ทบทวน bus law 2 thai mid term

53
ทบทวน ตั๋วเงิน

Upload: wisdom-ingoodfaith

Post on 28-Apr-2015

161 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทบทวน bus law 2 thai mid term

ทบทวน

ตั๋วเงิน

Page 2: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  1.ประเภทของตั๋วเงินม.898

ตามป.พ.พมี3ประเภทคือตั๋วแลกเงิน(ผู้เกี่ยวข้องคือผู้สั่งจ่าย‐ผู้จ่าย‐ผู้รับเงิน)

ตั๋วสัญญาใช้เงิน(ผู้เกี่ยวข้องคือผู้ออกตั๋ว‐ผู้รับเงิน)เช็ค(ผู้เกี่ยวข้องคือผู้สั่งจ่าย‐ธนาคาร/ผู้จ่าย‐ผู้รับเงิน)

Page 3: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  2.ตั๋วเงินแต่ละประเภทก็ต้องมีรายการตามที่กฎหมายกําหนดอย่างครบถ้วน

‐ตั๋วแลกเงิน(ม.909)

‐ตั๋วสัญญาใช้เงิน(ม.983)

‐เช็ค(ม.988)

Page 4: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  3.จะต้องมีข้อความระบุในตั๋วเงินได้เฉพาะที่กฎหมายระบุไว้เท่านั้น

แต่แม้มีข้อความที่เกินเลยจากที่กฎหมายกําหนดก็มีผลเพียงข้อความนั้นใช้ไม่ได้มิใช่ตั๋วเสียไป(ม.899)

Page 5: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  4.ผู้ใดที่ลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินไม่ว่าจะเขียนไว้ในลักษณะใดหรือเป็นการปลอมชื่อผู้ใดมาก็ตามให้ถือเป็นลายมือชื่อของผู้นั้นและมีผลให้ต้องรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น(ม.900)

ผู้ใดที่ลงชื่อในตั๋วเงินแทนผู้อื่นถ้ามิได้แถลงว่าทําการแทนก็ต้องรับผิดในตั๋วตามม.900(ม.901)

ถ้าได้แถลงว่าทําการแทนก็ไม่ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัวตามม.900(ตัวการผู้มอบอํานาจก็รับผิดในตั๋วเงินตามฐานะตัวแทนม.820ไม่ใช่ม.900)

Page 6: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ชนิดของตั๋วเงิน

‐ตั๋วผู้ถือ:คือตั๋วเงินที่ออกโดยมิได้ระบุชื่อผู้ใดให้เป็นผู้รับเงิน

‐ตั๋วระบุชื่อ:คือตั๋วเงินที่ออกโดยระบุชื่อบุคคลให้เป็นผู้รับเงิน

Page 7: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผูทรง : คือ ผูมีสิทธิเรียกรองใหชำระเงินตามตั๋ว หรือเจาหนี้ตามตั๋ว

นั่นเอง มีองคประกอบคือC

1. มีตั๋วอยูในครอบครองC

2. การครอบครองนั้นจะตองครอบครองในฐานะ ผูรับเงิน หรือ ผูรับสลัก

หลังC

Page 8: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การพิสูจน์การเป็นผู้ทรงมาตรา905ตั๋วระบุชื่อเฉพาะ/ตั๋วที่สลักหลังเฉพาะ/ตั๋วที่สลักหลังลอย:ผู้ทรงคือเป็นผู้ที่มีชื่อระบุไว้ให้เป็นผู้รับเงินในตั๋วเงินหรือให้เป็นผู้รับสลักหลังเฉพาะหรือผู้ที่ครอบครองตั๋วที่สลักหลังลอยได้รับตั๋วเงินนั้นมาในครอบครองของตนโดยสุจริต/ไม่ได้มาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงสามารถแสดงว่าได้รับตั๋วเงินมาโดยการสลักหลังไม่ขาดสาย

Page 9: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ตั๋วผู้ถือ:ผู้ทรงคือ

เป็นผู้ที่ครอบครองตั๋วเงินอยู่ในขณะนั้นได้รับตั๋วเงินนั้นมาในครอบครองของตนโดยสุจริต/ไม่ได้มาโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

ผู้ทรงก็ได้รับสิทธิที่จะสามารถยึดถือตั๋วเงินนั้นเพื่อเรียกประโยชน์ที่ตนพึงจะได้ตามตั๋วเงิน

นั้นโดยไม่จําต้องสละตั๋วเงินนั้นให้แก่ผู้ใด

Page 10: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ตั๋วแลกเงิน:คือหนังสือตราสารที่ผู้สั่งจ่ายสั่งให้ผู้จ่าย(ซึ่งจะเป็นตัวผู้สั่งจ่ายเองหรือ

บุคคลอื่นก็ได้ตามม.912)จ่ายเงินให้ตามจํานวนที่กําหนดหรือตามคําสั่งของ

ผู้รับเงิน(ม.908)

2.รายการในตั๋วแลกเงิน(ม.909‐ม.910)ถ้ามีไม่ครบย่อมไม่สมบูรณ์เป็นตั๋วแลกเงิน

2.1.ที่จําเป็นต้องระบุให้ตรงตามที่กฎหมายกําหนด

คําบอกว่าเป็นตั๋วแลกเงิน:จะเป็นไทย‐ENGก็ได้

คําสั่งโดยปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจํานวนแน่นอน:จะเป็นเงินไทย‐เงินต่างประเทศก็ได้

