โครงการศึกษา ทบทวน...

312
รายงานการศึกษาขั้นต้น ( Inception Report) โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี เสนอต่อ สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร จัดทาโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสานักงานศูนย์วิจัย และให้คาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มิถุนายน 2561

Upload: others

Post on 04-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี

    เสนอต่อ

    ส านักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร

    จัดท าโดย

    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยส านักงานศูนย์วจิัย และให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    มิถุนายน 2561

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง สารบัญ-1

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    สารบัญ

    หน้า บทที่ 1 บทน า

    หลักการและเหตุผล 1-1 วัตถุประสงค์ 1-2 เป้าหมายของโครงการ 1-3 ลักษณะของโครงการ 1-3 ระยะเวลาด าเนินการ 1-3 แผนการด าเนินงานโดยสังเขป 1-3 แนวทางการด าเนินการ 1-5 การส่งมอบงาน 1-6

    บทที่ 2 หลักคิดและมิติที่หลากหลายของมหานครในเอเชีย ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย 2-1 ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 2-21 ด้านที่ 3 มหานครส าหรับทุกคน 2-44 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ 2-57 ด้านที่ 5 มหานครประชาธิปไตย 2-61 ด้านที่ 6 มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ 2-68 ด้านที่ 7 การจัดการเมืองมหานคร 2-72

    บทที่ 3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับสากลที่เกี่ยวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร

    ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย 3-1 ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 3-13 ด้านที่ 3 มหานครส าหรับทุกคน 3-34 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ 3-49 ด้านที่ 5 มหานครประชาธิปไตย 3-54 ด้านที่ 6 มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ 3-62

    ด้านที่ 7 การจัดการเมืองมหานคร 3-78

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง สารบัญ-2

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    สารบัญ

    หน้า บทที ่4 การทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี

    ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย 4-2 ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 4-24 ด้านที่ 3 มหานครส าหรับทุกคน 4-38 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ 4-53 ด้านที่ 5 มหานครประชาธิปไตย 4-58 ด้านที่ 6 มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ 4-67 ด้านที่ 7 การจัดการเมืองมหานคร 4-78

    บทที่ 5 แผนการด าเนนิงานขั้นต่อไป แผนการด าเนินงานในรายงานผลการศึกษาระยะกลาง (Interim Report) 5-1 บรรณานุกรม 5-4

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-1

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    บทที่ 1 บทน า 1. หลักการและเหตุผล

    2. วัตถุประสงค์ 3. เป้าหมายของโครงการ 4. ลักษณะของโครงการ 5. ระยะเวลาด าเนินการ 6. แผนการด าเนินงานโดยสังเขป 7. แนวทางการด าเนินการ 8. การส่งมอบงาน

    1. หลักการและเหตุผล กรุงเทพมหานครได้ด าเนินการจัดท าแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) โดยน าแผนวิสัยทัศน์ของประชาชนเพ่ือการพัฒนากรุงเทพมหานคร มาเป็นกรอบในการก าหนดทิศทางการพัฒนาเพ่ือให้กรุงเทพมหานครก้าวสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” โดยแบ่งช่วงการพัฒนาออกเป็น 4 ระยะ ๆ ละ 5 ปี ซึ่งในปีงบประมาณ 2561 นี้ อยู่ในช่วงระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561–2565) และกรุงเทพมหานครได้ด าเนินการตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556 – 2575) มาแล้วช่วงเวลาหนึ่งแต่ยังมีข้อจ ากัดในการติดตามความก้าวหน้าของมหานครทั้ง 7 ด้าน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการพัฒนาที่มุ่งเป้าหมายในการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน ในด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองสีเขียวสวยงาม ด้านเมืองกระชับมีการจราจรที่สะดวกสบาย ด้านเมืองส าหรับทุกคน ด้านเมืองเศรษฐกิจและการเรียนรู้ ด้านเมืองแห่งการพัฒนาประชาธิปไตย และด้านการบริหารเมืองอย่างมืออาชีพ แต่จากการด าเนินงานในการพัฒนาเมืองตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ และเป้าประสงค์ของมหานครด้านต่าง ๆ นั้น พบว่าการด าเนินงานและกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ที่ด าเนินการโดยหน่วยงานหลักต่างๆภายใต้สังกัดของกรุงเทพมหานครนั้น มีความไม่สอดคล้องกันระหว่างเป้าหมายตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองซึ่งเป็นเป้าหมายของการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ กับการด าเนินงานภารกิจและอ านาจหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ท าให้กรุงเทพมหานครไม่สามารถที่จะมีผลการด าเนินงานและการพัฒนาตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ตามมาตรฐานของเมืองมหานครที่ควรจะเป็น อีกทั้งปัจจุบันได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่ก าหนดบทบาทและภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ ไว้อย่างชัดเจน มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) เป็นกรอบการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยก าลังอยู่ในระหว่างการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ซึ่งถือเป็นเป้าหมายและทิศทางการพัฒนาที่ส าคัญที่ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะภาคราชการต้องด าเนินการให้เป็นไปตามทิศทางดังกล่าว

    ซึ่งหากพิจารณาถึงระยะของแผนแต่ละชั้นดังกล่าวแล้วนั้น จะเห็นได้ว่า แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี นั้นเริ่มขึ้นก่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และก่อนที่จะมีการถ่ายทอดจากยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ดังนั้นมีความเป็นไปได้อยู่สูง ที่แผนดังกล่าวอาจมีช่องว่างบางประเด็นที่ไม่มีความสอดคล้องซึ่งกันและกัน กระนั้น ด้วยว่าแผนพัฒนากรุงเทพมหานครที่จัดท าขึ้นนั้น มีหลายส่วนอยู่ในกรอบมาตรฐานสากล ซึ่งยึดโยงมากับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่รู้จักกันในรูปแบบแนวทางของ

