การนําเสนอสารสนเทศด...

5
การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ครั้งที8 22-23 เมษายน 2553 การนําเสนอสารสนเทศดานทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public Dental Health Information Representation based on mashup นันทรัตน อนุกูล 1 วัชรวลี ตั้งคุปตานนท 2 * 1,2 โครงการจัดการศึกษาพิเศษ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร .หาดใหญ .สงขลา 90112 E-mail: [email protected] 1 , [email protected] 2 * Nantarat Anukool 1 Watcharawalee Tangkuptanon 2 * 1,2 Special Program in Management Information Technology Faculty of Engineering, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla 90112 E-mail: [email protected] 1 , [email protected] 2 * บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอสารสนเทศทางทันต สาธารณสุข โดยเปนการ Mashup เครื่องมือที่หลากหลายของ เทคโนโลยีเว็บ 2.0 อันไดแก Yahoo! Pipes และ GeoCommons การดําเนินงานแบงเปน 4 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกคือ รวบรวม สารสนเทศทางดานทันตกรรม ขั้นตอนที่สองคือ ศึกษาการนํา เทคโนโลยีของเว็บ 2.0 มาประยุกตใชงาน ขั้นตอนที่สามคือ สราง การประสานระหวาง Yahoo! Pipes กับ GeoCommons โดย GeoCommons นําไฟล CSV ซึ่งเปนผลลัพธที่ไดจาก Yahoo! Pipes มาแสดงผลเชิงภูมิศาสตร ขั้นตอนที่สี่คือ นําเสนอผาน เว็บไซต อันประกอบไปดวยสารสนเทศหลักๆ คือ สารสนเทศของ โรคทันตกรรม ความสัมพันธระหวางโรคทางทันตกรรม สภาพน้ํา และจํานวนทันตบุคลากร ซึ่งสารสนเทศดังกลาวสามารถนําไป วิเคราะห และสังเคราะห เพื่อประกอบการวางแผนหรือตัดสินใจใน การจัดสรรจํานวนบุคลากรใหเหมาะสมกับแตละพื้นที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป คําหลัก Web 2.0, Mashup, GeoCommons, Yahoo! Pipes Abstract This research was aimed to represent the public dental health information based on Mashup. The various tools of website 2.0 technology such as Yahoo! Pipes and GeoCommons were utilized to analyze, synthesize, and estimate the amount of dental personnel that sufficient for their requirements. This process was divided into 4 steps. The first step was to compile the information in dentistry. The second step, to study the application of Web 2.0. The third, to create a joint between Yahoo! Pipes and GeoCommons and to imply the outcomes received from the Yahoo! Pipes, a CSV file represented to the GeoCommons for showing the result in a geographic form. The fourth, to represent it through a website that consists of main information such as the information of dental diseases, the relation of dental diseases, and the condition of water and dental personnel amount. This information was used to prepare for a planning or decision-making in allocation the amount of personnel that to be sufficient for each area efficiently and effectively. Keywords: Web 2.0, Mashup, GeoCommons, Yahoo! Pipes 1. บทนํา ปจจุบันเทคโนโลยีเว็บไดเขามามีบทบาทบนโลกอินเตอรเน็ต เปนอยางมาก ซึ่งเว็บ 2.0 ก็เปนอีกยุคหนึ่งที่สามารถทําใหเกิดการ สื่อสารไดทั้งสองทิศทาง ทั้งจากผูนําเสนอและบุคคลทั่วไปที่สนใจ หรือเรียกวา Dynamic web อีกทั้งเว็บ 2.0 ยังมีคุณสมบัติที่สําคัญทีเรียกวา Mashup ซึ่งเปนเว็บแอพพลิเคชันที่นําขอมูลจากสองแหลง ขึ้นไปใหสามารถทํางานรวมกันได จึงทําใหเกิดบริการรูปแบบใหม ขึ้นมาเปนจํานวนมาก สภาวการณปญหาโรคในชองปากในปจจุบันยังคงเปนปญหา ใหญยากตอการแกไข ซึ่งประชากรในบางพื้นที่อาจขาดการเอาใจ ใสดูแลสุขภาพในชองปาก ประกอบกับปญหาการเขาถึงของทันต บุคลากร สภาพพื้นทีและแหลงน้ําที่นํามาใชอุปโภคบริโภคก็อาจจะ มีสวนที่ทําใหประชากรบางสวนเกิดเปนโรคในชองปาก เชน ฟนตกกระ เปนตน 238

