รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4....

14
มคอ. 3 1 รายละเอียดของรายวิชา มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะศึกษาศาสตร กลุมวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา ภาษาไทย *218 731 คุณธรรม กฎหมายและวิชาชีพผูบริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ Virtue Law and Professional Educational Administrator 1.2 จํานวนหนวยกิต 3(3-0-6) 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา เปนรายวิชาบังคับของวิชาเอกการบริหารการศึกษา ในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา 1.4 อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข อาจารยผูสอน รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข 1.5 ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน ภาคการศึกษา 2 ชั้นปที่ 1 1.6 รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) ไมมี 1.7 รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) ไมมี 1.8 สถานที่เรียน สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 1.9 วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายวิชาครั้งลาสุด ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะฯ ในคราวประชุมครั้งที................... เมื่อวันที่……………..เดือน………………………….พ.ศ…………………….. หมายเหตุ : *3(3-0.6) หมายถึง เลข 3 ตัวที่สอง หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการ เลข 6 หมายถึง จํานวนชั่วโมงการเรียนรูดวยตนเอง = (จํานวนชั่วโมงบรรยาย x 2) + (จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการ x 0.5) ** # หมายถึง รวมถึงวิชาที่ตองเรียนมากอนไมจําเปนตองสอบผาน

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

1

รายละเอียดของรายวิชา

มหาวิทยาลยัขอนแกน คณะศึกษาศาสตร กลุมวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป 1.1 รหัสและช่ือรายวิชา

ภาษาไทย *218 731 คุณธรรม กฎหมายและวิชาชีพผูบริหารการศึกษา

ภาษาอังกฤษ Virtue Law and Professional Educational Administrator

1.2 จํานวนหนวยกิต

3(3-0-6)

1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

เปนรายวิชาบังคับของวิชาเอกการบริหารการศึกษา ในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

1.4 อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน

อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสรฐิเจริญสุข

อาจารยผูสอน รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

1.5 ภาคการศึกษา / ช้ันปที่เรียน

ภาคการศึกษา 2 ชั้นปที ่1

1.6 รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite)

ไมมี

1.7 รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites)

ไมมี

1.8 สถานที่เรียน

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

1.9 วันที่จดัทําหรือปรับปรุงรายวิชาคร้ังลาสุด

ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําคณะฯ ในคราวประชุมครั้งที่ ................... เม่ือวันที่……………..เดือน………………………….พ.ศ……………………..

หมายเหตุ : *3(3-0.6) หมายถึง เลข 3 ตัวที่สอง หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการ เลข 6 หมายถึง จํานวนชั่วโมงการเรียนรูดวยตนเอง = (จํานวนชั่วโมงบรรยาย x 2) + (จํานวนชั่วโมงปฏิบัติการ x 0.5) ** # หมายถึง รวมถึงวิชาที่ตองเรียนมากอนไมจําเปนตองสอบผาน

Page 2: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

2

หมวดท่ี 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

2.1 จุดมุงหมายของรายวิชา

1. นักศึกษามีความรู ความเขาใจเก่ียวของกับคุณธรรม กฎหมายที่เก่ียวของกับวิชาชีพการบริหารการศึกษา 2. นักศึกษามีสามารถจัดการปญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพการบริหารการศึกษา 3. พัฒนาภาวะผูนําของนักศึกษาเพื่อการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏบิัติตน เปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัตตินตามกรอบคุณ ธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพ มีจิตวิญญาณของความเปนครูและความเปนผูบริหารมืออาชีพ 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมในหนวยงาน 5. นักศึกษามีสามารถในการประยุกตใชหลักธรรมภิบาลในการบริหารการศึกษาที่สอดคลองกับหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณทาง

วิชาการและกฎหมายที่เก่ียวของกับวิชาชีพการบริหารการศึกษา 6. นักศึกษามีจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ในการนําความรูและทฤษฎีไปใชประโยชนในการศึกษาคนควาอางอิง