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-2

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    Sustainable Development Goals (SDGs) ที่มีเป้าหมายในการพัฒนา 17 เป้าหมายในด้านต่างๆ ดังนั้นอาจเป็นไปได้ว่า แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปีจะยังคงมีร่องรอยของแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เช่นเดียวกัน

    นอกจากนี้ รูปแบบของกระบวนการในการพัฒนาแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี ฉบับนี้นั้น เป็นการออกแบบที่มีจุดเด่นอยู่ที่การท าการส ารวจความเห็นภาคประชาชนเป็นหลัก ในด้านหนึ่ง แผนพัฒนากรุงเทพมหานครจึงเป็นที่น่าเชื่อได้ว่า มีการวางเป้าหมายการด าเนินงานของการเป็นเมืองมหานครที่ถูกใจภาคประชาชน และสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักการที่ควรจะเป็นในการวิเคราะห์ช่วงระยะเวลานั้น ๆ หากแต่ในอีกด้านหนึ่ง การมุ่งเน้นความต้องการของภาคประชาชน และการเทียงเคียงกับมาตรฐานบางมาตรฐานในขั้นตอนการพัฒนาแผนนั้น ท าให้ละเลยการพิจารณาศักยภาพ ความสามารถ อ านาจหน้าที่ และขอบเขตของงานที่จะต้องเกิดขึ้นภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่วางไว้ ซึ่งนั่นจะกลายเป็นข้อจ ากัดที่ส าคัญของการถ่ายทอดเป้าหมายการพัฒนาตามวิสัยทัศน์การเป็นเมืองมหานครแห่งเอเซีย และการก าหนดตัวชี้วัดการพัฒนาในระดับเมืองที่จะน าไปสู่ผลสัมฤทธิ์ดังกล่าว

    และจากการที่กรุงเทพมหานครไม่ได้ท าการวิเคราะห์ ศักยภาพในการบริหารจัดการในด้านต่างๆตามท่ีแผนพัฒนากรุงเทพมหานครได้ก าหนดขึ้นอย่างเป็นระบบ ท าให้การจัดวางการปฏิบัติงานในรูปแบบของการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์จึงไม่มีประสิทธิภาพ การบริหารงานยังคงแตกกระจายไม่เฉพาะที่หน่วยงานมีพันธกิจหลักที่แยกจากกัน หากแต่หลักการของ “การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based)” ก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ การบริหาร งาน เงิน และคน แยกออกจากกันโดยไม่ได้มีการมุ่งเป้าประสงค์ที่สอดคล้องระหว่างกัน รวมไปถึงการมุ่งเน้นแต่การปฏิบัติงานประจ า ขาดความเข้าใจในการปฏิบัติงานที่ต้องเป็นการน าโดยเป้าหมายการพัฒนาหรือเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์นั่นเอง ตลอดจนการสื่อสารระหว่างหน่วยงานเพ่ือให้เกิดความเข้าใจต่อการด าเนินการภายใต้แผนพัฒนากรุงเทพฯ ฉบับนี้ ก็ไม่ได้เกิดข้ึนอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง ทั้งหน่วยงานส่วนกลางด้วยกันเอง และหน่วยงานส่วนกลางกับหน่วยงานในพ้ืนที่ อันได้แก่ ส านักงานเขตต่างๆ จนไม่มีการถ่ายทอดยุทธศาสตร์จากแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปีลงสู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง กรุงเทพมหานครจึงควรที่จะมีการติดตาม และทบทวนการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ผ่านมาว่า มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร เพ่ือให้กรุงเทพมหานครมีตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจของกรุงเทพมหานคร และสนับสนุนการพัฒนาตามเป้าหมายของการพัฒนาระดับประเทศ การจัดท าโครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง ตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ก็เพ่ือที่จะให้ได้ตัวชี้วัดระดับเมืองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ซึ่งจะน าไปสู่การก าหนดกรอบแนวทางในการด าเนินงาน การติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผลแผนพัฒนาฯ ให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพื่อศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดการพัฒนากรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทั้งในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับโลก 2.2 เพ่ือเสนอแนวทางในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) ให้มีความสอดคล้องกับบริบททางการบริหาร การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) 2.3 เพ่ือเสนอแนวทางการปรับปรุงระบบบริหารการพัฒนากรุงเทพมหานคร การจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหาร ภารกิจ และอ านาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-3

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    3. เป้าหมายของโครงการ 3.1 กรุงเทพมหานครมีตัวชี้วัดเพ่ือใช้ในการก ากับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาที่เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาในระดับประเทศ และเป็นไปตามแนวโน้ม การพัฒนาของโลก 3.2 กรุงเทพมหานครมีแนวทางการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) ให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหาร อ านาจหน้าที่ และภารกิจของกรุงเทพมหานคร 3.3 กรุงเทพมหานครมีข้อเสนอในการปรับปรุงโครงสร้างของแผนพัฒนากรุงเทพมหานครและแนวทางในการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ เพ่ือขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครที่ชัดเจน มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

    4. ลักษณะของโครงการ 4.1 โครงการด าเนินการโดยคณะที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของ การด าเนินงานตามตัวชี้วัดที่ผ่านมา เพ่ือเสนอปรับแผนการด าเนินงานหรือตัวชี้วัดเมือง และสังเคราะห์เป็นแนวทางในการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) ให้มีประสิทธิผล 4.2 โครงการนี้กรุงเทพมหานครจะจัดหาข้อมูลและผลการด าเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่คณะที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญร้องขอในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 5. ระยะเวลาด าเนินการ ระยะเวลาของด าเนินการจ้างที่ปรึกษาด าเนินงานตามขอบเขตของงาน เป็นระยะเวลา 210 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง 6. แผนการด าเนินงานโดยสังเขป