Upload: others

Post on 18-Oct-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การนําเสนอสารสนเทศด านทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public ...phoenix.eng.psu.ac.th/qa/Reference_EQA53/EQA_03(3)/5110121039_MI… ·

การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คร้ังที่ 8 22-23 เมษายน 2553

การนําเสนอสารสนเทศดานทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public Dental Health Information Representation based on mashup

นันทรัตน อนุกูล1 วัชรวลี ตั้งคุปตานนท2*

1,2โครงการจัดการศึกษาพิเศษ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112

E-mail: [email protected], [email protected]*

Nantarat Anukool1 Watcharawalee Tangkuptanon2* 1,2Special Program in Management Information Technology

Faculty of Engineering, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla 90112 E-mail: [email protected], [email protected]*

บทคัดยอ งานวิ จัย น้ี มีวัตถุประสงค เพื่อ นําเสนอสารสนเทศทางทันตสาธารณสุข โดยเปนการ Mashup เคร่ืองมือที่หลากหลายของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 อันไดแก Yahoo! Pipes และ GeoCommons การดําเนินงานแบงเปน 4 ข้ันตอน ข้ันตอนแรกคือ รวบรวมสารสนเทศทางดานทันตกรรม ข้ันตอนที่สองคือ ศึกษาการนําเทคโนโลยีของเว็บ 2.0 มาประยุกตใชงาน ข้ันตอนที่สามคือ สรางการประสานระหวาง Yahoo! Pipes กับ GeoCommons โดยGeoCommons นําไฟล CSV ซ่ึงเปนผลลัพธที่ไดจาก Yahoo! Pipes มาแสดงผลเชิงภูมิศาสตร ข้ันตอนที่ส่ีคือ นําเสนอผานเว็บไซต อันประกอบไปดวยสารสนเทศหลักๆ คือ สารสนเทศของโรคทันตกรรม ความสัมพันธระหวางโรคทางทันตกรรม สภาพน้ํา และจํานวนทันตบุคลากร ซ่ึงสารสนเทศดังกลาวสามารถนําไปวิเคราะห และสังเคราะห เพื่อประกอบการวางแผนหรือตัดสินใจในการจัดสรรจํานวนบุคลากรใหเหมาะสมกับแตละพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป คําหลัก Web 2.0, Mashup, GeoCommons, Yahoo! Pipes

Abstract This research was aimed to represent the public dental health information based on Mashup. The various tools of website 2.0 technology such as Yahoo! Pipes and GeoCommons were utilized to analyze, synthesize, and estimate the amount of dental personnel that sufficient for their requirements. This process was divided into 4 steps. The first step was to compile the information in dentistry. The second step, to

study the application of Web 2.0. The third, to create a joint between Yahoo! Pipes and GeoCommons and to imply the outcomes received from the Yahoo! Pipes, a CSV file represented to the GeoCommons for showing the result in a geographic form. The fourth, to represent it through a website that consists of main information such as the information of dental diseases, the relation of dental diseases, and the condition of water and dental personnel amount. This information was used to prepare for a planning or decision-making in allocation the amount of personnel that to be sufficient for each area efficiently and effectively. Keywords: Web 2.0, Mashup, GeoCommons, Yahoo! Pipes

1. บทนํา ปจจุบันเทคโนโลยีเว็บไดเขามามีบทบาทบนโลกอินเตอรเน็ตเปนอยางมาก ซ่ึงเว็บ 2.0 ก็เปนอีกยุคหน่ึงที่สามารถทําใหเกิดการส่ือสารไดทั้งสองทิศทาง ทั้งจากผูนําเสนอและบุคคลทั่วไปที่สนใจ หรือเรียกวา Dynamic web อีกทั้งเว็บ 2.0 ยังมีคุณสมบัติที่สําคัญที่เรียกวา Mashup ซ่ึงเปนเว็บแอพพลิเคชันที่นําขอมูลจากสองแหลงข้ึนไปใหสามารถทํางานรวมกันได จึงทําใหเกิดบริการรูปแบบใหมข้ึนมาเปนจํานวนมาก สภาวการณปญหาโรคในชองปากในปจจุบันยังคงเปนปญหาใหญยากตอการแกไข ซ่ึงประชากรในบางพื้นที่อาจขาดการเอาใจใสดูแลสุขภาพในชองปาก ประกอบกับปญหาการเขาถึงของทันตบุคลากร สภาพพื้นที่ และแหลงนํ้าที่นํามาใชอุปโภคบริโภคก็อาจจะมีสวนที่ทําใหประชากรบางสวนเกิดเปนโรคในชองปาก เชน ฟนตกกระ เปนตน