ชื่อหรือยี่ห้อผู้จ่าย:ต้องระบุให้ชัดเจนแน่นอนโดยอาจเป็นคนเดียวหรือร่วมกันหลายๆคนก็ได้

‐ชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงินหรือคําจดแจ้งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ

ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย

Page 11: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  2.2.ที่ไม่จําเป็นต้องระบุให้ตรงตามที่กฎหมายกําหนด

วันกําหนดให้ใช้เงิน:โดยสามารถระบุกําหนดได้ตามม.913

แต่ถ้าไม่ระบุไว้ให้ถือว่าให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น

สถานที่ใช้เงิน:จะกําหนดไว้ที่เดียวหรือหลายที่ก็ได้ถ้าไม่ระบุไว้ให้ถือเอาภูมิลําเนาของผู้จ่ายเป็นสถานที่ใช้เงิน

วันและสถานที่ออกตั๋วเงิน:ไม่จําเป็นต้องตรงกับวันที่เขียนจริงๆก็ได้และถ้าไม่ได้ลงวันที่ไว้ก็ให้ผู้ทรงโดยชอบสามารถทําการโดยสุจริตเพื่อจดวันที่ถูกต้องลงในตั๋วเงินได้หรือถ้าไม่ได้ลงสถานที่ออกตั๋วไว้ให้ถือว่าตั๋วเงินได้ออกณภูมิลําเนาผู้สั่งจ่าย

Page 12: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผลของการสั่งจ่ายตั๋วแลกเงิน/การสลักหลังตั๋วแลกเงินตามม.914คือ:เป็นการสัญญาว่า

‐ถ้าผู้ทรงนําตั๋วนั้นไปยื่นโดยชอบแล้วจะมีผู้รับรอง+ใช้เงินตามตั๋วนั้นซึ่งถ้าไม่มีใครยอมรับรองหรือไม่ยอมจ่ายเงินตามตั๋วถือว่าตั๋วขาดความเชื่อถือถ้าผู้ทรงปฏิบัติตามวิธีการ

ในกรณีไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินแล้วผู้สั่งจ่าย/ผู้สลักหลังก็จะต้องใช้เงินให้แก่ผู้ทรง

และถ้าผู้สลักหลังรายใดถ้าถูกบังคับให้ชําระเงินตามตั๋วให้แก่ผู้ทรงไปแล้วสามารถเรียกเงินที่ชําระไปแล้วคืนได้จากผู้สั่งจ่าย/ผู้สลักหลังรายก่อนตนได้เช่นกัน

Page 13: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การโอนตั๋วแลกเงิน1.การโอนตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ(ตั๋วผู้ถือ)ตามม.918

ตั๋วผู้ถือนั้นสามารถโอนให้แก่กันเพียงด้วยส่งมอบให้กัน2.การโอนตั๋วแลกเงินที่ระบุผู้รับเงินไว้โดยเฉพาะ(ตั๋วระบุชื่อเฉพาะ)ตามม.917

ตั๋วที่ระบุชื่อผู้รับเงินไม่ว่าจะมีคําสั่งให้ใช้เงินตามเขาสั่งหรือไม่ก็ตามแบ่งเป็นตั๋วระบุชื่อเฉพาะทั่วไป:สามารถโอนให้แก่กันโดยวิธีการสลักหลัง+ส่งมอบ

ตั๋วระบุชื่อเฉพาะที่มีข้อความห้ามโอน/ห้ามเปลี่ยนมืออยู่ที่ด้านหน้าของตั๋ว(เช่น?A/CPAYEEONLY?):สามารถโอนให้แก่กันโดยวิธีการสลักหลัง+ส่งมอบ+ทําการโอนเป็นหนังสือและบอกกล่าวการโอนนั้นให้แก่ผู้สั่งจ่ายทราบตามม.306(วิธีการโอนอย่างสามัญ)

Page 14: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ตั๋วเงินนั้นจะสลักหลังให้แก่ผู้จ่ายหรือผู้สั่งจ่ายหรือคู่สัญญาอื่นๆในตั๋วก็ได้และบุคคล

เหล่านั้นก็สามารถโอนตั๋วต่อไปได้ •  ผลคือบุคคลเหล่านั้นก็ไม่สามารถไล่เบี้ยจากผู้ที่โอนมาให้ตนนั่นเอง

Page 15: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การสลักหลังตั๋วแลกเงิน(ม.919+ม.920)

1.วิธีการสลักหลัง

ผู้สลักหลังจะต้องเขียนคําสลักหลังลงในตั๋วแลกเงิน/ใบประจําต่อ+ลงลายมือชื่อผู้สลักหลังโดยถ้าทําที่

‐ด้านหลังตั๋วก็สามารสลักหลังได้ทั้งสลักหลังลอยและสลักหลังเฉพาะ

‐ด้านหน้าตั๋วสามารถสลักหลังได้เฉพาะสลักหลังเฉพาะเท่านั้น(เพราะถ้า

สลักหลังลอยจะถือเป็นการรับอาวัลผู้สั่งจ่ายตามม.939วรรค3)

2.ผลของการสลักหลัง

ผู้ที่รับสลักหลังมาถือว่าเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายที่รับโอนสิทธิต่างๆอันเกิด

แต่ตั๋วแลกเงินนั้นมาทั้งหมดคือ

‐สิทธิในการที่จะบังคับชําระหนี้ตามตั๋ว(ม.900+ม.914)

‐ขัดขวางมิต้องส่งมอบตั๋วให้แก่ผู้ไม่มีสิทธิ/เรียกตั๋วคืนจากผุ้ไม่มีสิทธิยึดถือ

(ม.1008)

