุข 4 - 7 26.นายสัตวแพทย 4 - 7 27.นักวิชาการสุขาภิบาล 3 - 7

28.นักวิชาการสงเสริมสุขภาพ 3 - 7 29.พยาบาลวิชาชีพ 3 - 7 30.เภสัขกรรม 3 - 7

31.ศึกษานิเทศก (ระบบวิทยฐานะ) 32.สันทนาการ 3 - 7 33.นักวิชาการวิทยาศาสตรการแพทย 3 - 7

34.นักวิชาการศึกษา 3 - 7 35.ผูสอนในสถานศึกษา (ระบบวิทยฐานะ)

Page 85: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 81

สายงานเริ่มตนจากระดับ 2

1.จพง.ธุรการ 2 - 6 2.จพง.พัสดุ 2 - 6 3.จพง.สงเสริมการทองเที่ยว 2 - 6

4.จพง.การคลัง 2 - 6 5.จพง.การเงินและบัญชี 2 - 6 6.จพง.ประชาสัมพันธ 2 - 6

7.นายชางโยธา 2 - 6 8.นายชางไฟฟา 2 - 6 9.นายชางเขียนแบบ 2 - 6

10.นายชางสํารวจ 2 - 11.นายชางเครื่องกล 2 - 6 12.นายชางผังเมือง 2 - 6

13.จพง.พัฒนาชุมชน 2 - 6 14.จพง.หองสมุด 2 - 6 15.ทันตามัย 2 - 6

16.สัตวแพทย 2 - 6 17.จพง.สุขาภิบาล 2 - 6 18.จพง.สงเสริมสุขภาพ 2 - 6

19.การพยาบาลเทคนิค 2 - 6 20.จพง.วิทยาศาสตรการแพทย 2 - 6 21.จพง.สาธารณสุขชุมชน 2 - 6

22.จพง.โภชนาการ 2 - 6 23.ทันตสาธารณสุข 2 - 6 24.จพง.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 2 - 6

สายงานที่เริ่มตนจากระดับ 1

1.จนท.ธุรการ 1 - 5 2.จนท.พัสดุ 1 - 5 3.จนท.บันทึกขอมูล 1 - 5

4.จนท.สงเสริมการทองเที่ยว 1 - 5 5.จนท.การคลัง 1 - 5 6.จนท.การเงินและบัญชี 1 - 5

7.จนท.ประชาสัมพันธ 1 - 5 8.ชางโยธา 1 - 5 9.ชางไฟฟา 1 - 5

10.ชางเขียนแบบ 1 - 5 11.ชางสํารวจ 1 - 5 12.ชางผังเมือง 1 - 5

13.ชางเครื่องกล 1 - 5 14.จนท.หองสมุด 1 - 5 15.จนท.พัฒนาชุมชน 1 - 5

16.จนท.วิทยาศาสตรการแพทย 1 - 5 17.จนท.สุขาภิบาล 1 - 5 18.จนท.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1 - 5

19.จนท.สงเสริมสุขภาพ 1 - 5 20.ผดุงครรภสาธารณสุข 1 - 5 21.จนท.พยาบาล 1 - 5

22.ชวยเภสัชกร 1 - 5 23.รังสีเทคนิค 1 - 5

หมายเหตุ : ในสายงานประเภทวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สายงานที่เร่ิมตนจากระดับ 2 สามารถขอ

ปรับปรุงตําแหนงใหสูงขึ้นได ถึงระดับ 6 และระดับ 7 และสายงานที่เร่ิมจากระดับ 3-4 สามารถขอปรับปรุง

ตําแหนงใหสูงขึ้นได ถึงระดับ 8 และระดับ 9

ตารางที ่3 การกําหนดตําแหนงของเทศบาล

การกําหนดตําแหนงของเทศบาล

สายงานนักบริหาร

1..นักบริหารงานเทศบาล 6 - 10 2.นักบริหารงานทั่วไป 6 - 9 3. นักบริหารงานคลัง 6 - 9

4.นักบริหารงานเมืองพัทยา 8 - 9 5.นักบริหารงานชางสุขาภิบาล 6 - 9 6.นักบริหารงานชาง 6 - 9

7.นักบริหารงานสวัสดิการสังคม 6 - 9 8.นักบริหารงานสาธารณสุข 6 - 9 9.นักบริหารงานประปา 6 - 9

10.นักบริหารการศึกษา 6 - 9 11. ผูบริหารสถานศึกษา (ระบบวิทยฐานะ)

สายงานเริ่มตนจากระดับ 3 และ 4

1. เจาพนักงานเทศกิจ 3-7 2.เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน 3-7 3.เจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร 3-7

Page 86: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 82

4.เจาหนาที่ระบบคอมพิวเตอร 3-7 5.เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 3-7 6.เภสัชกรรม 3-7

7.การพยาบาลวิชาชีพ 3-7 8.นักผังเมือง 3-7 9.นักพัฒนาการทองเที่ยว 3-7

10.นักพัฒนาชุมชน 3-7 11.นักวิจัยการจราจร 3-7 12. สถาปตยกรรม 3-7

13.นักวิชาการเงินและบัญชี 3-7 14.นักวิชาการคลัง 3-7 15.นักวิชาการจัดเก็บรายได 3-7

16.นักวิชาการประชาสัมพันธ 3-7 17.นักวิชาการพัสดุ 3-7 18.นักวิชาการสงเสริมสุขภาพ 3-7

19.นักวิชาการสวนสาธารณะ 3-7 20.นักวิชาการสุขาภิบาล 3-7 21.นักวิทยาศาสตร 3-7

22.นักวิทยาศาสตรการแพทย 3-7 23.นักสังคมสงเคราะห 3-7 24.นิติกร 3-7

25.บุคลากร 3-7 26.วิศวกรเครื่องกล 3-7 27.วิศวกรโยธา 3-7

28.วิศวกรไฟฟา 3-7 29.วิศวกรสุขาภิบาล 3-7 30.แพทย 4-7

31.วิชาการสัตวแพทย 4-7 32.ทันตแพทย 4-7 33.บรรณารักษ 3-7

34.สันทนาการ 3-7 35.นักวิชาการศึกษา 3-7 36.นักวิชาการวัฒนธรรม 3-7

37.ผูสอนในสถานศึกษา (ระบบวิทยฐานะ) 38.ศึกษานิเทศก (ระบบวิทยฐานะ)

สายงานเริ่มตนจากระดับ 2

1.เจาพนักงานโภชนาการ 2-6 2.เจาพนักงานการเงินและบัญชี 2-6 3.เจาพนักงานการคลัง 2-6

4.เจาพนักงานการประปา 2-6 5.เจาพนักงานจัดเก็บรายได 2-6 6.เจาพนักงานทะเบียน 2-6

7.เจาพนักงานธุรการ 2-6 8.เจาพนักงานประชาสัมพันธ 2-6 9.เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 2-6

10.เจาพนักงานพฒันาชุมชน 2-6 11.เจาพนักงานพัสดุ 2-6 12.เจาพนักงานวิทยาศาสตร 2-6

13.เจาพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย 2-6 14.เจาพนักงานศูนยเยาวชน 2-6 15.เจาพนักงานสงเสริมการทองเที่ยว 2-6

16.เจาพนักงานสงเสริมสุขภาพ 2-6 17.เจาพนักงานสวนสาธารณะ 2-6 18.เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 2-6