238

Page 2: การนําเสนอสารสนเทศด านทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public ...phoenix.eng.psu.ac.th/qa/Reference_EQA53/EQA_03(3)/5110121039_MI… ·

ดังปญหาที่กลาวขางตน ผูวิจัยจึงไดเล็งเห็นประโยชนของการนําเว็บ 2.0 มาประยุกตใชกับงานทางดานทันตสาธารณสุข โดยการนําเครื่องมือของเว็บ 2.0 ไดแก Yahoo! Pipes เพื่อบริหารจัดกา รสา รสน เทศด านทันตสาธาณสุ ข โดยจํ า แนกตามสภาพแวดลอมในแตละพื้นที่ และแสดงผลผานโปรแกรม GeoCommons ในรูปแบบเชิงภูมิศาสตร เพื่อชวยใหทันตบุคลากร และผูบริหาร ใชในการรายงานวิเคราะห และสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

บทความนี้ประกอบไป 5 สวน โดยสวนที่ 3 จะอธิบายถึงเทคโนโลยีเว็บ 2.0 Mashup Yahoo! Pipes และ GeoCommons ตามลําดับ จากนั้นในสวนที่ 4 จะกลาวถึงรายละเอียดของการพัฒนาระบบ ภาพรวมของงานวิจัย และผลการทดสอบ และสวนที่ 5 จะเปนบทสรุป

2.ขอบเขตของการวิจัย งานวิจัยน้ีนําเสนอสารสนเทศเฉพาะโรคทันตกรรมที่เกิดข้ึน

จากแหลงนํ้า จํานวนทันตบุคลากรในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย ใน 16 อําเภอ ของจังหวัดสงขลา

3.งานและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ 3.1 เทคโนโลยีเว็บ 2.0

เว็บ 2.0 (Web 2.0) เปนคําที่ถูกนิยามขึ้นโดยบริษัท O'Reilly Media ในป ค.ศ.2004 ซ่ึง เว็บ 2.0 น้ีเปนชื่อที่ใชเรียกรวมๆ เกี่ยวกับการใชงานอินเทอรเน็ตที่มีการกาวเขามาสูยุคที่ 2 โดยมีรูปแบบการใชงานอินเทอรเน็ตที่เปลี่ยนไปคือเนนการให บริการเปนหลักซึ่งกลาวไดวาเปนสังคมเครือขายที่ผูใชอินเทอรเน็ตมีสวนรวมในการสรางข้ึนมา [1-2]

เว็บ 2.0 อํานวยความสะดวกใหผูใชรวบรวมขอมูลที่แตกตางเขาไวดวยกัน รวมถึงการใชงานในการปฏิสัมพันธกันระหวางขอมูลอันหลากหลายรวมกับแอพพลิเคชันที่แตกตางกันดังน้ี [3] 3.1.1 การใชงานอินเทอรเน็ตอยางมีประสิทธิภาพ

เครื่องมือของเว็บ 2.0 มีลักษณะคลายกับโปรแกรม Desktop คือ งายตอการตดิตั้งและใชงานโดยการใชงาน ซ่ึงจะเปนการโต ตอบกันระหวางผูใชและโปรแกรม 3.1.2 การผสมผสานกันระวางเครื่องมือตางๆ เว็บ 2.0 มีองคประกอบที่สนับสนุนใหแอพพลิเคชันตางๆ สามารถทํางานรวมกัน เชน แสดงขอมูลในรูปแบบแผนที่ภูมิศาสตร ดังตัวอยางในรูปที่ 1-2