‐ส่งมอบหรือสลักหลังตั๋วส่งมอบต่อไปให้แก่บุคคลอื่น

Page 16: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  สลักหลังลอย:มีผลให้ผู้ใดที่ครอบครองตั๋วอยู่ในขณะนั้นให้สันนิษฐานว่าเป็นผู้ทรงโดยชอบหากต้องการจะโอนตั๋วไปยังบุคคลอื่นสามารถเลือกกระทําได้ดังนี้วิธีที่1:กรอกชื่อของตนเองหรือชื่อบุคคลอื่นลงในที่ว่างวิธีที่2:สลักหลังลอยหรือสลักหลังเฉพาะแล้วส่งมอบวิธีที่3:ส่งมอบเฉยๆให้แก่บุคคลอื่น

สลักหลังเฉพาะ:มีผลให้ผู้ที่มีชื่อระบุไว้ในตั๋วให้เป็นผู้รับเงินเท่านั้นที่เป็นผู้ทรงโดยชอบหากต้องการจะโอนตั๋วไปยังบุคคลอื่นสามารถเลือกกระทําได้ดังนี้1)วิธีที่1:สลักหลังลอย+ส่งมอบ

2)วิธีที่2:สลักหลังเฉพาะ+ส่งมอบ

Page 17: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การขีดฆ่าคําสลักหลัง(ม.905ว.1)

คือหลังจากสลักหลังตั๋วแล้วอาจมีการขีดฆ่าออกได้(แต่จะต้องก่อนส่งมอบ)ประเภทของการสลักหลังสลักหลังลอย:คือการสลักหลังส่งมอบโดยมิได้ระบุให้ผู้ใดเป็นผู้รับเงิน

สลักหลังเฉพาะ:คือการสลักหลังส่งมอบโดยระบุชื่อผู้รับเงินไว้โดยเฉพาะสลักหลังแบบมีเงื่อนไข(ม.922วรรค1)ถือว่าตั๋วนั้นยังสมบูรณ์โดยเสมือนไม่มีเงื่อนไขที่กําหนดไว้นั้นเลยสลักหลังโอนบางส่วน(ม.922วรรค2)

ถือว่าการโอนเป็นโมฆะถ้าส่งมอบไปแล้วก็เรียกคืนได้

Page 18: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การรับรองตั๋วแลกเงิน(ม.937)การรับรองตั๋วแลกเงินคือการที่ผู้จ่ายเงินลงชื่อในตั๋วแสดงการยอมจะทําการจ่ายเงินตาม

คําสั่งของผู้สั่งจ่ายซึ่งจะมีผลทําให้ผู้รับรองต้องรับผิดตามตั๋วนั้นในฐานะลูกหนี้ชั้นต้น(เป็นการ

สร้างความมั่นใจให้กับผู้ทรงนั่นเอง)โดย‐การรับรองนั้นสามารถกระทําได้เฉพาะผู้จ่ายเท่านั้น

‐การรับรองเป็นบทเฉพาะตั๋วแลกเงินเท่านั้นเพราะตั๋วสัญญาใช้เงินมีม.986ระบุให้

ผู้ออกตั๋วผูกพันอย่างเดียวกับผู้รับรองอยู่แล้วส่วนเช็คนั้นธนาคารต้องจ่ายเงินทันทีที่ผู้ทรงเช็คนําเช็คไปยื่น(การรับรองเช็คตามม.993ไม่ใช่การรับรองตามม.937นี้ถือ

เป็นบทเฉพาะเช็คเท่านั้น)

Page 19: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ประเภทของตั๋วที่ต้องรับรอง:มี3ประเภท

1.ประเภทที่ต้องนําตั๋วไปยื่นให้รับรองเสมอคือ

‐ม.928:ตั๋วที่ให้ใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลานับแต่ได้เห็นตามม.913(4)ต้อง

ยื่นให้รับรองภายใน6เดือนนับแต่วันลงในตั๋ว(เพราะยังไม่รู้วันแน่นอนจึงต้องรับรองเพื่อจะได้เริ่มนับวันได้)

‐ม.927ว.2:ตั๋วที่ผู้สั่งจ่ายกําหนดไว้ว่าจะต้องยื่นให้รับรอง(โดยจะกําหนดเวลาให้รับรองหรือไม่ก็ได้)

‐ม.927ว.5:ตั๋วที่ผู้สลักหลังกําหนดไว้ว่าจะต้องยื่นให้รับรองเว้นแต่มีคําสั่งห้ามให้นําไปยื่นให้รับรองของผู้สั่งจ่ายไว้*

Page 20: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  9.2.2.ประเภทที่นําไปยื่นให้รับรองไม่ได้คือ

‐ม.913(3):ตั๋วที่ต้องใช้เงินเมื่อเห็น(เพราะต้องจ่ายเงินทันทีที่เห็น)

‐ม.927ว.3:ผู้สั่งจ่ายสั่งห้ามยื่นให้รับรอง(*คือผู้สั่งจ่ายนั้นสามารถสั่งห้ามได้ทุกกรณียกเว้น‐เป็นตั๋วที่ต้องใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลานับแต่ได้เห็นตามเพราะโดยสภาพแล้วต้องรับรองเสมอนั่นเอง