การอธิบายปญหาในวิชาชีพการบริหารการศึกษา 2.2 วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

1. พัฒนาการเรียนการสอนใหสอดคลองกับการปรับปรุงหลักสูตร สอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิตทันกับสถาน การณการเปล่ียนแปลงเชิงศาสตรทางการบริหารการศึกษาบริหารและกฎหมายที่เก่ียวของกับวิชาชีพการบริหารการศึกษา 2. เนนการจัดการเรียนการสอนบนฐานแหงการวิจัยและนําความรูไปใชไดจริง 3. สงเสริมความเขาใจหลักธรรมภิบาล ความมีคุณธรรม การปลูกฝงจิตสาธารณะผานกระบวนการจัดการเรียนการสอนและ กิจกรรมดานตาง ๆ เพื่อพัฒนานักศึกษาสูความเปนผูบริหารมืออาชีพ 4. ปรับปรุงรายวิชาใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต ผูเรียนและสังคมที่เปล่ียนแปลง

หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดําเนินการ

3.1 คําอธิบายรายวิชา

การพัฒนาคุณธรรมทางวิชาชีพของผูบริหารสถานศึกษา ใหดํารงตนอยางถูกตองตามกฎหมายการศึกษาและวินัยขาราชการ การใชหลักธรรมาภิบาลในการจัดองคกร พัฒนาบุคลากร การทํางานขององคกรศึกษา วิเคราะหประเด็นด านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพสําหรับนักบริหารการศึกษา การฝกปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนา การสรางองคการใหมีหลักคุณธรรมที่เปนแบบแผนยึดถือเปนภารกิจขององคการ Development of the administrators’ professional ethics, living based on the educational laws and official discipline, application of good governance in organizational management, staff development, and organizational working, analysis of study in the issues of virtue, morality, and professional code of ethics for educational administrators, practice training based on religious principle, development of organization to include the virtue principle as the organizational mission.

3.2 จํานวนช่ัวโมงที่ใชตอภาคการศึกษา

บรรยาย 45 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

สอนเสริม 1 ชั่วโมง/สัปดาห

การฝกปฏิบัติ/ฝกภาคสนาม/ฝกงาน ไมมี

การศึกษาดวยตนเอง 90 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา

3.3 จํานวนช่ัวโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศกึษาเปนรายบุคคล

2 ชัว่โมง/สัปดาหและ/หรือการส่ือสารผาน e- learning รายวิชา

Page 3: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

3

หมวดท่ี 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา

4.1

คุณธรรม จริยธรรม

4.1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา (1) มีความซ่ือสัตย เสียสละ มีจิตสาธารณะ มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพ (2) มีความรับผิดชอบตอตนเองและหนาที่ มีวินัย รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน ไมละเมิดสิทธิของผูอ่ืน ตรงตอเวลา เคารพกฎ ระเบียบตางๆ ของสังคม ควบคุมตนเองได

(3) สามารถแยกแยะความถูกตอง ความดี ความชั่ว เปนแบบอยางที่ดีตอผูอ่ืนทัง้ในการปฏิบัติงาน การดํารงตน การ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีจิตวิญญาณของความเปนครูและความเปนผูบริหารมืออาชีพ

4.1.2 วิธีการสอน (1) สอดแทรกประเด็นคุณธรรม จริยธรรมในกิจกรรมการเรียนการสอน (2) ใชกรณีศึกษาที่ครอบคลุมประเด็นดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักศึกษาไดมีสวนรวม การมอบหมายงานและสงงาน (4) การบรรยาย อภิปรายและการวิพากยเชิงวิชาการ

4.1.3 วิธีการวัดและประเมินผล (1) พฤติกรรมการเขาชั้นเรียน (2) การสงงานตามที่ไดรับมอบหมายทั้งรายบุคคลและรายกลุม (3) ไมคัดลอกงานเพื่อนหรือนํางานผูอ่ืนมาเปนของตนโดยไมอางอิง