    6.1 ศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับสากลที่เกี่ยวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้แก่ พระราชบัญญัติการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทิศทางการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) บทความ ที่มีประเด็นความคิดเห็น ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่าง ๆ ต่อปัญหาการพัฒนาที่เกิดขึ้น และบทบาทของกรุงเทพมหานครที่อาจจะมีประเด็นที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม 6.2 ศึกษาและทบทวนตัวชี้ วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุง เทพมหานคร ระยะ 20 ป ี(พ.ศ. 2556 - 2575) แนวทางและกลไกการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 6.3 รวบรวม ศึกษาและวิเคราะห์ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดการพัฒนาระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) และกระบวนการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 6.4 จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ เพ่ือตรวจสอบ ทบทวนตัวชี้วัดยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางในการบริหารการพัฒนากรุงเทพมหานคร จ านวน 7 ครั้ง ครั้งละ 20 คน เพ่ือตรวจสอบความเชื่อมโยงของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-4

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    6.5 จัดประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือระดมความคิดเห็นและพิจารณาผลการทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) ยุทธศาสตร์การพัฒนาฯ และแนวทางการบริหารการพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยผู้เข้าร่วมเป็นหน่วยงานทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่เกี่ ยวข้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้านประชุมจ านวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 250 คน 6.6 ประมวลผลและวิเคราะห์การศึกษา เพ่ือปรับปรุงตัวชี้วัดการพัฒนาระดับเมืองของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) จัดท าข้อเสนอในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) และแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนากรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพสามารถตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) 6.7 จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่อผลการศึกษา ตามข้อ 6.6 จ านวน 1 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมเป็นหน่วยงานทุกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้าน และผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่าง ๆ ของยุทธศาสตร์ จ านวน 250 คน 6.8 จัดท ารายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ พร้อมสื่อบันทึกข้อมูล จ านวน 320 ชุด โดยเนื้อหา ของรายงานฉบับสมบูรณ์ประกอบด้วยตัวชี้วัดการพัฒนาของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) แนวทางในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) โครงสร้างของแผนพัฒนาฯ และแนวทางการบริหารแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

    ตาราง 1.1 ขั้นตอนการด าเนนิงาน

    พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

    1. กา รศึ กษา วิ เ ค ร าะห์ สภาพแวดล้ อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับสากลที่ เกี่ยวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร

    2. ศึ กษาและทบทวนตั วชี้ วั ดระดับ เมืองตามแผ น พั ฒ นา ก รุ ง เ ทพม ห า นค ร ร ะ ยะ 2 0 ปี แนวทางและกลไกการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

    3. รวบรวม ศึกษาและวิ เคราะห์ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดการพัฒนาระดับ เมื อง และกระบวนการบริ หารจั ดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

    4. จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ จ านวน 7 ครั้ง ครั้งละ 20 คน

    5. จัดประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือระดมความคิดเห็นและ

    เดือน

    ขั้นตอน

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-5

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

    พิจารณาผลการทบทวนตัวชี้วัดระดับเมือง โดยผู้ เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ นห น่ ว ย ง า น ทุ กห น่ ว ย ง า น ข อ งกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้าน ประชุมจ านวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมจ านวน 250 คน 6. ประมวลผลและวิเคราะห์การศึกษาเพ่ือปรับปรุงตั วชี้ วัดการพัฒนาระดับ เมืองของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี จัดท าข้อเสนอในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนากรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพ

    7. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่อผลการศึกษา จ านวน 1 ครั้ง โดยผู้เข้าร่วมเป็นหน่วยงานทุกหน่วยงานของกทม. ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้าน และผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่าง ๆ ของยุทธศาสตร์ จ านวน 250 คน

    8. จัดท ารายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ 7. แนวทางการด าเนินการ 7.1 ลงนามในสัญญาการว่าจ้างที่ปรึกษาระหว่างกรุงเทพมหานครและส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเมื่อได้ลงนามในสัญญาเริ่มโครงการแล้ว คณะที่ปรึกษาจะจัดเตรียมคณะท างานและวางแผนการท างานทันที 7.2 คณะที่ปรึกษาท าการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร ทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) และแนวทางและกลไกการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ศึกษาเอกสารรายงานผลการด าเนินงานตามรายตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดการพัฒนาระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) และกระบวนการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 7.3 คณะที่ปรึกษาจะจัดท ารายงานผลการศึกษาเบื้องต้น ที่ได้จากการวิเคราะห์สถานการณ์ สภาพแวดล้อมภายนอก และการศึกษาทบทวนตัวชี้วัดระดับเมือง 7.4 คณะที่ปรึกษาจะจัดท ารายงานผลการศึกษาระยะกลางที่ได้จากการวิเคราะห์สถานการณ์สภาพแวดล้อมภายใน ข้อสรุปจากการประชุมหน่วยงานและประชุมกลุ่มย่อย ตามกลุ่มยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้านของกรุงเทพมหานคร และจัดท าข้อเสนอในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 - 2575) และ