19.เจาพนักงานสุขาภิบาล 2-6 20.เจาพนักงานหองสมุด 2-6 21.เจาหนาที่รังสีการแพทย 2-6

22.การพยาบาลเทคนิค 2-6 23.ทันตสาธารณสุข 2-6 24.นายชางเขียนแบบ 2-6

25.นายชางเครื่องยนต 2-6 26.นายชางโยธา 2-6 27.นายชางไฟฟา 2-6

28.นายชางผังเมือง 2-6 29.นายชางภาพ 2-6 30.นายชางศิลป 2-6

31.นายชางสํารวจ 2-6 32.สัตวแพทย 2-6

สายงานที่เริ่มตนจากระดับ 1

1.เจาหนาที่เทศกิจ 1-5 2.เจาหนาที่การเงินและบัญชี 1-5 3.เจาหนาที่การคลัง 1-5

4.เจาหนาที่การประปา 1-5 5.เจาหนาที่จัดเก็บรายได 1-5 6.เจาหนาที่ทะเบียน 1-5

7.เจาหนาที่ธุรการ 1-5 8.เจาหนาที่บันทึกขอมูล 1-5 9.เจาหนาที่ประชาสัมพันธ 1-5

10.เจาหนาที่พัฒนาชุมชน 1-5 11.เจาหนาที่พยาบาล 1-5 12.เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1-5

13.เจาหนาที่พัสดุ 1-5 14.เจาหนาที่วิทยาศาสตร 1-5 15.เจาหนาที่วิทยาศาสตรการแพทย 1-5

16.เจาหนาที่ศูนยเยาวชน 1-5 17.เจาหนาที่สงเสริมการทองเที่ยว 1-5 18.เจาหนาที่สงเสริมสุขภาพ 1-5

19.เจาหนาที่สวนสาธารณะ 1-5 20.เจาหนาที่สุขาภิบาล 1-5 21.เจาหนาที่หองสมุด 1-5

22.โภชนาการ 1-5 23.ชางเขียนแบบ 1-5 24.ชางเครื่องยนต 1-5

Page 87: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 83

25.ชางโยธา 1-5 26.ชางไฟฟา 1-5 27.ชางผังเมือง 1-5

28.ชางภาพ 1-5 29.ชางศิลป 1-5 30.ชางสํารวจ 1-5

31.ผดุงครรภสาธารณสุข 1-5 32.ชวยเภสัขกร 1-5

หมายเหตุ : ในสายงานประเภทวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สายงานที่เร่ิมตนจากระดับ 2 สามารถขอ

ปรับปรุงตําแหนงใหสูงขึ้นได ถึงระดับ 6 และระดับ 7 และสายงานที่เร่ิมจากระดับ 3-4 สามารถขอปรับปรุง

ตําแหนงใหสูงขึ้นได ถึงระดับ 8 และระดับ 9 ตารางที ่4 การกําหนดตําแหนงขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

การกาํหนดตาํแหนงของ อบต.

สายงานนักบริหาร

1.นักบริหารงาน อบต. 6-8 2.นักบริหารงานทั่วไป 6-8 3. นักบริหารงานคลัง 6-8

4.นักบริหารงานชาง 6-8 5.นักบริหารงานการเกษตร 6-8 6.นักบริหารงานสวัสดิการสังคม 6-8

7.นักบริหารการศึกษา 6-7 8.นักบริหารงานสาธารณสุข 6-8

สายงานเริ่มตนจากระดับ 3

1. เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 3-7 2.เจาพนักงานเทศกิจ 3-7 3.เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน 3-7

4.บุคลากร 3-7 5.นิติกร 3-8 6.นักผังเมือง 3-7

7.นักพัฒนาการทองเที่ยว 3-7 8.นักพัฒนาชุมชน 3-7 9.นักวิชาการเงินและบัญชี 3-7

10. นักวิชาการคลัง 3-7 11.นักวิชาการจัดเก็บรายได 3-7 12.นักวิชาการเกษตร 3-7

13.นักวิชาการประชาสัมพันธ 3-7 14.นักวิชาการศึกษา 3-7 15.นักวิชาการสงเสริมสุขภาพ 3-7

16.นักวิชาการสุขาภิบาล 3-7 17.นักสังคมสงเคราะห 3-7 18.บรรณารักษ 3-7

19.พยาบาลวิชาชีพ 3-7 20.วิศวกรโยธา 3-7 21.สถาปนิก 3-7

สายงานเริ่มตนจากระดับ 2

1.เจาพนักงานธุรการ 2-6 2. เจาพนักงานสงเสริมการทองเที่ยว 2-6 3.เจาพนักงานพัสดุ 2-6

4.เจาพนักงานจัดเก็บรายได 2-6 5.เจาพนักงานการเงินและบัญชี 2-6 6.นายชางผังเมือง 2-6

7.นายชางโยธา 2-6 8.นายชางเครื่องยนต 2-6 9.นายชางเขียนแบบ 2-6

10.นายชางสํารวจ 2-6 11.เจาพนักงานการประปา 2-6 12.เจาพนักงานศูนยเยาวชน 2-6

13.เจาพนักงานหองสมุด 2-6 14.เจาพนักงานพฒันาชุมชน 2-6 15.เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยั 2-6

16.สัตวแพทย 2-6 17.เจาพนักงานสุขาภิบาล 2-6 18.เจาพนักงานสงเสริมสุขภาพ 2-6

19.พยาบาลเทคนิค 2-6 20.เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 2-6 21.เจาพนักงานโภชนาการ 2-6

22.ทันตสาธารณสุข 2-6

Page 88: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 84

สายงานที่เริ่มตนจากระดับ 1

1.เจาหนาที่ธุรการ 1-5 2.เจาหนาที่บันทึกขอมูล 1-5 3.เจาหนาที่จัดเก็บรายได 1-5

4.เจาหนาที่พัสดุ 1-5 5.เจาหนาที่การเงินและบัญชี 1-5 6.เจาหนาที่ศูนยเยาวชน 1-5

7.เจาหนาที่ประชาสัมพันธ 1-5 8.เจาหนาที่หองสมดุ 1-5 9.เจาหนาที่พัฒนาชุมชน 1-5

10.ชางผังเมือง 1-5 11.เจาหนาที่เทศกิจ 1-5 12.เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1-5

13.ชางโยธา 1-5 14.ชางไฟฟา 1-5 15.ชางเขียนแบบ 1-5

16.ชางสํารวจ 1-5 17.เจาหนาที่การประปา 1-5 18.เจาหนาที่สุขาภิบาล 1-5

19. ผดุงครรภสาธารณสุข 1-5

3.6.2 โครงสรางการแบงสวนราชการ และตําแหนงสายงานบริหารขององคกรปกครอง

สวนทองถิ่น 3.6.2.1 โครงสรางการแบงสวนราชการ และตําแหนงสายงานบริหารขององคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) มีการกําหนดโครงสรางที่มีผลกระทบตอการกําหนดตําแหนงของปลัดองคการ

บริหารสวนจังหวัด (ซึ่งมี 2 ระดับ คือ ระดับ 8 หรือ ระดับ 9) รองปลัดองคการบริหารสวนจังหวัด (ตาม

ระดับตําแหนงของปลัด อบจ.) และหัวหนาสวนราชการระดับกองที่อยูภายใตโครงสรางการแบงสวน

ราชการขององคการบริหารสวนจังหวัด ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวากระบวนการประเมินคางานมีผลตอการ

กําหนดระดับตําแหนงของงานตาง ๆ ในองคการบริหารสวนจังหวัด รายละเอียดดังภาพที่ 14 และตารางที่ 5

Page 89: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 85

ภาพที่ 14 การกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.)