Page 21: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ประเภทที่นําไปยื่นให้รับรองหรือไม่ก็ได้คือ‐ม.913(1):ตั๋วที่กําหนดวันให้ใช้เงินไว้แน่นอน‐ม.913(2):ตั๋วที่กําหนดให้ใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลานับแต่วันที่ลงในตั๋ว(*แต่ทั้งนี้ถ้าผู้สั่งจ่ายสั่งให้ยื่นหรือสั่งไม่ให้ยื่นก็ต้องปฏิบัติตามนั้น)กําหนดเวลาในการยื่นให้รับรอง:โดยปกติแล้วผู้ทรงสามารถจะนําตั๋วไปยื่นให้ผู้จ่ายรับรองเมื่อใดก็ได้จนกว่าจะถึงกําหนดให้ใช้เงิน

Page 22: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผลของการไม่นําตั๋วไปยื่นให้รับรองภายในกําหนดเวลา:ป็นตั๋วประเภทที่ต้องยื่นให้รับรอง(ม.973):มี3ประเภท

1.ตั๋วที่ให้ใช้เงินในระยะเวลานับแต่ได้เห็น:ผู้ทรงก็สิ้นสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย/คู่สัญญาอื่นๆ

2.ตั๋วที่ผู้สั่งจ่ายกําหนดไว้ว่าต้องยื่นให้รับรอง:ผู้ทรงก็สิ้นสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย/คู่สัญญาอื่นๆ3.ตั๋วที่ผู้สลักหลังกําหนดเวลาให้รับรอง:

ผู้ทรงก็สิ้นสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้สลักหลังที่กําหนดข้อความนั้นเท่านั้น

Page 23: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ประเภทของการรับรอง(ม.935)มี2ประเภท9.7.1.รับรองตลอดไป:เป็นการรับรองโดยไม่มีการแก้คําสั่งผู้สั่งจ่ายเลย9.7.2.รับรองบ่ายเบี่ยง:(ม.936)เป็นการรับรองโดยการแก้ไขคําสั่งผู้สั่งจ่ายมี2กรณี‐รับรองแบบมีเงื่อนไข‐รับรองบางส่วน

Page 24: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ทั้งการรับรองแบบมีเงื่อนไขและการรับรองบางส่วนนั้นผู้ทรงมีสิทธิบอกปัดไม่ยอมรับการรับรองนั้นได้ซึ่งจะทําให้ตั๋วขาดความเชื่อถือผู้ทรงสามารถไล่เบี้ยตามตั๋วได้ทันทีตามม.936ว.1+ม.959ข(1)

2)ถ้าผู้ทรงยอมรับคํารับรองแบบมีเงื่อนไข:ผู้สั่งจ่าย‐ผู้สลักหลังต้องให้ความยินยอมถ้าไม่ยินยอมก็หลุดพ้นผู้ทรงสามารถเรียกได้จากผู้รับรองเท่านั้น

3)ถ้าผู้ทรงยอมรับคํารับรองแบบบางส่วน:ต้องบอกล่าวผู้สั่งจ่าย‐ผู้สลักหลังโดยไม่จําต้องให้ความยินยอมก็ได้

Page 25: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การใช้เงินตามตั๋วแลกเงิน(ม.941)

ผู้จ่ายเงินจะต้องใช้เงินเมื่อตั๋วถึงกําหนดเมื่อถึงกําหนดให้ใช้เงิน

วันที่ตั๋วถึงกําหนดให้ใช้เงิน(ม.913)

‐ตามวันที่กําหนดไว้

‐เมื่อสิ้นระยะเวลาตามที่กําหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋ว

‐เมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น(ม.944กําหนดให้ยื่นให้ใช้เงินภายใน6เดือนนับแต่วันที่ลงในตั๋ว)

‐เมื่อสิ้นระยะเวลาตามวันลงตามวันที่กําหนดไว้นับแต่ได้เห็น(ม.943ว.1กําหนดให้ตั้งแต่วันรับรองตั๋วหรือวันคัดค้านถ้าไม่มีให้ถือว่าได้รับรองในวันท้ายแห่งกําหนดเวลาตามกฎหมายหรือตามสัญญาเพื่อการยื่นตั๋วเงิน)

Page 26: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผลของการไม่ยื่นตั๋วให้ชําระเงินตามกําหนด

1.ตามมารตรา973ว.1;คือผู้ทรงสิ้นสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย/คู่สัญญาอื่นๆยกเว้นผู้รับรองในกรณีต่อไปนี้.‐1)พ้นเวลาสําหรับยื่นตั๋วชนิดให้ใช้เงินเมื่อได้เห็นหรือเมื่อพ้นระยะเวลานับแต่ได้เห็นไปแล้ว

2)พ้นเวลาทําคําคัดค้านการไม่รับรองหรือการไม่ใช้เงินไปแล้ว3)พ้นเวลาสําหรับยื่นตั๋วให้ใช้เงินในกรณีกําหนดว่าไม่จําต้องทําคําคัดค้าน

Page 27: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  บุคคลผู้ใช้เงิน(ม.949)คือ:‐ผู้จ่าย‐ผู้รับรอง‐ผู้อื่นที่เข้าใช้เงินเพื่อแก้หน้า‐ผู้สลักหลังที่เข้าใช้เงินแล้วรับตั๋วนั้นกลับคืนมาในครอบครองโดยผู้จ่ายจะหลุดพ้นความรับผิดในกรณีที่ตั๋วถึงกําหนดชําระเงินแล้วและได้เข้าใช้เงินโดยสุจริตให้แก่ผู้ที่ถือตั๋วไว้ในครอบครองโดยปราศจากกลฉ้อฉลหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

Page 28: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  *คําว่า?ภายใต้ม.1009..?คือ