    เดือน

    ขั้นตอน

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-6

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    แนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนากรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนา 7.5 คณะที่ปรึกษาจะปรึกษาและสอบถามหน่วยงานโดยตรงในการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ 7.6 คณะที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญจะจัดท ารายงานฉบับสมบูรณ์ เนื้อหาประกอบด้วยตัวชี้วัด ข้อเสนอในการปรับปรุง แก้ไข และเพ่ิมเติมตัดลดตัวชี้วัด โครงสร้างของแผน และแนวทางการบริหารแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 8. การส่งมอบงาน คณะที่ปรึกษาเริ่มปฏิบัติงานนับตั้งแต่ลงนามในสัญญาว่าจ้างและจะด าเนินการให้ได้สมบูรณ์ ภายใน 210 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง 8.1 ส่งมอบรายงานผลการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) ภายใน 45 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง จ านวน 30 เล่ม โดยมีเนื้อหาครอบคลุม 1) ผลการศึกษา วิ เคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับสากลที่เก่ียวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร 2) ผลการศึกษา ทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปีแนวทางและกลไกการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 8.2 ส่งมอบรายงานผลการศึกษาระยะกลาง ( Interim Report) ภายใน 150 วัน นับถัดจากวัน ลงนามในสัญญาจ้าง จ านวน 30 เล่ม โดยมีเนื้อหาครอบคลุม 1) ผลการรวบรวม ศึกษา และวิเคราะห์ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดการพัฒนาระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และกระบวนการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 2) ข้อสรุปที่ได้จากการประชุมหน่วยงานในการตรวจสอบ ทบทวนตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ การพัฒนาและแนวทางในการบริหารการพัฒนากรุงเทพมหานคร

    3) ข้อสรุปที่ได้จากการประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือระดมความคิดเห็นและพิจารณาผลการทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์การพัฒนา และแนวทางการบริหารการพัฒนากรุงเทพมหานคร 4) ผลการวิเคราะห์ และประมวลผลการศึกษา เพื่อปรับปรุงตัวชี้วัดการพัฒนาระดับเมืองของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี จัดท าข้อเสนอในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี และแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนากรุงเทพมหานครให้มีประสิทธิภาพสามารถตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี 8.3 ส่งมอบรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ภายใน 210 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง พร้อมสื่อบันทึกข้อมูล จ านวน 320 ชุด โดยมีเนื้อหาครอบคลุม

    1) ข้อสรุปจากการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่อผลการศึกษา

    2) ตัวชี้วัดการพัฒนาของแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี แนวทางในการปรับแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี โครงสร้างของแผนพัฒนา และแนวทางการบริหารแผน พัฒนากรุงเทพมหานคร

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 1-7

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    ภายใต้การจัดท ารายงานผลการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) นั้น คณะที่ปรึกษาได้ด าเนินการแล้วเสร็จ โดยมีเนื้อหาตามที่ระบุใน TOR ดังรายละเอียดต่อไปนี้

    ที ่ รายละเอียดเนื้อหา บทที่

    1 ผลการศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ในระดับเมือง ระดับประเทศ และระดับสากลที่เกี่ยวข้องหรือส่งผลต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร

    3

    2 ผลการศึกษา ทบทวนตัวชี้วัดระดับเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปีแนวทางและกลไกการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร

    4

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 2-1

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    บทที่ 2 หลักคิดและมิติท่ีหลากหลายของมหานครในเอเชีย 2.1 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย

    2.2 ด้านที่ 2 มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 2.3 ด้านที่ 3 มหานครส าหรับทุกคน 2.4 ด้านที่ 4 มหานครกระชับ 2.5 ด้านที่ 5 มหานครประชาธิปไตย 2.6 ด้านที่ 6 มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ 2.7 ด้านที่ 7 การจัดการเมืองมหานคร

    ภายใตก้ารจัดท าแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556 – 2575) ซึ่งก าหนดเปูาหมาย/ทิศทางในการพัฒนาจ านวน 7 ยุทธศาสตร์ โดยมุ่งเปูาไปสู่การเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ระหว่างทางของการพัฒนาภายใต้แผนฯ ที่ได้ผลักดันดังกล่าว กรุงเทพมหานครด าเนินการแบ่งช่วงการทบทวน ประเมินแผนทุก 4 ปี ปัจจุบันการด าเนินการดังกล่าวอยู่ในช่วงระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 – 2565) ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนการจัดแบ่งเปูาหมายการพัฒนาจากค าว่า “ยุทธศาสตร์” เป็น “ด้าน” และ “ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย” เป็น “มิติ” ซึ่งรายงานฉบับนี้จะด าเนินการใช้ค าในการจัดแบ่งดังกล่าวตามแผนฯ ระยะที่ 2 คือ ด้านและมิติ ทั้งนี้ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในหลักคิดของการพัฒนาในแต่ละด้าน ในแต่ละมิติของการพัฒนา คณะที่ปรึกษาจึงได้ด าเนินการน าเสนอหลักคิดที่ส าคัญของแต่ละมิติใน 7 ด้าน เพ่ือให้เป็นหมุดยึดส าหรับใน การท าความเข้าใจความส าคัญที่ต้องพัฒนา แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากนั้นเพ่ือให้การวางเปูาหมายการเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ของกรุงเทพมหานคร ก็จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องท าความเข้าใจเบื้องต้นต่อแนวคิดมาตรฐานของมหานคร/เมืองที่เป็นได้รับการยอมรับว่าประสบความส าเร็จในการพัฒนาในแต่ละมิติ หรือน าเสนอคู่เปรียบเทียบของเมืองดังกล่าวที่ประสบความส าเร็จหรือมีรูปแบบการพัฒนาในมิตินั้น ๆ ที่ท าให้เกิดความเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีต่อเมือง ต่อประชาชนในเมือง และท้ายที่สุด ตัวอย่างดังกล่าว อาจจะน าไปสู่การประยุกต์ใช้แนวคิดที่ได้รับมาพัฒนาแนวทางในการยกระดับมหานครแห่งนี้ต่อไป 2.1 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.1 ปลอดมลพิษ หลักคิด นิยาม กรอบความเข้าใจ: ปลอดมลพิษ หลักคิดส าคัญเพ่ือท าความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการให้เมืองปลอดมลพิษของกรุงเทพมหานคร สามารถใช้แนวคิดที่น่าสนใจด้วยกัน 3 แนวคิด โดยแนวคิดแรกเป็นกรอบการพัฒนาเมืองที่เน้นความส าคัญของสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก แนวคิดเรื่องเมืองสีเขียว (Green city) จึงมีความเชื่อมโยงกับ การอนุรักษ์และพัฒนาพ้ืนที่สีเขียวที่เป็นประโยชน์ทางด้านสิ่งแวดล้อม สร้างคุณค่าความเป็นเมืองใหม่ในแง่ประวัติศาสตร์และภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม โดยสะท้อนอัตลักษณ์ของเมืองได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้นิยามความหมายของเมืองสีเขียวอาจหมายถึงพ้ืนที่สีเขียวในเขตเมืองและนอกเมือง อาจเป็นพ้ืนที่สาธารณะหรือเอกชน ที่ประกอบด้วยพื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการและมีความงดงามทางสภาพภูมิทัศน์ โดยเป็นพ้ืนที่ทางธรรมชาติและกึ่งธรรมชาติอันเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลาย (ภัทรพร, 2552) อีกแนวคิดคือการออกแบบชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนตามแนวคิดของ Cliff Moughtin ที่น าเสนอใน Urban Design Green Dimensions (Moughtin, 2005) ได้กล่าวถึงวิกฤตการณ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมและ

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 2-2

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    การพัฒนาอย่างยั่งยืนในมิติที่เกี่ยวข้องกับพลังงานว่า ในด้านหนึ่งการวางผังออกแบบและก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในเมืองมีส่วนท าให้เกิดการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง และก่อให้เกิดมลพิษ (Pollution) ในอีกด้านหนึ่ง การคมนาคมขนส่งในเมืองก็เป็นสาเหตุหลักท่ีท าให้เกิดการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองและก่อให้เกิดมลพิษอย่างมากเช่นกัน ดังนั้น การออกแบบชุมชนเมืองอย่างยั่งยืนควรเน้นการวางผังและออกแบบเมือง และระบบการสัญจรภายในเมืองที่ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานอย่างประหยัด หรือหากจะกล่าวในอีกมุมหนึ่งก็คือ ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลให้มากที่สุด และส่งเสริมการสัญจรที่เป็นทางเลือก เช่น การเดิน การใช้ทางจักรยาน และระบบขนส่งมวลชนให้มากยิ่งขึ้น Moughtin ได้เสนอกระบวนทัศน์การออกแบบชุมชนเมืองตั้งแต่ระดับภาคมาจนถึงเมือง ส่วนของเมือง (City Quarter) และกลุ่มอาคาร (Urban Street Block) อย่างไรก็ตามแนวความคิดดังกล่าวยัง ไม่ได้มีผู้น าไปปฏิบัติอย่างจริงจังและเกิดเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ท้ายที่สุดแนวความคิดเรื่องเมืองน่าอยู่ได้มีผู้เสนอแนวทางเลือกในการออกแบบชุมชนเมืองเช่น Joseph Aicher ได้กล่าวถึงใน Designing Healthy Cities: Prescriptions, Principles, and Practice (Aicher, 1998) ว่า สุขภาพและความมีพลานามัยที่สมบูรณ์ (Health and Fitness) ของประชากรในเมืองมาจากปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางด้านลบก่อให้เกิดการเจ็บปุวย ปัจจัยทางด้านบวกท าให้สุขภาพดี สุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมจากสิ่งกดดันทางด้านกายภาพ (Physical Stressors) ชีวเคมี (Biochemical Stressors) เศรษฐกิจและสังคม (Socio-Economic Stressors) และจิตวิทยา (Psychological Stressors) ดังนั้น การออกแบบชุมชนเมืองให้เป็นเมืองที่น่าอยู่จ า เป็นจะต้องลดแรงกดดันต่าง ๆ เหล่ านี้ ให้มากที่ สุด ในขณะเดียวกันก็ เ พ่ิมสิ่ งสนับสนุน หรือ ภูมิต้านทาน (Supporters) ต่อปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ท าให้เกิดสิ่งกดดันด้วย เพ่ือให้เกิดความน่าอยู่ภายในเมือง Aicher ได้กล่าวถึงการออกแบบชุมชนเมืองในปัจจุบันว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไรและผลจากการพัฒนาเมืองในเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นลอสแอนเจลิส โตรอนโต หรือเมืองอ่ืน ๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นว่า นักผังเมือง นักออกแบบชุมชนเมือง สถาปนิก และวิศวกรยังไม่ได้พิจารณาถึงผลกระทบต่อสุขภาพและพลานามัยของพลเมืองอย่างครอบคลุมในการวางผังและออกแบบเมือง รถยนต์และการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลมีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุการเจ็บปุวยและสุขภาพของคน การออกแบบและวางผังเมืองที่ต้องพ่ึงพาหรือส่งเสริมการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลจึงเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเมืองที่น าไปสู่ความไม่น่าอยู่ (Unhealthy Community) นอกจากนี้ Aicher ยังได้น าเสนอกระบวนทัศน์หรือแบบจ าลองการออกแบบชุมชนเมืองที่ไม่น่าอยู่ (Model for Unhealthy Community) และการออกแบบชุมชนเมืองที่น่าอยู่ (Model for Healthy Community) Aicher ได้เน้นการแสดงความแตกต่างการออกแบบชุมชนเมืองที่มีผลมาจากการพ่ึงพาและไม่พ่ึงพารถยนต์ส่วนบุคคล รวมทั้งการออกแบบที่ลดและเพ่ิมสิ่งกดดันหรือ ภูมิต้านทานในเรื่องต่าง ๆ รูปแบบมหานครอื่น ๆ ในเอเชียท่ีท าเรื่องปลอดมลพิษ สิงคโปร์ถือเป็นต้นแบบชั้นน าของมหานครแห่งภูมิภาคเอเชียที่นอกเหนือจากความโดดเด่นในพัฒนาการทางเศรษฐกิจแล้ว การขับเคลื่อนความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมของสิงคโปร์ถือว่าจัดอยู่ในระดับแนวหน้าของภูมิภาคมาอย่างยาวนาน จากการจัดอันดับของดัชนีประสิทธิภาพทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Performance Index) ในปี ค.ศ. 2016 พบว่า สิงคโปร์เป็นเพียงเมืองเดียวในเอเชียได้รับการจัดอยู่ใน 20 เมืองที่มีคะแนนสูงสุดจากการประเมินทั่วโลก โดยสิงคโปร์อยู่ในอันดับที่ 14 ของโลก (กรุงเทพมหานคร อันดับที ่121) นอกจากนี้ในปี ค.ศ. 2018 ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจสีเขียว (The Global Green Economy Index) ได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 5 ของโลก (DUAL CITIZEN LLC, 2018) ในฐานะเมืองที่มีเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุดในโลก (กรุงเทพมหานคร อันดับที่ 43) จากการจัดอันดับโดยสถาบันชั้นน าในระดับโลกเป็น