รูปท่ี1 การทํางานของ Yahoo! Pipes

รูปท่ี 2 การทํางานของ GeoCommons

3.1.3 ผูใชสามารถใชขอมูลรวมกนัได

ผูใชสามารถแบงปนขอมูล หรือรวมมือกันบันทึกขอมูลเขาฐานขอมูลทั้งที่เปนตัวอักษรและมัลติมีเดียได 3.2 Mashup

Mashup เปนเว็บแอพพลิเคชันที่พัฒนาข้ึนบนอินเทอรเน็ตโดยการรวมขอมูลจากหลายๆ แหลงเขาไวดวยกัน ซ่ึงผู ใช Mashup จะตองมีฐานขอมูลอยูแลว หลังจากนั้นทําการผสมผสานเขากับขอมูลจากแหลงอื่นๆ ซ่ึงขอมูลทั้งหมดจําเปนตองเปนฐานขอมูลออนไลน [5] 3.3 Yahoo! Pipes

Yahoo! Pipes เปนบริการฟรีออนไลนที่ชวยใหผูใชสามารถผสมผสานและการสรางขอมูลเพื่อนําไปเผยแพรและแบงปนบริการเว็บโดยไมตองเขียนโปรแกรม [6] ผูใชสามารถสราง Pipe โดยนํา Pre-configured Module มาไวบน Canvas และเชื่อมโยงกันไวใน Pipes Editor ซ่ึงแตละ Pipe จะประกอบดวยอยางนอยสองโมดูล โดยแตละ Pipe จะมีประสิทธิภาพเฉพาะตัว ตัวอยางเชน Fetch Module ใชเพื่อเรียกดู ขอมูลตามความตองการของผูใช เปนตน 3.3.1Pipes Editor

Pipes Editor ประกอบไปดวยองคประกอบหลักสามสวนดวยกันดังน้ี

- Library อยูดานซายของตาราง ประกอบไปดวย Moduleและ Save Pipe

239

Page 3: การนําเสนอสารสนเทศด านทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public ...phoenix.eng.psu.ac.th/qa/Reference_EQA53/EQA_03(3)/5110121039_MI… ·

- Canvas อยูสวนกลางของหนาจอ เปนพื้นที่สําหรับสรางและรวบรวม Pipe

- Debugger อยูดานลางของหนาจอ ทําหนาที่ตรวจสอบความถูกตองของ Pipe ตางๆ ดังแสดงในรูปที่ 3

รูปท่ี 3 หนาตางการทํางานของ Yahoo! Pipes

จากหนาตางการทาํงานของ Yahoo! Pipes ผูใชสามารถ

เลือก Module จาก Library มาวางบน Canvas เพื่อเชื่อมโยงการทํางาน โดยงานวจัิยน้ีไดยกตัวอยางการใชงานของ Yahoo! Pipes ซ่ึงประกอบไปดวย Fetch CSV Module ซ่ึงมีหนาที่ดึงขอมูลไฟลCSV ผาน URL จากนั้นเชื่อมดวย Rename Module เพื่อเปลีย่นชื่อใหตรงตามรูปแบบที่สามารถนําไปใชงาน สําหรับ Regex Module ทําหนาที่กําหนดขอมูลที่จะนําไปแสดงผลและนําขอมูลดังกลาวเขาสู Location Extractor Module ซ่ึงเปนการเตรียมขอมูลเพื่อนําไปแสดงผลในรูปแบบแผนที่ ดังรูปที่ 4

รูปท่ี 4 ขอมูลที่นําเสนอในรูปแบบแผนที่ดวย Yahoo! Pipes

Yahoo! Pipes สามารถนําเขาขอมูลไดจากหลายแหลงและ

หลากหลายประเภท และสามารถบันทึกเปนไฟลรูปแบบตางๆ ไดเชน CSV และ KML เปนตน ซ่ึงไฟลดังกลาวสามารถนําไปแสดงผลบน GeoCommons ไดอีกดวย ดังรูปที่ 5

รูปท่ี 5 บันทึกเปนชนิดไฟลในรูปแบบตางๆ

3.4 GeoCommons GeoCommons เปนบริการแผนที่เชิงภูมิศาสตรออนไลน

แบบไมเสียคาใชจาย ซ่ึงเปนเคร่ืองมือสําหรับนําเสนอขอมูลในรูป แบบแผนที่ ใชงานงาย ผูใชไมจําเปนตองมีประสบการณในการใชงานมากอน โดยแบงการทํางานเปน 2 สวน คือ จีโอคอมมอนไฟนเดอร (GeoCommons Finder!) และจีโอคอมมอนเมคเกอร (GeoCommons Maker!) [7] 3.4.1 จีโอคอมมอนไฟนเดอร (GeoCommons Finder!)