‐ถ้าผู้จ่ายเป็นธนาคารจะต้องใช้ม.1009มาบังคับ

‐ถ้าผู้จ่ายเป็นบุคลทั่วไปจะต้องใช้ม.949มาบังคับ

Page 29: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การรับอาวัล(ม.938‐ม.940)

คือ:การรับประกันตั๋วเงิน(แต่มิได้ใช้บทบัญญัติเรื่องค้ําประกันมาบังคับใช้เพราะถือเป็นเรื่องเฉพาะ)1.ประเภทของการรับอาวัล:มี2ประเภท1.1.โดยผลของกฎหมาย(ม.921)

คือการสลักหลังตั๋วผู้ถือถือว่าเป็นการประกันผู้สั่งจ่าย1.2.ตามแบบ(ม.939)มี2วิธีคือ.‐

Page 30: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  1)เขียนข้อความลงในด้านหลังตั๋วเงินหรือใบประจําต่อว่าเป็นการรับอาวัลหรือในทํานองเดียวกันและลงชื่อผู้อาวัลโดย

‐ถ้าระบุว่าอาวัลใครก็ให้มีผลเป็นการรับอาวัลผู้นั้น‐ถ้าไม่ระบุว่าอาวัลใครให้ถือว่าเป็นการอาวัลผู้สั่งจ่าย

2)ลงลายมือชื่อไว้ด้านหน้าตั๋วเงินโดยไม่ได้ระบุข้อความอะไรก็ถือว่าเป็นการอาวัลโดย‐ถ้าระบุว่าอาวัลใครก็ให้มีผลเป็นการรับอาวัลผู้นั้น

‐ถ้าไม่ระบุว่าอาวัลใครให้ถือว่าเป็นการอาวัลผู้สั่งจ่าย

Page 31: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  บุคคลผู้รับอาวัลได้(ม.938ว.2)

1)บุคคลภายนอก

2)คู่สัญญาในตั๋วเงินฝ่ายใดก็ได้

ความรับผิดของผู้รับอาวัล(ม.940ว.1)

ต้องรับผิดอย่างเดียวกับผู้ที่ตนเข้ารับอาวัลทั้งต้นเงินและดอกเบี้ย

Page 32: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ถ้าผู้รับอาวัลได้ใช้เงินไปแล้ว(ม.940ว.3)สามารถไล่เบี้ยเอากับบุคคลต่อไปนี้ได้คือ.‐

1)บุคคลที่ตนเข้าประกัน2)ผู้ต้องรับผิดต่อบุคคลที่ตนเข้าประกัน(เช่น:ผุ้สลักหลังก่อนคนที่ตนเข้ารับอาวัล)

*ข้อสังเกต:‐กรณีที่มีผู้รับอาวัลหลายคนเช่น:มีผู้สลักหลังตั๋วผู้ถือหลายรายถ้าคนใดจ่ายเงินตามตั๋วให้แก่

ผู้ทรงไปแล้วก็ไม่สามารถเรียกเอาจากผู้รับอาวัลรายอื่นๆได้เพราะถือว่าการรับอาวัลแต่ละรายต้องแยกจากกันและไม่ถือว่าเป็นลูกหนี้ร่วมกัน

Page 33: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผู้รับอาวัลต้องรับผิดในฐานะเดียวกับบุคคลที่ตนเข้ารับอาวัล

จึงไม่ถือว่าผู้รับอาวัลเป็นผู้ค้ําประกันแต่ก็ไม่ถือว่าผู้รับอาวัล

ต้องร่วมรับผิดกับบุคคลที่ตนเข้าอาวัลด้วยผู้รับอาวัลจึง

สามารถไล่เบี้ยคืนได้เต็มจํานวนที่จ่ายไป

Page 34: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การไล่เบี้ยคือ:การเรียกค่าเสียหายเป็นลําดับไปจนที่สุด

16.1.ความรับผิดของลูกหนี้ตามตั๋วเงิน(ม.967)ตามปกติม.900เป็นบทบัญญัติระบุว่าผู้มีชื่อในตั๋วต้องรับผิดเป็นลูกหนี้ตามตั๋วซึ่ง

นอกจากนี้ลูกหนี้ตามตั๋วยังมีม.914:ผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย

ม.937:ผู้รับรอง:ต้องรับผิดในฐานะลูกหนี้ชั้นต้นตามจํานวนที่รับรองไว้ม.940:ผู้รับอาวัล:รับผิดอย่างเดียวกับบุคคลที่ตนเข้าประกันม.952:ผู้รับรองโดยสอดเข้าแก้หน้า

โดยเจ้าหนี้จะเรียกร้องกับลูกหนี้รายใดก่อนก็ได้ถ้าได้ไม่ครบก็สามารถเรียกกับลูกหนี้รายอื่นได้

Page 35: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การใช้สิทธิไล่เบี้ย(ม.959)แบ่งเป็น2กรณี

1)ไล่เบี้ยเมื่อตั๋วถึงกําหนดแล้วไม่มีการใช้เงินคือเมื่อตั๋วถึงกําหนดแล้วผู้ทรงนําตั๋วไปยื่นให้ผู้จ่าย‐ผู้รับรองใช้เงินแต่ไม่มีการใช้เงินก็สามารถไล่เบี้ยได้

(โดยถ้ากรณีใดต้องทําคําคัดค้านก่อนก็ต้องทําคําคัดค้านก่อนจึงจะไล่เบี้ยได้)2)ไล่เบี้ยกรณีตั๋วยังไม่ถึงกําหนดคือ