4.2

ความรู

4.2.1 ความรูตองพัฒนา (1) มีความรู ความเขาใจอยางลึกซ้ึงในหลักการและทฤษฎีที่สําคัญเก่ียวกับคุณธรรม กฎหมายที่เก่ียวของกับวิชาชีพการ

บริหารการศึกษา (2) ความสามารถเชิงเหตุผลเพื่อการประพฤตปิฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีตามกรอบคุณธรรมและจรยิธรรมของวิชาชีพ

มีจิตวิญญาณของความเปนครูและความเปนผูบริหารมืออาชีพ (3) มีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมในหนวยงาน (4) มีจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการในการนําความรูและทฤษฎีไปใชประโยชนในการศึกษาคนควาอางอิง การ อธิบายปญหาในวิชาชีพการบริหารการศึกษา 4.2.2 วิธีการสอน (1) บรรยายรวมกับการอภิปราย

(2) วิเคราะหเชิงวิพากษ (3) การศึกษาคนควาดวยตนเอง การนําเสนอรายงานการศึกษาและการสะทอนผลการเรียนรู (4) กรณีศึกษา

(5) Problem – based approach และ Research – based approach 4.2.3 วิธีการวัดและประเมินผล (1) สอบปลายภาค (2) งานการศึกษารายบุคคลตามที่มอบหมาย (3) งานการศึกษากลุม (ตามมอบหมาย)

(4) การเขาชั้นเรียน

Page 4: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

4

4.3 ทักษะทางปญญา

4.3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา (1) ความสามารถเชิงเหตุผลเพื่อนําไปพัฒนาองคความรูเชิงศาสตรทางการบริหารการศึกษา

(2) ความสามารถปรับ/ ประยุกตองคความรูเพื่อทําโครงงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา/หนวยงานอยางเปนระบบและสรางสรรค

4.3.2 วิธีการสอน (1) Problem – based approach และ Research – based approach (2) ฝกตอบปญหาและแสดงความเห็นตอประเด็นปญหาดานคุณธรรม จริยธรรมและกฎหมายที่เก่ียวของกับวิชาชีพ การบริหารการศึกษา (3) การระดมสมองเพื่อการแกปญหาตามประเด็นที่กําหนด (4) กรณีศึกษา

4.3.3 วิธีการวัดและประเมินผล (1) งานการศึกษารายบุคคลตามที่มอบหมาย (2) ประเมินการมีสวนรวมในชั้นเรียน (3) ประเมินความรับผิดชอบในรายงานกลุม

(4) นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุมดานทักษะความสัมพันธและความรับผิดชอบ

(5) การสะทอนผลการเรียนรู 4.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

- ไมเนน - 4.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

- ไมเนน -

Page 5: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

5

หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมินผล

5.1 แผนการสอน

สัปดาห ท่ี

หนวย บท และหวขอ

จํานวนช่ัวโมง ผลการเรียนรู วัตถุประสงค การเรียนรู

กิจกรรมการ เรียนการสอน

ส่ือการสอน

วิธีการ* ประเมิน

อาจารย ผูสอน บรรยาย ปฏิบัติ 1 2 3 4 5

1-3 -แนะนํารายวิชา วิธีการเรียน การสอน ภาระงาน วิธีการ วัดและประเมินผล 1. บรรยายหัวขอ “วิชาชีพผูบริหารการศึกษา” - ความหมาย - ลักษณะงานวิชาชีพผู บริหารการศึกษา - ความสําคัญของวิชาชีพ ผูบริหารการศึกษา - กระแสโลกาภิวัตนที่สง ผลตอวิชาชีพผูบริหาร การศึกษา - บทบาทและหนาที่ของผู บริหารการศึกษา

9 - - นักศึกษารูและเขาใจขอบเขตของการศึกษาตามมาตรฐานของรายวิชา - นักศึกษามีความ

เขาใจเก่ียวกับวิชาชีพผูบริหาร

การศึกษา - สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมเก่ียวกับหัวขอสําคัญ (Key Topics)