ตารางที่ 5 ตําแหนงสายงานบริหารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนจังหวัด

(อบจ.)

ตําแหนง จํานวน ระดับตําแหนง หมายเหต ุ

ปลัด อบจ. 1 8 หรือ 9 ไมยืดหยุน

รองปลัด อบจ. 1-3 7 หรือ 8

หัวหนาสวนราชการระดับกอง 7 หรือ 8 ไมยืดหยุน

หัวหนาฝาย 6 หรือ 7

การกาํหนดโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนจงัหวัด (อบจ.)

สวนราชการที่จําเปนตองมี

- สํานักปลัด

- กองกิจการสภา

- กองแผนและงบประมาณ

- กองคลัง

- กองชาง

- หนวยตรวจสอบภายใน

สวนราชการอื่นตามความจําเปน

- กองสาธารณสุข

- กองกิจการพาณิชย

- กองกิจการขนสง

- กองสงเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

- กองพฒันาชนบท

- กองสงเสริมคุณภาพชีวิต

- กองปองกันและบรรเทาสาธรณภัย

- กองทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- กองพัสดุและทรัพยสิน

อบจ.

Page 90: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 86

3.6.2.2 โครงสรางการแบงสวนราชการ และตําแหนงสายงานบริหารตําแหนง สายงานบริหารของเทศบาล

มีการกําหนดโครงสรางที่มีผลกระทบตอการกําหนดตําแหนงของปลัดเทศบาล

(ระดับ 7 หรือ 8 หรือ 9 หรือ 10) รองปลัดเทศบาล และหัวหนาสวนราชการระดับกองที่อยูใตโครงสราง

การแบงสวนราชการของเทศบาล

ซึ่งจากผลดังกลาวจะทําใหเกิดเกณฑการประเมินคางานดังนี้

1) เกณฑรายไดไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณที่ผานมา (150 ลานบาท

ข้ึนไป คือ เทศบาลขนาดใหญ , 20 ลานบาทขึ้นไป คือ เทศบาลขนาดกลาง และต่ํากวานั้น คือ เทศบาล

ขนาดเล็ก)

2) เกณฑปริมาณงาน (ดูจากตัวชี้วัดดานคาใชจายบุคลากร ตัวชี้วัดดาน

เศรษฐกิจและสังคม เชนความกวางของพื้นที่ของเทศบาล จํานวนประชากรในพื้นที่เทศบาล ประปา ถนน

ทางระบายน้ํา ฯลฯ)

3) เกณฑประสิทธิภาพ (ดูจากมิติดานประสิทธิผลตามแผนพัฒนา มิติดาน

คุณภาพการใหบริการ มิติดานประสิทธิภาพของปฏิบัติราชการ มิติดานพัฒนาองคกร มิติดานการบริหาร

จัดการที่ดี)

รายละเอียดดังภาพที่ 15 และตารางที่ 6

Page 91: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 87

ภาพที่ 15 การกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการเทศบาล

การกาํหนดโครงสรางการแบงสวนราชการเทศบาล

สวนราชการที่จําเปนตองมี สวนราชการอื่นตามความจําเปน

- กองสงเสริมวัฒนธรรม

- กองเทคโนโลยีสารสนเทศ

- กองนิติการ

- กองวิเทศสัมพันธ

- กองปองกันและบรรเทาสาธรณภัย

- กองสงเสริมการพัฒนาอาชีพ

- กองกิจการขนสง

- กองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

- กองสงเสริมกิจการพาณิชย

- กองเทศกิจ

- กองสงเสริมการเกษตร

- กองผังเมือง

- กองทะเบียนราษฎรและบัตรประชาชน

เทศบาล - ใหญ - กลาง - เล็ก

-เกณฑรายได -เกณฑช้ีวัด -ดานบุคคล -ดานเศรษฐกิจและสังคม -ดานประสิทธิภาพ -ดานธรรมาภิบาล

- สํานักปลัด

- กอง/สํานักการชาง

- กอง/สํานักการสาธารณสุข

- กอง/สํานักการศึกษา

- กอง/สํานักการวิชาการและแผนงาน

- กอง/สํานักการประปา

- กอง/สํานักการแพทย

- กอง/สํานักการชางสุขาภิบาล

- กองสวัสดิการสังคม

- ตรวจสอบภายในและแขวง

Page 92: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 88

ตารางที่ 6 ตําแหนงสายงานบริหารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการเทศบาล

ใหญ (ชั้น 1 เดิม)

กลาง (ชั้น 2-6 เดิม)

เล็ก (ชั้น 7 เดิม)

รายไดไมรวมเงินอุดหนุน

ปงบประมาณที่ผานมา

รายไดไมรวมเงินอุดหนุน

ปงบประมาณที่ผานมา

รายไดไมรวมเงินอุดหนุน

ปงบประมาณที่ผานมา

150 ลานบาทขึ้นไป 40 ลานบาท

ขึ้นไป

20 ลานบาท

ขึ้นไป

8 ลานบาท

ขึ้นไป ชั้น 7 เดิม

ปลัดเทศบาล

( นั ก บ ริ ห า ร ง า น

เทศบาล)

10 9 8 7 6

รองปลัดเทศบาล

( นั ก บ ริ ห า ร ง า น

เทศบาล)

9 หรือ 8 หรือ 7

(จํานวน 2-4 คน

ระดับ 7 มีไมเกิน 1 คน)

8 หรือ 7

(จํานวน 1-3

คน)

7 หรือ 6

(จํานวน 1-2

คน)

- -

หัวหนาสวนราชการ

ระดับสํานัก

(นักบริหารงาน...9)

9 - -

หัวหนาสวนราชการ

ร ะ ดั บ สํ า นั ก ห รื อ

เทียบเทา

(นักบริหารงาน..6-8)

8 8 หรือ 7 7 7 หรือ 6

หัวหนาฝาย

(นักบริหารงาน..6-7)

7 หรือ 6 7 หรือ 6 7 หรือ 6 -

3.6.2.2 โครงสรางการแบงสวนราชการ และตําแหนงสายงานบริหารตําแหนง

สายงานบริหารขององคการบริหารสวนตําบล

มีการกําหนดโครงสราง ที่มีผลกระทบตอการกําหนดตําแหนงของปลัด อบต.

(ระดับ 6-8) รองปลัด อบต. และหัวหนาสวนราชการระดับกองที่อยูใตโครงสรางการแบงสวนราชการของ

อบต. (ตามขนาดตําแหนงปลัด อบต.) โดยเกณฑที่ใชในการประเมินคางานจะใชเกณฑ 3 ประการ คือ

1) เกณฑรายไดไมรวมเงินอุดหนุนในปงบประมาณที่ผานมา โดยถารายไดมากกวา 20 ลานบาท คือ อบต.

ขนาดใหญ รายไดมากกวา 6 ลานบาท แตไมถึง 20 ลานบาท คือ อบต. ขนาดกลาง และรายไดตํ่ากวา

6 ลานบาท คือ อบต. ขนาดเล็ก 2) เกณฑปริมาณงาน โดยดูจากจํานวนประชากรในพื้นที่ของ อบต.