‐เมื่อผู้จ่ายบอกปัดไม่รับรองตั๋ว

‐เมื่อผู้จ่ายไม่ว่าจะรับรองหรือไม่ตกเป็นบุคคลล้มละลายหรือได้งดเว้นการชําระหนี้หรือถูกยึดทรัพย์แล้วการยึดทรัพย์นั้นไร้ผล

Page 36: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  เช็ค1.เช็คคืออะไรมีคู่สัญญาคือใคร

รายละเอียดตามมาตรา987(ดังที่กล่าวมาแล้วในส่วนของตั๋วแลกเงิน)2.รายเอียดของเช็ค

รายละเอียดตามมาตรา988(เช่นเดียวกับตั๋วแลกเงินมาตรา909‐มาตรา910)

3..เช็คสามารถนําบทบัญญัติของตั๋วแลกเงินมาใช้บังคับได้บางมาตรา

รายละเอียดตามมาตรา9894.การยื่นเช็คให้ธนาคารใช้เงินรายละเอียดตามมาตรา990

คือเช็คนั้นต้องทําการยื่นให้ธนาคารใช้เงินก่อนถ้าธนาคารไม่จ่ายจึงจะมีสิทธิฟ้องไล่เบี้ย

Page 37: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  เช็คที่ออกจากต่างประเทศ(ม.973+ม.989ว.2)‐เช็คที่ออกภายในประเทศ

1.ที่ออกในเมืองเดียวกันนั้นต้องนําเช็คไปยื่นภายใน1เดือนนับแต่วันออกตั๋ว

2.ที่ออกที่อื่นต้องนําเช็คไปยื่นภายใน3เดือนนับแต่วันออกตั๋ว*มิฉะนั้นจะสิ้นสิทธิไล่เบี้ยเอาจากผู้สลักหลังทั้งปวง/ผู้สั่งจ่าย(เท่าที่เสียหายเพราะการไม่ยื่นในเวลา)

*ข้อยกเว้นที่ผู้ทรงไม่จําเป็นต้องยื่นเช็คให้ธนาคารชําระเงินก่อนคือ1.ผู้สั่งจ่ายตาย(ผู้ทรงก็ฟ้องทายาทได้เลยไม่ต้องเอาเช็คไปเรียกเก็บเงินก่อน)2.บัญชีในธนาคารของผู้สั่งจ่ายปิด

Page 38: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  อํานาจหน้าที่ธนาคารในการใช้เงิน‐รายละเอียดตามมาตรา991

คือธนาคารนั้นไม่ใช่คู่สัญญาในเช็คดังนั้นผู้ทรงเช็คไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินจากธนาคารได้ต้องเรียกเงินจากผู้สั่งจ่าย‐ผู้สลักหลังเท่านั้น(แต่ถ้าธนาคารเป็นผู้ออกเช็คเองธนาคารก็ต้องรับผิดตามม.900อยู่แล้ว)แต่ธนาคารก็มีหน้าที่ที่จะต้องจ่ายเงินตามเช็คให้แก่ผู้ทรงนํามาเบิกกับตนยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้1.ในบัญชีของผู้สั่งจ่ายไม่มีเงินพอจ่ายตามเช็ค(แต่ทางปฏิบัติธนาคารก็จะจ่ายไปเท่าที่มีเหลืออยู่ตามม.946+ม.989หรือจ่ายไปให้เต็มตามจํานวนแล้วธนาคารก็ไปเรียกคืนจ่ายผู้สั่งจ่ายที่เป็นผู้เคยค้ากับตนซึ่งในปัจจุบันถือว่าวิธีการเช่นนี้กลายเป็นจารีตประเพณีไปแล้วแม้ไม่มีการตกลงกันไว้ก่อนก็ตาม)2.ยื่นเช็คให้ใช้เงินเมื่อพ้น6เดือนนับแต่วันออกเช็ค

*ข้อสังเกต:ม.990เป็นการหลุดพ้นของคู่สัญญาคือถ้ามีผู้มายื่นให้ใช้เงินเกิน1,3เดือนแต่ถ้ายังไม่ถึง6เดือนธนาคารยังต้องจ่ายเงินตามเช็คอยู่จะปฏิเสธไม่ได้แต่ถ้าเกิน6เดือนธนาคารสามารถปฏิเสธการจ่ายได้ทุกกรณี)3.เมื่อมีคําบอกกล่าวว่าเช็คนั้นหายหรือถูกลัก

Page 39: ทบทวน bus law 2 thai mid term

(ซึ่งนอกจาก3สาเหตุนี้แล้วธนาคารกับลูกค้ายังสามารถตกลงเหตุระงับการจ่ายอย่างอื่นไว้ในคําขอเปิดบัญชีก็ได้เช่นหากเช็คฉีกขาด,หากใช้ดินสอเขียน)

Page 40: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ม.991นี้เมื่อมีเหตุดังกล่าวธนาคารจะใช้ดุลยพินิจงดจ่ายหรือไม่ก็ได้ถ้าจะจ่ายก็ต้องจ่ายโดยสุจริต‐ไม่ประมาทเลินเล่อมิฉะนั้นจะถือว่าผิดสัญญาฝากทรัพย์เป็นละเมิดได้

Page 41: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  รายละเอียดตามมาตรา992