เปนแอพพลิเคชันสําหรับการคนหา จัดการ และแบงปน GeoData ออกแบบเพื่อใหเปนทั้งตัวหลักและรวบรวมขอมูล ซ่ึงความสามารถของ GeoData Finder! มีไดดังน้ี

- จัดเก็บและจัดระเบียบขอมูลในองคกรที่มีอยูอยางกระจัดกระจายใหอยูในที่เดียวกัน

- เพิ่มประสิทธิภาพในการใชขอมูล ใชงานงาย จึงใชไดทั้งผูชํานาญการ และผูใชทั่วไป

- สามารถสรางและแบงปนขอมูลการทํางานทั้งในระบบ Geographic Information Systems (GIS) และ GeoWeb ใดๆ

ประเภทขอมูลที่ใชใน GeoCommons Finder! มี 2 ประเภทดังตอไปน้ี

- ประเภทขอมูลสําหรับการนําเขา (Importing) ไดแก Shapefiles (SHP) Comma Separated Values (CSV) Keyhole Markup Language (KML) GeoRSS และ Text Documents สําหรับ GeoParsing

- ประเภทขอมูลสําหรับการการสงออก (Exporting) ไดแก SHP CSV และ KML 3.4.2 จีโอคอมมอนเมคเกอร (GeoCommons Maker!)

เปนเคร่ืองมือสําหรับสรางแผนที่และแสดงความสัมพันธ โดยใชขอมูลภูมิศาสตรที่หลากหลาย Maker! ชวยเผยแพรและแบงปนแผนที่ เชน ขอมูลภาพในเชิงลึก URL ที่เชื่อมโยง หรือไฟล PDF อีกทั้ง Maker! ยังชวยอํานวยความสะดวกในการรวมขอมูลแผนที่จากหลายๆ แหลงในเวลาเดียวกัน เชน ผูใชสามารถสรางแผนที่เพื่อแสดงความหนาแนนของประชากรและปริมาณแหลงนํ้าในพื้นที่ ซ่ึงผูใชสามารถนําผลและคําแนะนําตางๆ ที่ไดจาก Maker! ไปสนับสนุนการตัดสินใจไดตอไป

240

Page 4: การนําเสนอสารสนเทศด านทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public ...phoenix.eng.psu.ac.th/qa/Reference_EQA53/EQA_03(3)/5110121039_MI… ·

4. รายละเอียดการพัฒนา 4.1 ภาพรวมของงานวิจัย

การรวบรวมขอมูลทางดานทันตสาธารณสุขน้ีไดทําการ Mashup ขอมูลจาก 5 แหลงคือ 1) ขอมูลสารสนเทศของโรคทันตกรรม 2) ขอมูลพิกัดตําแหนงของแหลงนํ้า 3) ขอมูลพิกัดโรงพยาบาล/สถานีอนามัย 4) ขอมูลสารสนเทศของจํานวนทันตบุคลากร และ 5) ขอมูลแผนที่บน GeoCommons เขาดวยกัน โดยการจัดการขอมูลน้ันไดแบงการทํางานออกเปน 2 สวนคือ 4.1.1การนําขอมูลไฟล CSV มาใชงานใน Yahoo! Pipe

งานวิจัยน้ีไดสรางฐานขอมูลดานทันตสาธารณสุขออนไลน อันประกอบไปดวยขอมูลโรคทางทันตกรรม ขอมูลโรงพยาบาล/สถานีอนามัย จํานวนทันบุคลากร และขอมูลแหลงนํ้า ขอมูลที่นํามาใชจะเรียกผาน URL ของเว็บไซตที่เก็บขอมูลซ่ึงเปนไฟล CSV จากนั้นขอมูลที่ไดจะถูกนํามาแสดงบนแผนที่ไดโดยตรง หรือสามารถจะเลือกเฉพาะขอมูลที่ตองการ แลวบันทึกกลับไปเปนไฟล CSV ตัวใหม เพื่อนําไปใชกับ GeoCommons ดังรูปที่ 6