จํานวนพื้นที่ของ อบต. และสัดสวนคาใชจายดานบุคลากรตอรายไดไมรวมเงินอุดหนุนของ อบต.

ขนาดเทศบาล

ระดับตําแหนง

Page 93: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 89

3) เกณฑประสิทธิภาพ โดยดูจากมิติดานประสิทธิภาพตามแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบล

(ยุทธศาสตร) รายละเอียดดังภาพที่ 16 ตารางที่ 7

ภาพที่ 16 การกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนตําบล

การกาํหนดโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

สวนราชการที่เปนตองม ี กองหรือสวนราชการอื่นตามความจําเปน

- กองสวัสดิการสังคม

- กองสงเสริมการเกษตร

- กองสงเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

- กองนิติการ

- กองสาธารณสุข

- กองกิจการพาณิชย

- กองสงเสริมการพัฒนาอาชีพ

- กองเทศกิจ

- กองผังเมือง

- กองปองกันและบรรเทาสาธรณภัย

อบต. - ใหญ : 20 ลาน - กลาง : 6 ลาน - เล็ก

-เกณฑรายได

-เกณฑชี้วัด

-ดานบุคคล

-ดานเศรษฐกิจและ

สังคม

-ดานประสิทธิภาพ

-ดานธรรมาภิบาล

- สํานักปลัด

- กองหรือสวนการคลัง

- กองหรือสวนการโยธา

- กองหรือสวนการสงเสริมการเกษตร

- กองหรือสวนการศึกษาและวัฒนธรรม

- กองหรือสวนสาธารณสุข

Page 94: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 90

ตารางที่ 7 ตําแหนงสายงานบริหารตามกรอบโครงสรางการแบงสวนราชการองคการบริหารสวนตําบล

ใหญ

กลาง

เล็ก

ปลัด อบต. 8 หรือ 7 7 หรือ 6 6

รองปลัด อบต. 8 หรือ 7

(กําหนดระดับ 8 ได

ตอเมื่อมีการกําหนด

สวนราชการระดับ

กองเปนระดับ 8)

7 หรือ 6 ไมมี

หัวหนาสวนราชการระดับกอง

หรือเทียบเทา

8 หรือ 7 7 หรือ 6 6

ปลัดระดับ 8 อบต. ตองมีรายได 20 ลานบาท ข้ึนไป

ผอ.กอง 8 อบต. ตองมีรายได 40 ลานบาท ข้ึนไป มีรองปลัด อบต. ระดับ 8 ได เมื่อมีสวน

ราชการระดับ 8

จากการประมวลขอมูลทั้งหมด พบวา แมวาการจัดระดับปลัด อบจ. ปลัด อบต. และปลัดเทศบาล

จะมีหลักเกณฑในแตละตําแหนงแตกตางกัน แตหากดูในภาพรวมจะพบวาระดับของ อบจ. และเทศบาล

จะมีความเทาเทียมกัน ทั้ง ๆ ที่อาจมีหนาที่รับผิดชอบที่ตางกัน และเทศบาลขนาดกลางอาจมีระดับเทากับ

อบต.ขนาดใหญ ทั้ง ๆ ที่อาจมีความรับผิดชอบที่ตางกัน ซึ่งทั้งหมดนี้อาจเปนประเด็นที่ตองพิจารณา

ในกิจกรรมการประเมินคางานซึ่งเปนกิจกรรมของงานถัดไปในโครงการนี้

3.7 การจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น

การจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน เปนกระบวนการหนึ่งในการบริหารงานบุคคล การจําแนก

ตําแหนงเปนการจัดสรรตําแหนงออกเปนประเภท หมวดหมู ตามลําดับชั้น เพื่อความสะดวกในการสรรหา

บรรจุแตงตั้ง เลื่อนขั้น และเลื่อนตําแหนง สวนการกําหนดคาตอบแทนเปนการใหผลประโยชนตอบแทน

กับบุคลากรที่ทํางานในองคกรในรูปของเงินคาจาง และคาตอบแทนอื่นๆ ในการทํางาน

ในการปกครองสวนทองถิ่นของไทยซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ กระบวนการบริหารงานบุคคลจึงมี

ความแตกตางกัน โดยไดมีการกําหนดใหเปนไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น

ขนาด อบต. ระดับตําแหนง

Page 95: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 91

พ.ศ. 2542 ซึ่งไดกําหนดใหมี ก.ถ. ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบ

คุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลทองถิ่น และมีคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่น (ก.กลาง) 3 คณะ ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานทั่วไปในงานบุคคลสําหรับองคกรปกครอง

สวนทองถิ่นแตละประเภท และในสวนของระดับจังหวัดก็จะมีคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงาน

สวนทองถิ่นระดับจังหวัดแตละประเภท ทําหนาที่กําหนดหลักเกณฑเงื่อนไขการดําเนินงานดาน

การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละประเภทในจังหวัด ใหเปนไปตามมาตรฐาน

กลางและมาตรฐานทั่วไป

อยางไรก็ตาม การบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกประเภท ยังคง

ยึดถือตามแนวทางของกฏหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนฉบับเกาเปนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ในเรื่อง การจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่ยังคงใชระบบ P.C. (Position

Classification) ซึ่งเปนรูปแบบเกาของระบบขาราชการพลเรือน (ปจจุบันขาราชการพลเรือนใชระบบ

จําแนกตําแหนงและคาตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551) ระบบ P.C.

เปนระบบการจําแนกตําแหนงที่มุงเนนการพัฒนาความชํานาญเฉพาะทาง โดยกําหนดตําแหนง หนาที่

ความรับผิดชอบและคาตอบแทนในสายงานตางๆ ภายใตโครงสรางชั้นงานที่กําหนดไวเปนมาตรฐานกลาง

รวมกันเปน 11 ระดับ หรือที่เรียกวา 11 ซี กําหนดระดับที่ 1 เปนระดับลางสุด และระดับที่ 11 เปนระดับ

สูงสุด (ภาพที่ 17) โดยมีโครงสรางบัญชีเงินเดือนเดียวที่ใชกับทุกสาขาอาชีพ โดยมีลักษณะบัญชีเงินเดือน

แบบข้ัน และใชเปนระบบกลางๆ ตามกลุมงาน (ตารางที่ 8) ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดแบง

สายงานออกเปน จํานวน 8 กลุมงาน และมีสายงานทั้งสิ้น 125 สายงาน (ตารางที่ 9)

ภาพที่ 17 แสดงระดับตําแหนงของขาราชการพลเรือน

ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4

ระดับ 8 : ระดับ ผอ. กอง / หัวหนากลุมงาน

ระดับ 7 : ระดับหัวหนาฝาย / งาน

ระดับ 10 : ระดับอธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผูเชี่ยวชาญ

ระดับ 9 : ระดับรองอธิบดี / ผอ.สํานัก / ผูเชี่ยวชาญ

ระดับ 11 : ระดับปลัดกระทรวง / ผูทรงคุณวุฒิ

Page 96: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 92

ตารางที ่8 แสดงบัญชีอัตราเงนิเดือนขาราชการพลเรือน

24 47,450 23.5 46,670

23 45,900 22.5 45,120

22 44,340 21.5 43,570

21 42,790 20.5 42,020

20 14,800 18,190 22,220 27,500 33,540 41,230 50,550 19.5 14,560 17,890 21,880 27,070 33,020 40,590 49,770