คือถ้ามีกรณีต่อไปนี้ธนาคารต้องงดจ่ายเงินถ้าหากจ่ายไปต้องรับผิดต่อลูกค้าคือ

1.มีคําบอกกล่าวห้ามใช้เงินโดยผู้สั่งจ่าย

2.รู้ว่าผู้สั่งจ่ายตาย

3.รู้ว่าศาลมีคําสั่งรักษาทรัพย์ชั่วคราว

Page 42: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  การรับรองเช็ครายละเอียดตามมาตรา993

คือโดยการที่ธนาคารเขียนข้อความว่า?ใช้ได้‐ใช้เงินได้?+ลงลายมือชื่อประทับตราผู้มีอํานาจโดยถ้า‐ผู้ทรงเป็นผู้จัดการให้ธนาคารรับรองผู้สั่งจ่าย/ผู้สลักหลังทั้งหมดหลุดพ้น

‐ผู้สั่งจ่าย/ผู้สลักหลังเป็นผู้จัดการให้ธนาคารรับรองผู้สั่งจ่าย/ผู้สลักหลังทั้งหมดไม่หลุดพ้น

มีผลให้:ธนาคารผู้รับรองมีฐานะเป็นลูกหนี้ชั้นต้นดังนั้น‐ผู้ทรงสามารถฟ้องธนาคารโดยตรงได้โดยธนาคารจะอ้างม.990,ม.992ไม่ได้

Page 43: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ‐ไม่อยู่ในบังคับม.990(เพราะไม่ใช่ผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย)

‐ใช้อายุความ10ปี(เพราะไม่มีระบุในม.1001,ม.1002,ม.1003)

Page 44: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  เช็คขีดคร่อม

‐เช็คขีดคร่อมคืออะไร(ม.994)คือเช็คที่มีเส้นคู่ขนานขีดขวางหน้ามีผลให้เช็คนั้นจะต้องเรียกเก็บเงินผ่านธนาคารเท่านั้นซึ่งมี2ชนิดคือ1.เช็คขีดคร่อมทั่วไป:คือเช็คที่ไม่ระบุชื่อให้ธนาคารใดเป็นผู้จัดเก็บ2.เช็คขีดคร่อมเฉพาะ;คือเช็คที่ระบุชื่อเฉพาะว่าให้ธนาคารใดเป็นผู้จัดเก็บเงินซึ่งการขีดคร่อมนี้สามารถทําได้ทั้งในเช็คผู้ถือและเช็คระบุชื่อ

Page 45: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ผู้มีอํานาจขีดคร่อม(ม.995)

1.ผู้สั่งจ่าย/ผู้ทรงคนใดก็ได้2.ถ้าเช็คขีดคร่อมทั่วไปผู้ทรงจะทําให้เป็นเช็คขีดคร่อมเฉพาะก็ได้3.ถ้าเช็คขีดคร่อมทั่วไปหรือขีดคร่อมเฉพาะผู้ทรงจะเติมคําว่า?ห้ามเปลี่ยนมือ?ก็ได้(การห้ามเปลี่ยนมือตามมาตรานี้เป็นแค่แสดงว่าให้เอาเงินเข้าบัญชีผู้ทรงเท่านั้นไม่ถือเป็นการห้ามโอนตามม.917)ม.9994.เช็คขีดคร่อมธนาคารใดธนาคารนั้นจะขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคารอื่นก็ได้5.เช็คไม่มีขีดคร่อมหรือไม่มีขีดคร่อมเฉพาะสั่งให้ธนาคารใดเรียกเก็บเงินธนาคารนั้นจะขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ตนเองก็ได้

Page 46: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  หน้าที่ของธนาคารกรณีเช็คขีดคร่อม(ม.997)1.เช็คขีดคร่อมเฉพาะหลายธนาคารให้ธนาคารบอกปัดไม่ใช้เงินให้ยกเว้นเป็นการขีดคร่อมฐานตัวแทนเรียกเก็บเงิน2.ถ้าธนาคารปฏิบัติต่อไปนี้

‐จ่ายเงินกรณีเป็นเช็คขีดคร่อมหลายธนาคาร‐เช็คขีดคร่อมทั่วไปธนาคารผู้จ่ายเงินให้แก่บุคคลที่ไม่ใช่ธนาคาร

‐เช็คขีดคร่อมเฉพาะธนาคารผู้จ่ายได้จ่ายเงินให้ธนาคารที่มิได้ระบุในเช็คธนาคารจ่ายเงินไปก็ต้องรับผิดชอบต่อเจ้าของเช็คที่แท้จริงนั้น

Page 47: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  อายุความ

1.อายุความฟ้องผู้รับรอง/ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน(ม.1001)ต้องฟ้องภายใน3ปีนับแต่ตั๋วถึงกําหนดใช้เงิน(กําหนดใช้เงินตามม.913)2.อายุความผู้ทรงฟ้องผู้สลักหลัง/ผู้สั่งจ่าย(ม.1002)ต้องฟ้องภายใน1ปีนับแต่วันที่ลงในคําคัดค้าน/นับแต่วันที่ตั๋วถึงกําหนด(กรณีไม่ต้องมีคําคัดค้าน)3.อายุความผู้สลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเอง/ฟ้องผู้สั่งจ่าย(ม.1003)ต้องฟ้องภายใน6เดือนนับแต่ผู้สลักหลังเข้าถือเอาตั๋วเงินและใช้เงินไป

Page 48: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ‐ฟ้องผู้รับอาวัล:ดูว่าอาวัลใครก็ใช้อายุความคนนั้น‐ผู้รับอาวัลฟ้องกรณีที่ได้ใช้เงินไปแล้วไล่เบี้ยคืนจากผู้ถูกอาวัล:อายุความ10ปี