รูปท่ี 6 การบันทึกขอมูลจากฐานขอมูลออนไลน

4.1.2 การแสดงผลขอมูลเชิงภูมิศาสตรดวย GeoCommons

การนําไฟล CSV ที่ไดมาใชน้ัน GeoCommons สามารถนําผลลัพธที่ไดจาก Yahoo! Pipe มาแสดงผลบน GeoCommons ได โดยขอมูลแตละสวน เชน ขอมูลโรคทันตกรรม ขอมูลทันตบุคลากร ขอมูลโรงพยาบาล/สถานีอนามัย และขอมูลแหลงนํ้า ที่จัดเก็บเปนไฟล CSV ซ่ึงขอมูลที่นําเขา GeoCommons จะถูกมองเปน Layers ตามไฟลขอมูลน้ันๆ และสามารถเลือกแสดงผลตามตองการได ดังแสดงในรูปที่ 7

รูปท่ี 7 (a) ขอมูลเชิงภูมิศาสตรดวย GeoCommons (b) หนาตางในการเลือกการแสดงผลขอมูล

4.2 ผลการทดสอบ จากการประยุกตใชเว็บ 2.0 มาใชงานกับงานดานทันต

สาธารณสุขน้ันสามารถทําใหเห็นจํานวนทันตบุคลากรในแตละพื้นที่ และแหลงนํ้าที่นํามาใชอุปโภคบริโภคซึ่งอาจมีสวนที่ทําใหประชากรบางสวนเกิดเปนโรคในชองปาก เชน ฟนตกกระ ซ่ึงผลลัพธที่ไดน้ีจะแสดงผลขอมูลบนแผนที่ ทําใหสามารถเห็นการกระจายตัวของขอมูลในแตละสวน และนํามาใชในการตัดสินใจ เพื่อใหทันตบุคลากรเขาถึงพื้นที่น้ันๆ ไดตรงตามเปาหมาย

ในรูปที่ 8 วงกลมสีฟาจะแสดงจํานวนทันตบุคลากร ขนาดของวงกลมแสดงถึงจํานวนทันตบุคลากร ขนาดใหญหมายถึงจํานวนบุคลากรมาก ขนาดเล็กหมายถึงจํานวนบุคลากรนอยลงตามลําดับ สวนวงกลมสีแดง สม และสีขาว ไลระดับสีน้ันแสดงถึงความเสี่ยงของการเกิดโรคในชองปาก วงกลมสีแดงหมายถึงโอกาสความเสี่ยงการเกิดโรคสูง และวงกลมสีขาวความเสี่ยงจะนอยลง

รูปท่ี 8 รายละเอียดขอมูลจํานวนทันตบุคลากร และขอมูลความ

เส่ียงในการเกิดโรคในชองปาก 4.3 การวิจารณผล

จากงานวิจัยน้ี ผูวิจัยไดศึกษาการนําเว็บ 2.0 ไปประยุกตใชกับงานดานทันตสาธารณสุข โดยการนําเครื่องมือของเว็บ 2.0 ไดแก Yahoo! Pipe และ GeoCommons โดย GeoCommons นําไฟล CSV ซ่ึงเปนผลลัพธที่ไดจาก Yahoo! Pipes มาแสดงผลเชิงภูมิศาสตร เพื่อชวยใหทันตบุคลากรและผูบริหารใชในการรายงานวิเคราะห และสนับสนุนการตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ทั้งน้ี ผูวิจัยตั้งขอสังเกตุวา ผูใชงาน เว็บ 2.0 สามารถเขาถึงขอมูลไดอยางเสรี ดังน้ันผูที่จะประยุกตใช เว็บ 2.0 จึงไมควรเผยแพรขอมูลที่เปนความลับผานเทคโนโลยีน้ี 4.4 ขอจํากัดของระบบ