19 14,340 17,600 21,520 26,620 32,480 39,930 49,000 59,770 18.5 14,100 17,320 21,170 26,180 31,960 39,280 48,220 58,850

18 13,860 17,020 20,830 25,740 31,420 38,620 47,450 57,930 17.5 13,630 16,730 20,470 25,310 30,900 37,980 46,670 57,010

17 13,390 16,440 20,130 24,870 30,360 37,320 45,900 56,080 16.5 13,160 16,150 19,780 24,430 29,840 36,660 45,120 55,170

16 12,920 15,850 19,420 23,990 29,320 36,020 44,340 54,240 64,340 15.5 12,670 15,560 19,080 23,550 28,780 35,360 43,570 53,330 63,270

15 8,180 12,440 15,260 18,720 23,110 28,260 34,710 42,790 52,390 62,200 14.5 8,020 12,200 14,970 18,380 22,680 27,720 34,050 42,020 51,470 61,140

14 7,860 9,790 11,960 14,700 18,040 22,250 27,200 33,410 41,240 50,560 60,060 13.5 7,710 9,590 11,740 14,410 17,700 21,820 26,690 32,790 40,460 49,630 59,000

13 7,570 9,430 11,510 14,140 17,360 21,410 26,170 32,160 39,680 48,700 57,940 12.5 7,410 9,240 11,290 13,870 17,030 20,990 25,690 31,560 38,940 47,780 56,860

12 7,270 9,060 11,070 13,620 16,710 20,590 25,200 30,960 38,190 46,870 55,800 11.5 7,120 8,880 10,850 13,360 16,380 20,180 24,730 30,380 37,480 45,990 54,740

11 6,980 8,710 10,640 13,100 16,070 19,790 24,250 29,800 36,780 45,130 53,690 10.5 6,860 8,540 10,440 12,850 15,760 19,390 23,780 29,220 36,070 44,250 52,630

10 6,710 8,380 10,240 12,600 15,460 19,010 23,320 28,660 35,350 43,380 51,590 66,480 9.5 6,590 8,200 10,030 12,350 15,160 18,640 22,860 28,100 34,670 42,550 50,530 65,410

9 6,460 8,040 9,850 12,120 14,860 18,280 22,420 27,550 33,990 41,720 49,480 64,340 8.5 6,330 7,890 9,660 11,870 14,560 17,910 21,980 27,000 33,310 40,900 48,440 63,270

8 6,210 7,730 9,470 11,630 14,280 17,560 21,540 26,470 32,630 40,060 47,390 62,200 7.5 6,090 7,580 9,270 11,390 13,980 17,200 21,110 25,930 31,950 39,220 46,350 61,140

7 5,970 7,420 9,080 11,140 13,690 16,840 20,670 25,390 31,280 38,390 45,310 60,060 6.5 5,860 7,260 8,890 10,900 13,400 16,480 20,220 24,850 30,580 37,560 44,280 59,000

6 5,760 7,100 8,700 10,660 13,110 16,110 19,800 24,310 29,900 36,730 43,240 57,940 5.5 5,630 6,940 8,500 10,420 12,820 15,780 19,350 23,770 29,230 35,900 42,220 56,860

5 5,530 6,800 8,320 10,190 12,530 15,410 18,910 23,230 28,550 35,060 41,190 55,800 4.5 5,410 6,630 8,130 9,940 12,220 15,040 18,480 22,690 27,880 34,230 40,180 54,740

4 5,310 6,470 7,940 9,700 11,930 14,690 18,040 22,160 27,200 33,410 39,180 53,690 3.5 5,180 6,310 7,740 9,480 11,650 14,330 17,590 21,610 26,520 32,590 38,180 52,630

3 5,080 6,160 7,560 9,230 11,350 13,960 17,150 21,080 25,860 31,770 37,220 51,590 2.5 4,970 6,000 7,360 8,990 11,060 13,610 16,720 20,520 25,200 30,960 36,240 50,530

2 4,850 5,840 7,170 8,770 10,770 13,240 16,280 19,990 24,540 30,140 35,290 49,480 1.5 4,740 5,680 6,970 8,540 10,470 12,880 15,840 19,440 23,880 29,350 34,350 48,440

1 4,630 5,530 6,800 8,320 10,190 12,530 15,410 18,910 23,230 28,550 33,410 47,390

ขั้น ท.1 ท.2 ท.3 ท.4 ท.5 ท.6 ท.7 ท.8 ท.9 ท.10 ท.11 บ.11

Page 97: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 93

ตารางที ่9 แสดงบัญชีแสดงกลุมงาน สายงาน และประเภทตําแหนงของสายงานตางๆ

ในมาตรฐานกําหนดตาํแหนงขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ที่ สายงาน ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง 1. กลุมงานนกับริหาร

นักบริหารงาน อบจ. นักบริหารงาน อบจ. บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

นักบริหารงานเทศบาล นักบริหารงานเทศบาล บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

1

นักบริหารงาน อบต. นักบริหารงาน อบต. บริหาร,บริหารระดับกลาง

2 นักบริหารงานทั่วไป นักบริหารงานทั่วไป บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

3 นักบริหารงานการคลัง นักบริหารงานการคลัง บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

4 นักบริหารงานชาง นักบริหารงานชาง บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

5 นักบริหารงานสาธารณสุข นักบริหารงานสาธารณสุข บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

6 นักบริหารงานสวัสดิการสังคม นักบริหารงานสวัสดิการสังคม บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

7 นักบริหารงานประปา นักบริหารงานประปา บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

8 นักบริหารงานชางสุขาภิบาล นักบริหารงานชางสุขาภิบาล บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

9 นักบริหารงานเมืองพัทยา นักบริหารงานเมืองพัทยา บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

10 นักบริหารงานนโยบายและแผน นักบริหารงานนโยบายและแผน บริหาร,บริหารระดับกลาง,บริหารระดับสูง

11 นักบริหารงานการเกษตร นักบริหารงานการเกษตร บริหาร

2. กลุมงานธรุการ สถิติ ประชาสัมพันธ ทองเทีย่ว นิติการ และบรรเทาสาธารณภยั 12 วิเคราะหนโยบายและแผน วิเคราะหนโยบายและแผน ทั่วไป

13 นิติการ นิติกร ทั่วไป, วิชาชีพเฉพาะ

14 เจาหนาที่ประชาสัมพันธ เจาหนาที่ประชาสัมพันธ ทั่วไป

15 เจาพนักงานประชาสัมพันธ เจาพนักงานประชาสัมพันธ ทั่วไป

16 วิชาการประชาสัมพันธ นักวิชาการประชาสัมพันธ ทั่วไป

17 บันทึกขอมูล เจาหนาที่บันทึกขอมูล ทั่วไป

18 ระบบงานคอมพิวเตอร เจาหนาที่ระบบงานคอมพิวเตอร ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

19 การเจาหนาที่ บุคลากร ทั่วไป

20 เลขานุการและบริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ทั่วไป

21 เจาหนาที่บริหารงานธุรการ เจาหนาที่บริหารงานธุรการ ทั่วไป

22 เจาหนาที่ธุรการ เจาหนาที่ธุรการ ทั่วไป

23 เจาพนักงานธุรการ เจาพนักงานธุรการ ทั่วไป

24 เจาหนาที่ทะเบียน เจาหนาที่ทะเบียน ทั่วไป

25 เจาพนักงานทะเบียน เจาพนักงานทะเบียน ทั่วไป

26 เจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร เจาหนาที่บริหารงานทะเบียนและบัตร ทั่วไป