‐ผู้รับอาวัลที่ได้ใช้เงินไปแล้วสวมสิทธิผู้ถูกรับอาวัลฟ้องคู่สัญญาอื่นๆที่ต้องรับผิดต้องดูว่าคนที่ถูกสวมนั้นมีสิทธิอย่างไร

‐ฟ้องธนาคารที่รับรองตั๋วเงินตามม.993:อายุความ10ปี

Page 49: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ตั๋วเงินปลอม

การปลอมตั๋วเงินมี2ประการคือ‐ปลอมข้อความ(ม.1007)คือถูกปลอมข้อความสําคัญ

1.เห็นประจักษ์:ตั๋วนั้นก็เสียไปคู่สัญญาในตั๋วหลุดพ้นหมดยกเว้น

‐ผู้ที่ทําการแก้ไข:จะต้องถูกบังคับตามข้อความที่แก้ไข‐คู่สัญญาที่ยินยอมกับการแก้ไขนั้น:ต้องผูกพันตามข้อความที่แก้ไข‐ผู้สลักหลังภายหลังจากที่แก้ไขแล้ว:ต้องผูกพันตามข้อความที่แก้ไข

Page 50: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  2.ไม่เห็นประจักษ์:ให้สิทธิผู้ทรงที่ชอบด้วยกฎหมายเรียกเงินตามตั๋วจากคู่สัญญาต่างๆได้ตามปกติกล่าวคือ‐ถ้าคู่สัญญาที่ไม่เกี่ยวข้อง:ผูกพันตามข้อความเดิม

‐ถ้าคู้สัญญาที่เกี่ยวข้อง/ผู้แก้ไข/ผู้สลักหลังต่อจากนั้น:

ผูกพันตามข้อความที่แก้ไขใหม่

Page 51: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  ปลอมลายมือชื่อ(ม.1006,ม.1008)คือลายมือชื่อใดในตั๋วเป็นลายมือชื่อปลอมก็เสียไปเฉพาะลายมือชื่อนั้นส่วนลายมือชื่ออื่นๆก็ยังคงใช้ได้อยู่และห้ามบุคคลใดแสวงสิทธิในลายมือชื่อปลอมในตั๋วนั้นเพื่อทําการต่อไปนี้1.ยึดหน่วงตั๋วเงินไว้ไม่คืนให้แก่เจ้าของเดิม

2.ให้ตั๋วเงินนั้นหลุดพ้นจากความรับผิด3.เพื่อบังคับให้ใช้เงินตามตั๋วยกเว้นจะเข้ากรณีดังต่อไปนี้

1.คู่สัญญาที่จะถูกยึดหน่วง/บังคับให้ใช้เงินอยู่ในฐานะที่ถูกตัดบทมิให้ยกลายมือชื่อปลอมขึ้นต่อสู้2.เจ้าของลายมือชื่อให้สัตยาบันแก่ลายมือชื่อที่ลงโดยปราศจากอํานาจแต่ไม่ถึงกับเป็นการปลอมลายมือชื่อนั้น2.ตั๋วเงินหายถูกลัก

Page 52: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  หน้าที่ผู้ทรงเมื่อตั๋วหาย/ถูกลัก(ม.1010)

เมื่อผู้ทรงทราบเหตุแล้วต้องบอกกล่าวเป็นหนังสือโดยทันใดไปยังผู้ออกตั๋ว/ผู้จ่าย/ผู้สมอ้างยามประสงค์/ผู้รับรองเพื่อแก้หน้า/ผู้รับอาวัลเพื่อทําการบอกปัดไม่ใช้เงินตามตั๋วนั้น

ผล‐ถ้าแจ้งแล้ว:ลูกหนี้ในตั๋วที่มีหน้าที่จ่ายเงินต้องงดจ่ายเงินถ้ายังจ่ายไปก็ต้องรับผิดต่อผู้ทรงฐานละเมิด

‐ถ้าไม่แจ้ง:ลูกหนี้ในตั๋วจ่ายเงินไปแล้วก็ไม่ต้องรับผิดยกเว้นทราบอยู่แล้วว่าตั๋วเงินหาย/ถูกลักซึ่งถือเป็นการไม่สุจริตก็ต้องรับผิดต่อเจ้าของตั๋วฐานละเมิด

Page 53: ทบทวน bus law 2 thai mid term

•  สิทธิของผู้ทรงตั๋วเงินที่หาย/ถูกลัก(ม.1011)1.ถ้าตั๋วหายไปก่อนกําหนดวันใช้เงิน:ผู้ทรงมีสิทธิ

ร้องผู้สั่งจ่าย/ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้ออกตั๋วฉบับใหม่ที่มีเนื้อความอย่างเดียวกันให้ใหม่ได้ถ้า‐ผู้สั่งจ่าย/ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินไม่ยอมออกให้ใหม่ผู้ทรงก็

สามารถฟ้องบังคับได้‐ผู้สั่งจ่าย/ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินยอมออกให้ใหม่ผู้ออกจะให้

ผู้ทรงหาประกันทดแทนความเสียหายหากต้องเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดในกรณีที่ตั๋ว

ที่หายนั้นกลับหาได้ภายหลัง2.ถ้าตั๋วถึงกําหนดแล้ว:ผู้ทรงเรียกคืนจากผู้ได้ตั๋วไว้โดยไม่ชอบหรือฟ้องเรียก

เงินตามมูลหนี้เดิม(ถ้าไม่ได้หายโดยประมาท)