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 2-3

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    เครื่องบ่งชี้ที่ชัดเจนอย่างยิ่งถึงความส าเร็จของสิงคโปร์ในการก้าวเป็นผู้น าในการจัดการเมืองให้มีความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกับการสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของผู้คนในสังคม นอกเหนือจากวิสัยทัศน์ของผู้น าประเทศของสิงคโปร์ที่ให้ความส าคัญกับการขับเคลื่อนประเด็นทางสิ่งแวดล้อมเป็นวาระส าคัญของประเทศนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากประเทศมาเลเซียเมื่อปี ค.ศ. 1965 (Seik, 1996) แล้วนั้น การมีแนวทางการพัฒนาว่าด้วยสิ่งแวดล้อมแบบครบวงจรที่เสมือนเป็นพิมพ์เขียว (blue print) ในการด าเนินนโยบายให้สอดรับกับเปูาหมายที่สิงคโปร์ได้วางไว้ถือเป็นอีกแรงขับเคลื่อนส าคัญให้สิงคโปร์ก้าวมาเป็นเมืองชั้นน าของความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมของภูมิภาคเอเชียได้อย่างยาวนานถึงปัจจุบัน Singapore Green Plan 2012 แผนแห่งเมืองสีเขียวแบบครบวงจร ความมุ่งมั่นของสิงคโปร์ในการก้าวสู่ความเป็นมหานครแห่งความยั่งยืนอย่างจริงจังนั้น อาจอนุมานได้จากการน าเสนอแผนว่าด้วยความยั่งยืนของเมือง (Urban Sustainability) ในปี ค.ศ. 1992 ซึ่งถือเป็นแผนที่ออกแบบจากฐานคิดแบบองค์รวมคือมิได้มองเฉพาะมิติทางสิ่งแวดล้อมเพียงอย่างเดียว หากแต่มีการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ ประชาชน และเอกชนเข้าด้วยกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเมืองของสิงคโปร์ที่เน้นย้ าถึงความส าคัญของสิ่งแวดล้อมเป็นวาระส าคัญของเมืองมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 ซึ่งถือว่าริเริ่มและด าเนินการน าหน้าเมืองชั้นใหญ่อ่ืนในภูมิภาค อาทิ กรุงเทพมหานคร จาการ์ตา และมะนิลา (Harris, 2010) ประเด็นดังกล่าวนี้เองที่ถือเป็นข้อได้เปรียบของสิงคโปร์ให้สามารถบรรลุเปูาหมายของประเทศในการมุ่งเป็นผู้น าของภูมิภาค ปัจจัยความส าเร็จขั้นต้น คือ การมองการณ์ไกลและคิดล่วงหน้าของสิงคโปร์ต่อมิติต่าง ๆ ของเมืองที่ล้วนมีปฏิสัมพันธ์และส่งผลกันและกันเป็นระบบ การคิดและการวางแผนล่วงหน้าเมื่อราวห้าสิบปีที่แล้วช่วยให้สิงคโปร์สามารถวางแผนรองรับการขยายตัวของเมืองได้อย่างเป็นระบบและรักษาสมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและความสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้อย่างดี (Harris, 2010) จึงมิใช่เรื่องมหัศจรรย์แต่ประการใดที่ทุกวันนี้เราสามารถอยู่อาศัยในเมืองที่สะอาด มลพิษต่ า และมีพ้ืนที่สีเขียวกระจายทั่วเมืองเฉกเช่นที่สิงคโปร์แสดงให้โลกได้ประจักษ์ชัดดังที่กล่าวมา ปัจจุบัน (ปี ค.ศ. 2018) สิงคโปร์ยังคงรักษาความพยายามในการให้ความส าคัญเรื่องความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมเป็นวาระส าคัญของเมือง ทั้งนี้ปัจจัยความส าเร็จจากการศึกษาพบว่า การทบทวนแผนว่าด้วยความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ าเสมอถือเป็นอีกปัจจัยส าคัญที่ช่วยให้สิงคโปร์สามารถรัก ษาประสิทธิภาพด้านสิ่งแวดล้อมให้มีความยั่งยืนในระดับแนวของภูมิภาคท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่ทวีความกังวลมากข้ึนในเวทีโลก นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 ที่สิงคโปร์ประกาศเจตจ านงในการเปลี่ยนผ่านสู่เมืองแห่งความยั่งยืน ในปี ค.ศ. 2012 สิงคโปร์ได้พัฒนาแผนฉบับใหม่ที่ได้รับการทบทวนและพัฒนาให้มีความก้าวหน้าและบูรณาการกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมได้ดียิ่งขึ้น โดย Singapore Green Plan 2012 ถือเป็นเครื่องมือส าคัญของเมืองที่จะใช้เป็นแบบแผนส าคัญในการขับเคลื่อนความยั่งยืนไปอีก 10 ปี (แผนฯ มีก าหนดทบทวนอีกครั้งในปี ค.ศ. 2022) ซึ่งมีเปูาหมายครอบคลุมทั้งการส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือให้เกิดความน่าอยู่ของเมืองโดยมีการขับเคลื่อนผ่านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย นอกเหนือจากนี้ ยังผลักดันให้เกิดความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาคเอกชนและประชาสังคม โดยที่ผ่านมาความส าเร็จของสิงคโปร์นั้นได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชนและประชาสังคมอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้สาระส าคัญของ Singapore Green Plan 2012 สามารถสรุปได้ดังนี้