- การบรรยาย ก า ร อ ภิ ป ร า ย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมคว า ม คิ ด แ ล ะวิเคราะหกร ณี ศึ ก ษ า ห รื อผ ล ง า น วิ จั ย ที่กําหนดให -ก า ร ทํ าแบบฝกหัดหรือก า ร บ า น ที่กําหนดให - ก า ร ศึ ก ษ าคนควาเพิ่มเติมเ ก่ียวกับหัวข อสํ า คั ญ (Key Topics)ที่กําหนด - แนะนําการสืบ

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - กรณีศึกษา

ประเมินจาก -ก า ร เ ต รี ย มตั วด ว ย ก า ร อ า นเ อ ก ส า ร ที่ม อ บ ห ม า ยลวงหนากอนเขาชั้นเรียน -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย –ผลงานการทําแ บ บ ฝ ก หั ด /การบาน - การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 6: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

6

คนขอมูล - มอบหมายงานการเรียนรูสําหรับกิจกรรมสัปดาหที่ 4-5

4-5 1.บรรยายหัวขอ “ความมีเหตุผลกับจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา” 1.1 ทฤษฎีที่เก่ียวของกับคุณธรรม จริยธรรม - Kohlberg's Theory of Moral Development - Piaget's theory of cognitive development - การใชเหตุผลเชิงจริย ธรรม (ทฤษฎีตนไมจริยธรรม) 1.2 ทฤษฎีที่เก่ียวของกับการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมที่สําคัญสําหรับผูบริหาร 1.3 แนวคิดเก่ียวกับจริยธรรมและทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม

6 - - นักศึกษามีความเขาใจหลักคิดเชิง

เหตุผล - สามารถคิด

วิเคราะหและตระหนักในคุณคา

ของความเปนผูบริหารที่มีคุณธรรม

จริยธรรม - สามารถศึกษาค น ค ว า เ พิ่ ม เ ติ มเก่ียวกับหัวขอสําคัญ (Key Topics)

- การบรรยาย ก า ร อ ภิ ป ร า ย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมความคิดและวิเคราะหกรณี

ศึกษาหรือผลงานวิจัยที่กําหนดให

-ก า ร ทํ าแบบฝกหัดหรือก า ร บ า น ที่กําหนดให - ก า ร ศึ ก ษ าคนควาเพิ่มเติมเ ก่ียวกับหัวข อสํ า คั ญ (Key Topics)ที่กําหนด - แนะนําการสืบ

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - กรณีศึกษา

ประเมินจาก -ก า ร เ ต รี ย มตั วด ว ย ก า ร อ า นเ อ ก ส า ร ที่ม อ บ ห ม า ยลวงหนากอนเขาชั้นเรียน -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย –ผลงานการทําแ บ บ ฝ ก หั ด /การบาน - การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 7: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

7

คนขอมูล - มอบหมายงานก า ร เ รี ย น รูสําหรับกิจกรรมสัปดาหที่ 6-7

6-7 1. บรรยายหัวขอ “ศิลปเชิงจริยธรรมในวิชาชีพผู บริหารการศึกษา” - การดํารงตน - การพัฒนาตน - ภ า พ ลั ก ษ ณ ข อ งผูบริหาร - พฤติกรรมการเผชิญปญหาในการทํางาน 2 . ทฤ ษฎี ศั ก ยภ าพ กา รพัฒนาและการแพรกระจาย (development potential-diffusion theory) 3. ทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล

6 - - นักศึกษามีจิตใจเปดกวาง ยอมรับและตระห นัก เห็ นคุ ณ ค า ข อ ง ก า รดํ า ร ง ชี วิ ต ขอ งต น ยอมรับบุคคลที่ตางความเชื่ อและต างวัฒนธรรม - สามารถเชื่อมโยงแนวคิดกับปญหาเชิงจริยธรรมในวิชาชีพเ พื่ อ นํ า ไ ป สู ก า รพัฒนาหรือการปรับพฤติกรรมของตนเองและผูเก่ียวของ