Page 98: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 94

ที่ สายงาน ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง 27 วิชาการสิ่งแวดลอม นักวิชาการสิ่งแวดลอม ทั่วไป

28 วิชาการพัฒนาการทองเที่ยว นักวิชาการพัฒนาการทองเที่ยว ทั่วไป

29 เจาหนาที่สงเสริมการทองเที่ยว เจาหนาที่สงเสริมการทองเที่ยว ทั่วไป

30 เจาพนักงานสงเสริมการทองเที่ยว เจาพนักงานสงเสริมการทองเที่ยว ทั่วไป

31 พัฒนาการทองเที่ยว นักพัฒนาการทองเที่ยว ทั่วไป

32 เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทั่วไป

33 เจาพนักงานปองกันและบรรเทา

สาธารณภัย

เจาพนักงานปองกันและบรรเทา

สาธารณภัย

ทั่วไป

34 เจาหนาที่เทศกิจ เจาหนาที่เทศกิจ ทั่วไป

35 เจาพนักงานเทศกิจ เจาพนักงานเทศกิจ ทั่วไป

3. กลุมงานการคลัง 36 ตรวจสอบภายใน เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ทั่วไป

37 เจาหนาที่การคลัง เจาหนาที่การคลัง ทั่วไป

38 เจาพนักงานการคลัง เจาพนักงานการคลัง ทั่วไป

39 นักวิชาการคลัง นักวิชาการคลัง ทั่วไป

40 เจาหนาที่การเงินและบัญชี เจาหนาที่การเงินและบัญชี ทั่วไป

41 เจาพนักงานการเงินและบัญชี เจาพนักงานการเงินและบัญชี ทั่วไป

42 นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชี ทั่วไป

43 การจัดเก็บรายได เจาหนาที่จัดเก็บรายได ทั่วไป

44 เจาพนักงานจัดเก็บรายได เจาพนักงานจัดเก็บรายได ทั่วไป

45 นักวิชาการจัดเก็บรายได นักวิชาการจัดเก็บรายได ทั่วไป

46 วิชาการพัสดุ นักวิชาการพัสดุ ทั่วไป

47 เจาหนาที่พัสดุ เจาหนาที่พัสดุ ทั่วไป

48 เจาพนักงานพัสดุ เจาพนักงานพัสดุ ทั่วไป

4. กลุมงานแพทย พยาบาล สาธารณสขุ และวิทยาศาสตร 49 แพทย นายแพทย ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

50 ทันตแพทย ทันตแพทย ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

51 ทันตสาธารณสุข ทันตสาธารณสุข ทั่วไป

52 วิชาการสัตวแพทย นายสัตวแพทย ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

53 สัตวแพทย สัตวแพทย ทั่วไป

54 วิชาการสุขาภิบาล นักวิชาการสุขาภิบาล ทั่วไป

55 เจาพนักงานสุขาภิบาล เจาพนักงานสุขาภิบาล ทั่วไป

56 เจาหนาที่สุขาภิบาล เจาหนาที่สุขาภิบาล ทั่วไป

Page 99: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 95

ที่ สายงาน ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง 57 วิชาการสงเสริมสุขภาพ นักวิชาการสงเสริมสุขภาพ ทั่วไป

58 เจาพนักงานสงเสริมสุขภาพ เจาพนักงานสงเสริมสุขภาพ ทั่วไป

59 เจาหนาที่สงเสริมสุขภาพ เจาหนาที่สงเสริมสุขภาพ ทั่วไป

60 ผดุงครรภสาธารณสุข ผดุงครรภสาธารณสุข ทั่วไป

61 การพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพ ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

62 การพยาบาลเทคนิค พยาบาลเทคนิค ทั่วไป

63 เจาหนาที่พยาบาล เจาหนาที่พยาบาล ทั่วไป

64 เภสัชกรรม เภสัชกร ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

65 ชวยเภสัชกรรม ผูชวยเภสัชกร ทั่วไป

66 รังสีการแพทย เจาหนาที่รังสีการแพทย ทั่วไป

67 วิชาการวิทยาศาสตรการแพทย นักวิทยาศาสตรการแพทย ทั่วไป

68 เจาพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย เจาพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย ทั่วไป

69 เจาหนาที่วิทยาศาสตรการแพทย เจาหนาที่วิทยาศาสตรการแพทย ทั่วไป

70 เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน ทั่วไป

71 ทันตานามัย ทันตานามัย ทั่วไป

72 เอ็กซเรย เอ็กซเรย ทั่วไป

73 เจาหนาที่วิทยาศาสตร เจาหนาที่วิทยาศาสตร ทั่วไป

74 เจาพนักงานวิทยาศาสตร เจาพนักงานวิทยาศาสตร ทั่วไป

75 นักวิทยาศาสตร นักวิทยาศาสตร ทั่วไป

76 โภชนาการ โภชนาการ ทั่วไป

77 เจาพนักงานโภชนาการ เจาพนักงานโภชนาการ ทั่วไป

78 วิชาการสาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข ทั่วไป

5. กลุมสถาปตยกรรม วศิวกรรม และชางเทคนิค 79 สถาปตยกรรม สถาปนิก ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

80 ชางโยธา ชางโยธา ทั่วไป

81 นายชางโยธา นายชางโยธา ทั่วไป

82 ชางผังเมือง ชางผังเมือง ทั่วไป

83 นายชางผังเมือง นายชางผังเมือง ทั่วไป

84 การผังเมือง นักผังเมือง ทั่วไป,เชี่ยวชาญเฉพาะ

85 ชางเขียนแบบ ชางเขียนแบบ ทั่วไป

86 นายชางเขียนแบบ นายชางเขียนแบบ ทั่วไป

87 ชางศิลป ชางศิลป ทั่วไป

88 นายชางศิลป นายชางศิลป ทั่วไป

Page 100: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 96

ที่ สายงาน ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง 89 ชางภาพ ชางภาพ ทั่วไป

90 นายชางภาพ นายชางภาพ ทั่วไป

91 วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรไฟฟา ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

92 วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรเครื่องกล ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

93 วิศวกรรมโยธา วิศวกรโยธา ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

94 วิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรสุขาภิบาล ทั่วไป,วิชาชีพเฉพาะ