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 2-4

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    1. หลัก 3P Partnership การสร้างกลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เภาคอกชน และภาคประชาสังคมมีส่วนส าคัญให้เกิดความตระหนักต่อความส าคัญของสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมและระบบนิเวศ 1.1 ภาคประชาสังคม แรงสนับสนุนจากภาคประชาสังคมของสิงคโปร์เป็นรากฐานและแรงสนับสนุนที่ใหญ่ที่สุดให้นโยบายส าเร็จได้ในระยะยาว การสร้างการรับรู้อย่างต่อเนื่องและท าให้ประชาชนเห็นคุณค่าของการเข้าไปมีส่วนในการจัดการสิ่งแวดล้อมถือเป็นปัจจัยทางจิตวิทยาที่ส าคัญที่ขัดเกลาให้สังคมในภาพรวมรู้สึกหวงแหนระบบนิเวศเมืองของตน และถือว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของระบบนั้น ส าหรับสิงคโปร์ได้ใช้กลไกขององค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) เข้ามามีบทบาทร่วมขับเคลื่อนในภาคประชาสังคมเป็นแนวทางคู่ขนานกับภาครัฐและเอกชน อาทิ การให้งบประมาณสนับสนุนการท ากิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องกับองค์กรพัฒนาเอกชน เป็นต้น 1.2 ภาคเอกชน ซึ่งครอบคลุมภาคอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งเสริมให้เกิดการใช้เทคโนโลยีที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและกระบวนการผลิตที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดจน การด าเนินงานของบริษัทเอกชนต่าง ๆ ที่ภาครัฐจะมีเกณฑ์ชี้วัดการด าเนินกิจการที่มีความยั่งยืนเป็นเครื่องมือในการวัดประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจสีเขียวที่เกิดขึ้นในสิงคโปร์ 1.3 ภาครัฐ สนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะการจัดให้มีโครงสร้างกลุ่มงานที่ขับเคลื่อนในประเด็นเฉพาะซึ่งเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่รับผิดชอบในงานด้านต่าง ๆ โดยเป็นทั้งขับเคลื่อน อ านวยความสะดวก และเชื่อมประสาน เป็นโครงสร้างเชิงเครือข่ายเฉพาะกิจ (ad hoc network) ที่ท าให้การด าเนินงานที่จ าต้องอาศัยการบูรณาการข้ามหน่วยงานเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สิงคโปร์ยังใช้กลยุทธ์การสร้างพันธมิตรกับความร่วมมือทั้งในระดับท้องถิ่นและระหว่างประเทศมาเป็นส่วนสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนและขยายผลไปยังทุกมิติของเมือง โดยปัจจุบันมีองค์กรในระดับต่าง ๆ เข้าร่วมเป็นพันธมิตรสร้างความยั่งยืนและด าเนินโครงการร่วมกับภาครัฐ แนวทางส าคัญคือ (1) การใช้มาตรการควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด (2) ยกระดับประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดการพ่ึงพาแหล่งพลังงานที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง (3) เชื่อมโยงระบบส่งน้ าของเมืองอย่างครบวงจรและใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิตน้ าจืด (4) การจัดการขยะมูลฝอยโดยเน้น การเพ่ิมสัดส่วนการรีไซเคิล (5) เพ่ิมสัดส่วนพื้นที่สีเขียวของเมืองเพ่ือสุขภาวะที่ดีในภาพรวม และ (5) การสร้างพันธมิตรกับนานาชาติ มิติที่ 1.2 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด หลักคิด นิยาม กรอบความเข้าใจ: อาชญากรรม

    อาชญากรรม เป็นการกระท าความผิดอันก่อให้เกิดความเสียหายทั้งแก่บุคคล สถานที่องค์กร เป็นต้น ซึ่งผลของความเสียหายนั้นมีผู้ได้รับผลนั้น ก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งแก่ตัวผู้กระท าความผิดหรืออาชญากร ผู้เป็นเหยื่อ หรือบุคคล สถานที่องค์กรอ่ืน ๆ ทั้งในรูปแบบของการสูญเสียชีวิต ทรัพย์สิน สภาพจิตใจ สิ่งของ สถานที่ และหน้าที่การงาน เป็นต้น