- การบรรยาย ก า ร อ ภิ ป ร า ย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมความคิดและวิเคราะหกรณี

ศึกษาหรือผลงานวิจัยที่กําหนดให

-ก า ร ทํ าแบบฝกหัดหรือก า ร บ า น ที่กําหนดให - ก า ร ศึ ก ษ าคนควาเพิ่มเติมเ ก่ียวกับหัวข อสํ า คั ญ (Key Topics)ที่กําหนด - แนะนําการสืบ

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - กรณีศึกษา

ประเมินจาก -ก า ร เ ต รี ย มตั วด ว ย ก า ร อ า นเ อ ก ส า ร ที่ม อ บ ห ม า ยลวงหนากอนเขาชั้นเรียน -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย –ผลงานการทําแ บ บ ฝ ก หั ด /การบาน - การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 8: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

8

คนขอมูล

- มอบหมายงานการเรียนรู

8-9 การสงเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา

6 - - นักศึกษาฝกประสบการณในการคิดวางแผนโครงงานทําความดีเพื่อสังคม - นักศึกษาสามารถจัดทําแผนโครงงานทําความดีเพื่อสังคม

ได - นั ก ศึ ก ษ า ไ ด ฝ กประสบการณในการทํางานเปนทีม - พัฒนาทักษะความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและความรับผิดชอบตอสวนรวม

- การอภิปราย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมคว า ม คิ ด แ ล ะวิ เ ค ร า ะ หโ ค ร ง ง านขอ งนักศึ ก ษาต า มก ร อ บ ที่กําหนดให - ก า ร ศึ ก ษ าคนควาเพิ่มเติมเ ก่ียวกับหัวข อสํ า คั ญ (Key Topics)ที่กําหนด - แนะนําการสืบ คนขอมูล - มอบหมายงานการเรียนรูสัปดาหที่ 10-11

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - power point presentation โครงงานนัก ศึกษา

ประเมินจาก -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย - การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 9: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

9

10-11 1. บรรยายหัวขอ “ธรรมาภิบาลในวิชาชีพผูบริหารการศึกษา” - หลักธรรมภิบาลและแนวคิดพื้นฐาน - ธรรมมาภิบาลใตกระแส โลกาภิวัตน - หลักพุทธธรรมในธรรมาภิ บาล - การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมภิบาล - การสรางธรรมาภิบาลใน องคกรภาครัฐ/ เอกชน - การประยุกตใชหลักธรรมภิบาลในการบริหารสถานศึกษา - การดูแลองคการตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร

6 - (1) พัฒนาทักษะการมีมนุษย สัมพันธที่ดี การเขาใจตนเองและผูอ่ืน (2) พัฒนาทักษะการสรางความสัมพันธระหวางนักศึกษาในแตละกลุม (3) พัฒนาทักษะความรับผิดชอบในง า น ที่ ไ ด รั บมอบหมายและความรั บ ผิ ด ช อ บ ต อสวนรวม

- การบรรยาย ก า ร อ ภิ ป ร า ย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมคว า ม คิ ด แ ล ะวิเคราะหกร ณี ศึ ก ษ า ห รื อผ ล ง า น วิ จั ย ที่กําหนดให - แนะนําการสืบ คนขอมูล - มอบหมายงานก า ร เ รี ย น รูสัปดาหที่ 12 -13

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - กรณีศึกษา

ประเมินจาก -ก า ร เ ต รี ย มตั วด ว ย ก า ร อ า นเ อ ก ส า ร ที่ม อ บ ห ม า ยลวงหนากอนเขาชั้นเรียน -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย –ผลงานการทําแ บ บ ฝ ก หั ด /การบาน - การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