ในการนําเขาขอมูลจํานวนมากผาน Yahoo Pipe อาจตองใชเวลาในการประมวลผลนานหากเปรียบเทียบกับระบบอื่น โดยเฉพาะขอมูลในรูปแบบของตารางซึ่งสามารถทําไดเพียงครั้งละ 1500 แถว ซ่ึงใชเวลา 105 นาที ดังน้ันการรวบรวมและกรองขอมูลจึงยังทําไดจํานวนไมมากนัก

(a)

(b)

241

Page 5: การนําเสนอสารสนเทศด านทันตสาธารณสุขโดยใช Mashup Public ...phoenix.eng.psu.ac.th/qa/Reference_EQA53/EQA_03(3)/5110121039_MI… ·

5. บทสรุป บทความนี้นําเสนอวิธีการใชเครื่องมือของเว็บ 2.0 ในการ

ประยุกตใชงานกับสารสนเทศทางดานทันตสาธารณสุข ซ่ึงเปนการแสดงสารสนเทศผานรูปแบบเชิงภูมิศาสตร โดยใช Mashup เพื่อผสมผสานการใชงานเครื่องมือที่แตกตางกัน คือใช Yahoo! Pipes และ GeoCommons จากการประยุกตเทคโนโลยีดังกลาวยืนยันวาทั้ง Yahoo! Pipes และ GeoCommons เปนเคร่ืองมือ เว็บ 2.0 ที่ใชงานงาย และผูใชสามารถมีสวนรวมในการจัดการขอมูลตางๆ ได ผูบ ริหารดานทันตสาธารณสุขสามารถนําผลลัพธที่ ไดจาก GeoCommons ไปใชในการวางแผนหรือตัดสินใจในการจัดสรรจํานวนบุคลากรใหเหมาะสมกับแตละพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป อีกทั้ง วิธีการที่ไดจากงานวิจัยน้ีสามารถประยุกตใชกับพื้นที่หรือขอมูลประเภทอื่นๆ เชน ดานการทองเที่ยว ดานการเกษตร และดานเตือนภัยพิบัติตางๆ

6. กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยน้ีสําเร็จไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลตอไปน้ี ขอขอบคุณ คุณปวันรัตน แตนสุย และเจาหนาที่

คณะทันตกรรมมหาวิทยาลยัสงขลานครินทรทุกทานที่สนับสนุนดานขอมูลในการทําวิจัย ขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานที่กรุณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูแกผูวิจัย ซ่ึงผูวิจัยไดนําความรูเหลานั้นมาเปนพื้นฐานในการศึกษาและทําวจัิย และที่สําคัญขอขอบพระคุณบิดา มารดา พี่และนอง ที่คอยใหการสนับสนุน ชวยเปนกําลงัใจ ในงานวิจัยน้ีมาโดยตลอด

7. เอกสารอางอิง [1] อุษา เขียวคํา, “เทคโนโลยเีว็บ 2.0,” Available: http://pirun.ku.ac.th/~g5066160/533/web2.pdf.[Accessed:June.14, 2009]. [2] Elaine Dittman, “The difference between Web1.0 and Web2.0,”blogspot.com, April 16, 2008.[Online]. Available:http://dittems.blogspot.com/2008/04/difference-between-web10-and-web20.html. [Accessed: June.17, 2009]. [3] Ready Planet PR Team, “เทคโนโลยี Web 2.0 คืออะไร”, readyplanet.com,2008.[Online].Available: http://oxygen.readyplanet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=414887&Ntype=21. [Accessed: June.16, 2]. [4] Kei-Hoi Cheung, “Health care and life sciences data mash up using Web 2.0/3.0”, Science Direct Journal of Biomedical Informatics, vol.41, p.694 – 705, February 2008. [5] Up1, “MashUp (Web Application Hybrid)”, narisa.com, Sep 25,2007.[Online].Available:http://www.narisa.com/forums/index.php?autocom=blog&blogid=9&showentry=1122.[Accessed:June.16, 2009].

[6] Yahoo!, “Yahoo!Pipes,” Available: http://pipes.yahoo. Com/pipes/. [Accessed: June 5, 2009]. [7] FortiusOne Inc, “geocommons,” Available: http://geocommons.com/. [Accessed: June.5, 2009].

242