    ในแง่นิติศาสตร์ อาชญากรรมเป็นการกระท าหรือละเว้นการกระท าใด ๆ อันเป็นปฏิปักษ์ต่อบทบัญญัติหรือข้อห้ามแห่งกฎหมายมหาชน ตามมาตรา 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งบัญญัติว่าบุคคลจะต้องรับโทษทางอาญาต่อเมื่อได้กระท าการอันกฎหมายที่ใช้ขณะนั้นบัญญัติไว้ในกฎหมาย ถ้าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังการกระท าเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป ให้ผู้ที่ได้กระท าการนั้นพ้นจาก

  • โครงการศึกษา ทบทวน และปรับตัวชี้วัดระดับเมือง 2-5

    รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

    การเป็นผู้กระท าความผิดและได้มีค าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษแล้ว ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องค าพิพากษาว่าได้กระท าความผิดนั้นถ้ารับโทษอยู่ก็ให้การลงโทษนั้นสิ้นสุดลงจากบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่ากฎหมายให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะได้มีการพิสูจน์ความผิดโดยกระบวนการพิจารณาของศาลตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

    ในแง่สังคมวิทยา อาชญากรรมเป็นการมุ่งวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่แสดงหรือส่อเจตนาเป็นปฏิปักษ์และภยันตรายต่อผลประโยชน์พื้นฐานแห่งความสงบเรียบร้อยของสังคมและมีเหตุผลเพียงพอที่รัฐจะได้ก าหนดวิธีการปฏิบัติหรือแทรกแซงเพ่ือควบคุมและระงับพฤติกรรมอันเป็นภัยต่อสังคมเหล่านั้นโดยชอบธรรม ส าหรับการพิจารณาปัญหาอาชญากรรมในทัศนะของสังคมวิทยา นอกจากจะขึ้นอยู่กับปัจจัยบรรทัดฐานประพฤติของบุคคลในบางครั้งยังต้องพิจารณาถึงปัจจัยพฤติกรรมส่วนบุคคลที่สามารถควบคุมความรู้จักรับผิดชอบเคารพปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ค่านิยมทางสังคม รวมทั้งยินดีรับรู้ในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อ่ืนด้วยความสมัครใจ ยิ่งไปกว่าการใช้กฎเกณฑ์ทางสังคมเป็นเงื่อนไขบังคับอันถือเป็นความประพฤติท่ีเกิดข้ึนจากความรู้สึกผิดชอบชั่วดีของผู้ปฏิบัติเองเป็นองค์ประกอบอันส าคัญ

    ในแง่จิตวิทยาอาชญากรรมเป็นผลจากความแตกต่างในโครงสร้างทางสรีรวิทยาและกรรมพันธุ์ รวมตลอดถึงความบกพร่องในทางความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัวความพิการ โรคภัยไข้เจ็บ ยาเสพติดให้โทษ โรคพิษสุราเรื้อรัง สติปัญญา การศึกษา แรงจูงใจ อารมณ์ บุคลิกภาพ สัญชาตญาณ เพศ อายุ และความเจริญเติบโตทางร่างกาย ฉะนั้นวิธีปฏิบัติเพ่ือแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในลักษณะนี้จึงมุ่งไปในด้านใช้หลักจิตวิทยาว่าด้วยอาชญากรรมเป็นปัจจัยส าคัญในการปฏิบัติต่อผู้กระท าผิด โดยมุ่งเน้นใช้หลักสังคมวิทยา จิตวิทยา จิตแพทย์สมัยใหม่ปฏิบัติต่อผู้กระท าผิดเป็นรายบุคคลและการบ าบัดทางจิตเป็นกลุ่มเป็นส่วนใหญ ่

    ในแง่นักอาชญาวิทยา อาชญากรรมเป็นการมุ่งพิจารณาถึงปรากฏการณ์อาชญากรรมและพฤติกรรมของอาชญากรในลักษณะสหวิทยาการ ซึ่งมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับกฎหมาย สังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา จิตแพทย์และสังคมศาสตร์แขนงอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอย่างใกล้ชิด และมุ่งความสนใจศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสภาพปัญหา พฤติการณ์ของผู้กระท าผิดธรรมดาจิตผิดปกติ สถิติอาชญากรรม การวิจัยของอาชญากรรม ผลสะท้อนความเสียหายของอาชญากรรมต่อสังคม องค์กรอาชญากรรมต่อสังคม องค์การอาชญากรรม วิทยาการว่าด้วยผู้ถูกท าร้ายอาชญากรรมเปรียบเทียบ การจัดระบบบริหารและการประสานงานในหน่วยงานกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงทัศนคติความรู้สึกของชุมชนที่มีต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต ารวจ อัยการ ศาล และราชทัณฑ์ การคุ้มครองปูองกันความเป็นธรรมกับสิทธิมนุษยชน และแนวการก าหนดนโยบายที่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม

    ส านักงานต ารวจแห่งชาติซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่มีอ านาจหน้าที่ โดยตรงในการปูองกันและลดอาชญากรรม การรวบรวมข้อมูลสถิติคดีอาญา แบ่งการจัดเก็บสถิติคดีอาญา 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ กลุ่มท่ี 2 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ กลุ่มที่ 3 คดีความผิดพิเศษ และกลุ่มที่ 4 ความผิดที่รัฐเป็นผู้เสียหาย โดยแบ่งอ านาจหน้าที่ตามพ้ืนที่รายจังหวัดโดยต ารวจภูธรจังหวัดรับผิดชอบ ซึ่งต ารวจภูธรจังห