12-13 ฝกปฏิบัติโครงงานทําความดีเพื่อสังคม

6 - - นักศึกษานําโครงงานฝกปฏิบัติ

จริง - นักศึกษาไดฝกประสบการณหรือ

บูรณาการความคิดสูการฏิบัติ

- นักศึกษาไดฝกการทํางานเปนทีม

- นักศึกษาฝกปฏิบัติจริง - กรณีศึกษา - อาจารยประจําวิชานิเทศโครงงาน

- กรณีศึกษา - โครงงาน (รายกลุม)

- รายงายผลการประเมินโครงงาน

- การสะทอนผลการเรียนรู

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 10: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

10

ทักษะความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและความรับผิดชอบตอ

สวนรวม - นักศึกษาสามารถพัฒนาหรือประยุกตจั ด โ ค ร ง ง า น ใ นสถานศึกษาของตน - นักศึกษาสามารถสะทอนผลการเรียนรูจ า ก ร า ย ง า น ผ ลโครงงาน

14-15 1. บรรยายหัวขอ “กฎหมายที่เก่ียวของกับคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพการบริหารการศึกษา” - Professional ethics 2. สรุปและทบทวนบทเรียน

3 - - นักศึกษารูและเขาใจขอบเขตของกฎหมายที่เก่ียวของกั บ คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะจรรยาบรรณวิชาชีพการบริหารการศึกษา - สามารถคิด

วิเคราะหและตระหนักในคุณคา

ของความเปนผูบริหารที่มีคุณธรรม

จริยธรรม - สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมเก่ียวกับหัวขอสําคัญ (Key Topics)

- การบรรยาย ก า ร อ ภิ ป ร า ย การตั้งประเด็นคําถามและการสนทนาโตตอบในชั้นเรียน -การทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมคว า ม คิ ด แ ล ะวิเคราะหกร ณี ศึ ก ษ า ห รื อผ ล ง า น วิ จั ย ที่กําหนดให

- power point presentation ประกอบการ บรรยาย - กรณีศึกษา

ประเมินจาก -ก า ร เ ต รี ย มตั วด ว ย ก า ร อ า นเ อ ก ส า ร ที่ม อ บ ห ม า ยลวงหนากอนเขาชั้นเรียน -การตอบคําถาม การอภิปราย การ

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน-ผ ล ง า นก า ร ศึ ก ษ าคนควาที่ ไดรับมอบหมาย –ผลงานการทํา

รศ. ดร. ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

Page 11: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

11

แ บ บ ฝ ก หั ด /การบาน - การสะทอนผลการเรียนรู

สอบปลายภาค สอบปลายภาค

สรุปแผนการสอนตอผลการเรียนรู

Page 12: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

12

5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู

คําแนะนํา : (ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรูหัวขอยอยแตละหัวขอตามที่ปรากฏในหมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา สัปดาหที่ประเมิน และสัดสวนของการประเมิน) ใชกระบวนการประเมินแบบตามสภาพจริง