95 นักวิจัยการจราจร นักวิจัยการจราจร ทั่วไป

96 นายชางสํารวจ นายชางสํารวจ ทั่วไป

97 ชางสํารวจ ชางสํารวจ ทั่วไป

98 วิศวกรรมสิ่งแวดลอม วิศวกรสิ่งแวดลอม ทั่วไป

99 ชางเครื่องยนต ชางเครื่องยนต ทั่วไป

100 นายชางเครื่องยนต นายชางเครื่องยนต ทั่วไป

101 ชางไฟฟา ชางไฟฟา ทั่วไป

102 นายชางไฟฟา นายชางไฟฟา ทั่วไป

6. กลุมงานการประปา 103 เจาหนาที่การประปา เจาหนาที่การประปา ทั่วไป

104 เจาพนักงานการประปา เจาพนักงานการประปา ทั่วไป

7. กลุมงานสวัสดิการ สังคม และการเกษตร 105 สังคมสงเคราะห นักสังคมสงเคราะห ทั่วไป

106 เจาหนาที่พัฒนาชุมชน เจาหนาที่พัฒนาชุมชน ทั่วไป

107 เจาพนักงานพัฒนาชุมชน เจาพนักงานพัฒนาชุมชน ทั่วไป

108 นักพัฒนาชุมชน นักพัฒนาชุมชน ทั่วไป

109 เจาหนาที่สวนสาธารณะ เจาหนาที่สวนสาธารณะ ทั่วไป

110 เจาพนักงานสวนสาธารณะ เจาพนักงานสวนสาธารณะ ทั่วไป

111 วิชาการสวนสาธารณะ นักวิชาการสวนสาธารณะ ทั่วไป

112 วิชาการเกษตร นักวิชาการเกษตร ทั่วไป

113 เจาหนาที่การเกษตร เจาหนาที่การเกษตร ทั่วไป

114 เจาพนักงานการเกษตร เจาพนักงานการเกษตร ทั่วไป

115 วิชาการสัตวบาล นักวิชาการสัตวบาล ทั่วไป

116 เจาหนาที่สัตวบาล เจาหนาที่สัตวบาล ทั่วไป

117 เจาพนักงานสัตวบาล เจาพนักงานสัตวบาล ทั่วไป

118 วิชาการประมง นักวิชาการประมง ทั่วไป

119 เจาหนาที่ประมง เจาหนาที่ประมง ทั่วไป

Page 101: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 97

ที่ สายงาน ชื่อตําแหนง ประเภทตําแหนง 120 เจาพนักงานประมง เจาพนักงานประมง ทั่วไป

8. กลุมงานการศกึษา ศาสนา ศลิปวฒันธรรมและการกฬีา ครูผูชวย 121 การสอน

ครู

ขาราชการหรือพนักงานครู

รองผูอํานวยการสถานศึกษา 122 บริหารสถานศึกษา

ผูอํานวยการสถานศึกษา

ขาราชการหรือพนักงานครู

123 นิเทศการศึกษา ศึกษานิเทศก บุคลากรทางการศึกษา 124 บริหารการศึกษา นักบริหารการศึกษา บุคลากรทางการศึกษา

สันทนาการ

นักวิชาการศึกษา

นักวิชาการวัฒนธรรม

บรรณารักษ

เจาพนักงานหองสมุด

เจาพนักงานศูนยเยาวชน

เจาหนาที่หองสมุด

125 การศึกษานอกระบบและสงเสริม

การศึกษา

เจาหนาที่ศูนยเยาวชน

บุคลากรทางการศึกษา

สําหรับขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นในกลุมงานการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและ

การกีฬา ประเภทตําแหนงบุคลากรทางการศึกษา สายงานบริหารการศึกษาและสายงานการศึกษา

นอกระบบและสงเสริมการศึกษา ในปจจุบันยังคงใชระบบจําแนกตําแหนง (P.C.) และไดรับคาตอบแทน

ตามบัญชีแนบทายพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ.2538 โดยในสวนของขาราชการ

หรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สายงานบริหารสถานศึกษา และสายงาน

ศึกษานิเทศก ใชระบบตําแหนงและวิทยฐานะตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม เชนเดียวกับขาราชการครูในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

โดยไดรับคาตอบแทนตามบัญชีแนบทายพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตําแหนง

ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 รายละเอียดตาม ตารางที่ 10 และตารางที่ 11

Page 102: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 98

ตําแหนงและวิทยฐานะของขาราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

1. ตําแหนงขาราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา มีดังนี้

1.1 ตําแหนงประเภทขาราชการหรือพนักงานครู

1.2 ตําแหนงประเภทบุคลากรทางการศึกษา

1.1 ตําแหนงประเภทขาราชการหรือพนักงานครู ไดแก

1) สายงานการสอน ประกอบดวย

(1) ครูผูชวย

(2) ครู

2) สายงานบริหารสถานศึกษา ประกอบดวย

(1) รองผูอํานวยการสถานศึกษา

(2) ผูอํานวยการสถานศึกษา

1.2 ตําแหนงประเภทบุคลากรทางการศึกษา ไดแก

1) สายงานนิเทศการศึกษา ประกอบดวย

- ศึกษานิเทศ

2) สายงานบริหารการศึกษา ประกอบดวย

- นักบริหารการศึกษา

3) สายงานการศึกษานอกระบบและสงเสริมการศึกษา ประกอบดวย

(1) สันทนาการ

(2) นักวิชาการศึกษา

(3) นักวิชาการวัฒนธรรม

(4) บรรณารักษ

(5) เจาพนักงานหองสมุด

(6) เจาพนักงานศูนยเยาวชน

(7) เจาหนาที่หองสมุด

(8) เจาหนาที่ศูนยเยาวชน

2. วิทยฐานะขาราชการหรือพนักงานครแูละบุคลากรทางการศึกษา มีดังนี้

2.1 ครู ไดแก วิทยฐานะ

1) ครูชํานาญการ

2) ครูชํานาญการพิเศษ

Page 103: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 99

3) ครูเชี่ยวชาญ

4) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

2.2 ผูบริหารสถานศึกษา ไดแกวิทยฐานะ

1) รองผูอํานวยการชํานาญการ

2) รองผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ

3) รองผูอํานวยการเชี่ยวชาญ

4) ผูอํานวยการชํานาญการ

5) ผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ

6) ผูอํานวยการเชี่ยวชาญ

7) ผูอํานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ

2.3 ศึกษานิเทศก ไดแกวิทยฐานะ

1) ศึกษานิเทศกชํานาญการ

2) ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

3) ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ

4) ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญพิเศษ

ทั้งนี้ ขาราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ดํารงตําแหนงครูผูชวย ครู

รองผูอํานวยการสถานศึกษา ผูอํานวยการสถานศึกษา และศึกษานิเทศก ใหไดรับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ

เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอื่น ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แกไขเพิ่มเติม รวมทั้งพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และ

เงินประจําตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547

Page 104: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 100

ตารางที่ 10 แสดงบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 24 - - - 47,450 - -

23.5 - - - 46,670 - - 23 - - - 45,900 - -

22.5 - - - 45,120 - - 22 - - - 44,340 - -

21.5 - - - 43,570 - - 21 - 27,500 - 42,790 - -

20.5 - 27,070 - 42,020 - - 20 - 26,620 33,540 41,230 50,550 -

19.5 - 26,180 33,020 40,590 49,770 - 19 - 25,740 32,480 39,930 49,000 64,340

18.5 - 25,310 31,960 39,280 48,220 63,270 18 - 24,870 31,420 38,620 47,450 62,200

17.5 - 24,430 30,900 37,980 46,670 61,140 17 - 23,990 30,360 37,320 45,900 60,060

16.5 - 23,550 29,840 36,660 45,120 59,000 16 - 23,110 29,320 36,020 44,340 57,940

15.5 - 22,680 28,780 35,360 43,570 56,860 15 - 22,250 28,260 34,710 42,790 55,800

14.5 - 21,820 27,720 34,050 42,020 54,740 14 16,840 21,410 27,200 33,410 41,240 53,690

13.5 16,480 20,990 26,690 32,790 40,460 52,630 13 16,110 20,590 26,170 32,160 39,680 51,590

12.5 15,780 20,180 25,690 31,560 38,940 50,530 12 15,410 19,790 25,200 30,960 38,190 49,480