ลักษณะการประเมิน

ผลการเรียนรู สัปดาหที่ประเมิน สัดสวนคะแนน หมายเหตุ

1 2 3 4 5

สอบปลายภาค 15

20 %

งานการศึกษารายบุคคล 2-7, 10-11, 14 30 %

งานการศึกษากลุม 8-9, 12-13 40 %

การเขาชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %

หมวดท่ี 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

6.1 ตําราและเอกสารหลัก

กมล ฉายาวัฒนะ. 2554. บริหารคนและงานดวยวิธีการของพระพุทธเจา. กรุงเทพฯ : เก็ทไอเดีย, กีรติ นาคะ.2552. การใชเหตุผลเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมการเผชิญปญหาในการทํางานของพนักงานสํานักงานปองกัน และปราบปรามการฟอกเงิน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ). มหาวิทยาลัยรามคําแหง. คูมือคําอธิบายและแนวทางปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท ี่ดี. 2546. กรุงเทพฯ : สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. จรัส สุวรรณเวลา.2546. จุดบอดบนทางสูธรรมาภิบาล : บทบาทของบอรดองคการมหาชน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัย, จําเริญรัตน เจือจันทร. 2548. จริยศาสตร : ทฤษฎจีริยธรรมสําหรับนักบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. เจริญ เจษฎาวัลย. 2547. การตรวจสอบธรรมาภิบาลทฤษฎีและภาคปฏิบัต.ิ นนทบุรี: พอดี เจริญ เจษฎาวัลย. 2550. การวางมาตรฐานธรรมาภิบาล. นนทบุรี : พอดี. --------------------. 2552. ทางสูธรรมาภิบาล. นนทบุรี: พอดี ดวงเดือน พันธุมนาวิน.2543. ทฤษฎีตนไมจริยธรรม : การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ: โครงการสงเสริมเอกสาร วิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน และเพ็ญแข ประจนปจจนึก.2524. จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา: พฤติกรรมศาสตร เลม 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช. บุญมี แทนแกว. 2550. จริยศาสตร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).2542. เพื่อชุมชนแหงการศึกษาและบรรยากาศแหงวิชาการ (คุณธรรมของครูอาจารยและผู บริหาร). ฉบับพิมพพิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม, พระราชบัญญัติ (ฉบับรวมพิเศษ) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545. (2548). กรุงเทพฯ: โปรพับลิซซ่ิง. พิทยา วองกุล (บรรณาธิการ). 2541. ธรรมรัฐ: จุดเปล่ียนประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทรบุคเซ็นเตอร. พิภพ วชังเงิน. 2545. จริยธรรมวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : รวมสาสน (1977), ภัคสุจ์ิภรณ จิปภพ (และคนอ่ืน ๆ). (2550). แผนพัฒนาสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเดียง พุทธ ศักราช .กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. มุกดา ศรียงค. (2550). ตัวบงชี้มาตรฐานคุณธรรม: รายงานและตัวอยางแบบวัด. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. สาโรช บัวศรี. (2526). จริยธรรมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภา.

Page 13: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

13

สมคิด บางโม. (2549). กฎหมายการศึกษา. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน, เอเจอร, แซม. 545. ธรรมาภบิาล: การบริหารการปกครองที่โปรงใสดวยจริยธรรม . กรุงเทพฯ: นํ้าฝน. Barcalow, Emmett. 2007. Moral philosophy : theories and issues. Belmont, CA : Wadsworth Thomson Learning. Berkowitz, E. D. 2001. History precedes ethics. American Journal of Bioethics, 1(3), 66. Boulding, K. E. 1975. The image: Knowledge in life and society. Ann Arbor, MI: The University of Michigan. Cahn, Steven M. and Markie, Peter. (Eds.) 2002. Ethics : history, theory, and contemporary issues. New York : Oxfork Univ. Pr., Carver, C. S., Scheier, M. F., & Weintraub, J. K. 1989. Assessing coping strategies: A theoretically based approach. Journal of Personality and Social Psychology, 56(2), 267-268. Copp, David and others. 2006. The Oxford handbook of ethical theory. Oxford : Oxford University Pr. Dessler, Gary. 2006. A framework for human resource management. 4th ed. Upper Saddle River, NJ : Pearson/Prentice Hall. Glanz, Jeffrey. 2006. What every principal should know about ethical and spiritual leadership. Thousand Oaks, Calif. : Corwin Pr. Hinman, Lawrence M. 2008. Ethics: a pluralistic approach to moral theory. Belmont, CA :

Thomson/Wadsworth. Hoffman, M. L. 1979. Development of moral thought, feeling and behavior. American Psychologist, 10, 958-966. Hogan, R., Johnson, J. A., & Emler, N. P. 1978. A socioanalytic theory of moral development. New Directions for Child Development, 2(5), 1-18. Kohlberg, L. 1976. Moral stages and moralization: The cognitive developmental approach. New York: Holt, Rinehart and Winston. Lazarus, R. S., & Folkman, S. 1984. Stress, appraisal and coping. New York: Springer. Millgram, Elijah. 2005. Ethics done right : practical reasoning as a foundation for moral theory. Cambridge, UK : Cambridge Univ. Pr. Piaget, J. 1960. The development of object concept. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. Robinson, George M. and Moulton, Janice. 1985. Ethical problems in higher education Englewood Cliffs, N.J. : Prentice-Hall. Sheehy, Kieron and other (Eds). 2005. Ethics and research in inclusive education: values into

practice. London: RoutledgeFalmer. 6.2 เอกสารและขอมูลสําคัญ

ไมมี 6.3 เอกสารและขอมูลแนะนํา

http://e-learning.kku.ac.th/ http://www.opdc.go.th http://twitter.com/#!/vajiramedhi

http://thesis.tiac.or.th/ http://pdc.obec.go.th/

Page 14: รายละเอียดของรายวิชาed-admm/qa/218731.pdf · 4. นักศึกษามีทักษะในการเขียนโครงงานเพื่อส

มคอ. 3

14

หมวดท่ี 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

7.1 การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

นักศึกษาประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยตามกรอบการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของ สมศ. ผานระบบการประเมินออนไลนของมหาวิทยาลัย เม่ือส้ินสุดการเรียนรายวิชา สัปดาหสุดทายของการเรยีน

7.2 การประเมินการสอน

การประเมินการสอนเปนไปตามระบบของมหาวิทยาลัย โดยคระกรรมการบริหารหลักสูตรรับผิดชอบการนําผลประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา และการประเมินตนเองของอาจารย มาพิจารณาและใหขอมูลแกอาจารยผูสอน เพื่อนําไปสูการปรับปรุงแกไขการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา

7.3 การปรับปรุงการสอน

กลไกการปรับปรุงการสอน กํากับดูแลโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซ่ึงมีหนาที่ในการนําผลการประเมินการสอนโดยผูมีสวนไดสวนเสียมาพิจารณา สรุปขอมูลใหอาจารยผูสอนรับทราบ และนําผลไปพิจารณาในการปรับปรุงแกไขการจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาตอๆ ไป

กลไกการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยและคณะมีการจัดการอบรมพัฒนาอาจารยดานการสอน เชน การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนการสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การจัดการเรียนการสอนโดยใชการวิจัยเปนฐาน การจัดการเรียนการสอนโดยใชส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และการวิจัยในชั้นเรียน เปนตน ซ่ึงอาจารยสามารถพัฒนาตนเองและนําความรูมาปรับปรุงการสอนไดตลอดเวลา

7.4 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

การทบทวนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยเทียบเคียงกับเกณฑหรือมาตรฐานการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่กําหนดสําหรับรายวิชา

การพิจารณาระดับคะแนนที่อาจารยทําการประเมินผลและตัดเกรด ใหเปนไปตามเกณฑและมาตรฐานของมหาวิทยาลัยดําเนินการในระดับคระกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะกรรมการประจําคณะ

การใหโอกาสนักศึกษาในการตรวจสอบระดับคะแนน หากเห็นวาผลการประเมินอาจมีความผิดพลาด รวมไปถึงการใหนักศึกษาสามารถอุทธรณผลการเรียนหากเห็นวาไมไดรับความเปนธรรมหรือมีขอผิดพลาดในการประเมิน

7.5 การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

การนําผลการประเมินการสอนรายวิชา มาวิเคราะหเพื่อหาแนวทางการปรับปรุงในรายวิชา โดยอาจมีการปรับปรุงเน้ือหาใหเหมาะสม การปรับปรุงระยะเวลาที่ใชในการสอนแตละหัวขอ การปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน และการปรับปรุงเกณฑและวิธีการประเมินผลการเรียนของนักศึกษา ทุกรอบระยะเวลาเม่ือส้ินสุดการสอนรายวิชาในแตละภาคการศึกษา