11.5 15,040 19,390 24,730 30,380 37,480 48,440 11 14,690 19,010 24,250 29,800 36,780 47,390

10.5 14,330 18,650 23,780 29,220 36,070 46,350 10 13,960 18,280 23,320 28,660 35,350 45,310 9.5 13,610 17,910 22,860 28,100 34,670 44,280 9 13,110 17,560 22,420 27,550 33,990 43,240

8.5 12,820 17,200 21,980 27,000 33,310 42,220 8 12,530 16,840 21,540 26,470 32,630 41,190

7.5 12,220 16,480 21,110 25,930 31,950 40,180 7 11,930 16,110 20,670 25,390 31,280 39,180

6.5 11,650 15,780 20,220 24,850 30,580 38,180 6 11,350 15,410 19,800 24,310 29,900 37,220

5.5 11,060 15,040 18,350 23,770 29,230 36,240 5 10,660 14,690 18,910 23,230 28,550 35,290

4.5 10,420 14,330 18,480 22,690 27,880 34,350 4 10,190 13,960 18,040 22,160 27,200 33,410

3.5 9,940 13,610 17,590 21,610 26,520 32,590 3 9,700 12,240 17,150 21,080 25,860 31,770

2.5 9,480 12,880 16,720 20,520 25,200 30,960 2 9,230 12,530 16,280 19,990 24,540 30,140

1.5 8,990 12,220 18,840 19,440 23,880 29,350 1 8,700 11,930 15,410 18,910 23,230 28,550

- 8,500 11,650 15,040 18,480 - - - 8,320 11,350 14,690 18,040 - - - 8,130 11,060 14,330 17,590 - - - 7,940 10,700 13,960 17,150 - - - - 10,470 13,610 16,720 - - - - 10,190 13,240 16,280 - - - - 9,940 12,800 18,840 - - - - 9,700 12,530 15,410 - - - - 9,480 - 15,040 - - - - 9,230 - 14,690 - - - - 8,990 - 14,330 - - - - 8,770 - 13,960 - - - - 8,540 - 13,610 - - - - 8,320 - 13,240 - - - - 8,130 - 12,800 - - - - 7,940 - 12,530 - -

ขั้น ครูผูชวย อันดับ คศ.1 อันดับ คศ.2 อันดับ คศ.3 อันดับ ค.ศ.4 อันดับ คศ.5

Page 105: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 101

ตารางที ่11 แสดงบัญชีอัตราเงินวทิยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

วิทยฐานะ อัตรา (บาท/เดือน) บัญชีอัตราเงนิวิทยฐานะสาํหรับตําแหนงครูที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ครูเชี่ยวชาญพิเศษ 13,000

ครูเชี่ยวชาญ 9,900

ครชํานาญการพิเศษ 5,600

ครูชํานาญการ 3,500

บัญชีอัตราเงนิวิทยฐานะสาํหรับตําแหนงศึกษานิเทศกที่มใีบอนญุาตประกอบวิชาชีพ

ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญพิเศษ 13,000

ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ 9,900

ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ 5,600

ศึกษานิเทศกชํานาญการ 3,500

บัญชีอัตราเงนิวิทยฐานะสาํหรับตําแหนงผูบริหารสถานศึกษาทีม่ีใบอนุญาตประกอบวชิาชีพ

ผูอํานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ 13,000

ผูอํานวยการเชี่ยวชาญ 9,900

ผูอํานวยการชาํนาญการพิเศษ 5,600

ผูอํานวยการชาํนาญการ 3,500

รองผูอํานวยการเชี่ยวชาญ 9,900

รองผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ 5,600

รองผูอํานวยการชํานาญการ 3,500

ในการดําเนินการศึกษาวิจัยเรื่อง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของ

ขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) คณะผูวิจัยไดทําการศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของ

ขาราชการสวนทองถิ่น โดยหารูปแบบโครงสรางของระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการ

สวนทองถิ่นที่เหมาะสมกับองคการปกครองสวนทองถิ่นของไทย และจัดทําเปนมาตรฐานการกําหนด

ตําแหนงและคาตอบแทนในการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในอนาคตตอไป

Page 106: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 103

บทที่ 4 การดําเนินงานครั้งตอไป

4.1 สรุปภาพรวมการดําเนินการศึกษาวิจัย ในการดําเนินการศึกษาวิจัยคณะที่ปรึกษาไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสวน

ทองถิ่นของไทย ซึ่งเปนสวนงานที่ทําใหระบบการบริหารงานทองถิ่นสามารถขับเคลื่อนไปไดอยางถูกตอง

และมีทิศทางที่แนนอน คณะที่ปรึกษาไดวางกรอบแนวคิดในการปรับปรุงการบริหารงานบุคคลของ

ขาราชการสวนทองถิ่น โดยยึดหลักการธรรมภิบาลและหลักการตางๆ ดังนี้

- หลักความรูความสามารถ

- หลักผลงาน ซึ่งจะพิจารณาผลการปฏิบัติงานจากผลงานที่ทํา

- หลักกระจายอํานาจ ซึ่งเปนการสรางความมีอิสระในการบริหารงาน

- หลักสมดุลระหวางคุณภาพงานและคุณภาพชีวิตของคนทํางาน

- หลักคุณธรรม อันประกอบดวย คุณธรรม จริยธรรม และความยุติธรรม

จากกรอบแนวคิดดังกลาว คณะที่ปรึกษาไดนําวิธีการในการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลมา

ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ

- หลักสมรรถนะ สําหรับใชเปนมาตรฐานในการกําหนด คุณลักษณะของบุคคลในตําแหนง

ตางๆ เพื่อใหไดคนตรงกับงานมากที่สุด

- หลักการประเมินคางาน สําหรับใชในการจัดทําหนาที่และความรับผิดชอบของตําแหนงงาน

ตางๆ วามีเปนเชนไร มีลักษณะอยางไร

- หลักการบริหารผลการปฏิบัติงาน สําหรับใชในกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล

ขององคกร โดยมีเปาหมายรวมกันที่ชัดเจน

4.2 การดําเนินงานครั้งตอไป สปร. ดําเนินงานครั้งตอไป ดังนี ้

1. ศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน 2. ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่นที่ใชในปจจุบัน

และสภาพปญหา 3. ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการประเภทอื่น 4. ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของภาคเอกชนในประเทศไทย 5. ศึกษาระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ใชอยูในสากล 6. ทําการสํารวจขอมูลและวิเคราะหงาน

Page 107: รายงานการศึึกษาขัั้นต นlocal.moi.go.th/inception report.pdf · รายงานการศึึกษาขัั้นต น (Inception

สถาบันที่ปรกึษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.)

รายงานการศึกษาขั้นตน เร่ือง การปรับปรุงระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนของขาราชการสวนทองถิ่น (ระยะที่ 2) 103

7. ทําการประเมินคางานและจัดทําโครงสรางระดับชั้นงาน 8. จัดตั้งศูนยประชาสัมพันธผลการดําเนินงานของโครงการ 9. จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการวิเคราะหงานและขอมูลเชิงสมรรถนะจํานวน 5

คร้ัง 10. ประชุมคณะทํางานเพื่อนําเสนอเรื่องการประเมินคางานตามแนวคิดของ CSC Guide

Chart และการปรับระดับตําแหนงใหสูงขึ้นแกคณะทํางานและผูบริหารของสํานักงาน ก.ถ.