บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล...

18
ชื่อผลงาน วงจรไฟฟ้ารถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายเจษฎา อนุมอญ ปวช. 3 2. นายสุทธิศักดิแว่นแก้ว ปวช. 3 3. นายปฏิภาณ พ่ายเวหา ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก นายบุญเรือง ศรีแก้วพันธุปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย บทคัดย่อ โครงการเรื่องวงจรไฟฟ้ารถยนต์ การพบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและการใช้งานที่ยังไม่สมบรูณ์ ต่อการเรียนการสอนใช้งานการต่อวงจรไฟฟ้ารถยนต์ จึงเห็นความสาคัญของปัญหาที่จะสร้างโมเดลเพื่อใช้เป็นสื่อ ประกอบการเรียนการสอนของวิชา ในสาขาวิชาช่างยนต์ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยสอนของครูผู้สอนโดยการทางานของ อุปกรณ์วงจรไฟฟ้ารถยนต์เพื่อสะดวกในการเรียนการสอน

Upload: others

Post on 18-Jan-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน วงจรไฟฟ้ารถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายเจษฎา อนุมอญ ปวช. 3 2. นายสุทธิศักดิ์ แว่นแก้ว ปวช. 3 3. นายปฏิภาณ พ่ายเวหา ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายบุญเรือง ศรีแก้วพันธุ์ ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงการเรื่องวงจรไฟฟ้ารถยนต์ การพบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและการใช้งานที่ยังไม่สมบรูณ์ต่อการเรียนการสอนใช้งานการต่อวงจรไฟฟ้ารถยนต์ จึงเห็นความส าคัญของปัญหาที่จะสร้างโมเดลเพ่ือใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนของวิชา ในสาขาวิชาช่างยนต์ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยสอนของครูผู้สอนโดยการท างานของอุปกรณ์วงจรไฟฟ้ารถยนต์เพ่ือสะดวกในการเรียนการสอน

Page 2: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องบดวาล์วรถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายจอมพล พันละออง ปวช. 3 2. นายกิติพงษ์ พงษ์เขตกรณ์ ปวช. 3 3. นายชัยยา เทียมเกิดสาขาวิชา ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายบุญเรือง ศรีแก้วพันธุ์ ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ การจัดการเรียนการสอนวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยมุ่งเน้นให้นักศึกษาคิดเป็น เพราะจะท าให้เกิดการเรียนรู้และมีทักษะในการปฏิบัติงานในสาขาช่างยนต์ ปัจจุบันมีผู้สนใจเข้าศึกษาด้านวิชาชีพเพ่ิมมากขึ้น ผู้เรียนมีความสามารถแตกต่างกันกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วท าให้ภาระและหน้าที่ของครูผู้สอนต้องท าอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือช่วยให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ มีเหตุผลมีความคิดสร้างสรรค์และสามารถแก้ไขปัญหาได้เอง การที่จะสอนให้มีประสิทธิภาพนั้นครูผู้สอนจะต้องจัดการเรียนการสอนให้มีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี

Page 3: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องดูดหม้อเล่ย์(รุ่น คูโบต้าและยันม่าร์) ชื่อนักศึกษา 1. นายสุวรรณ แก้วแหวน ปวช. 3

2. นายศรัณยู นิพัฒน์ ปวช. 3 3. นายสัญชัย ชมพูนุชย์ ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายบุญเรือง ศรีแก้วพันธุ์ ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ ออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดหม้อเล่ย์ (รุ่นยันม่าร์และคูโบต้า) และเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องดูดหม้อเล่ย์(รุ่นยันม่าร์และคูโบต้า) โดยมีการสมมุติฐานในการศึกษาคือ อุปกรณ์เครื่องดูดหม้อเล่ย์ (รุ่น ยันม่าร์และคูโบต้า) สามารถได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย การถอดหม้อเล่ย์ เครื่องยนต์เล็ก (รุ่น ยันม่าร์และคูโบต้า) ใช้ได้ดีกว่าค้อนตอกออก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เครื่องดูดหม้อเล่ย์(รุ่นยันม่าร์และคูโบต้า) และแบบบันทึกข้อมูลสถิติที่ใช้ในการศึกษา

1. การออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องดูดหม้อเล่ย์ (รุ่นยันม่าร์และคูโบต้า)สามารถใช้เป็นต้นแบบได้อย่างดี 2. การทดสอบหาประสิทธิภาพของเครื่องดูดหม้อเล่ย์ (รุ่นยันม่าร์และคูโบต้า)โดยการถอดหม้อเล่ย์(รุ่น

ยันม่าร์และคูโบต้า)ใช้งานได้ดีกว่าใช้ค้อนตอกออก พบว่าเครื่องดูดหม้อเล่ย์ จะช่วยในการถอดหม้อเล่ย์ดีกว่าใช้ค้อนตอกออก

Page 4: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องสางใบอ้อย ชื่อนักศึกษา 1. นายจีรศักดิ์ เชี่ยวพนา ปวช. 3

2. นายภัทรพล วงษ์ธัญกรณ์ ปวช. 3 3. นายธีรศักดิ์ กิตติญานุกูล ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายบุญเรือง ศรีแก้วพันธุ์ ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ จากการที่ชาวไร่อ้อยในประเทศไทยมีการเผาใบอ้อยก่อนการเก็บเก่ียว 80 % ของปริมาณใบอ้อย อันเป็นผลมาจากการขาดแคลนแรงงาน และรถตัดอ้อยที่น าเข้ามาจากต่างประเทศ มีราคาแพงและไม่เพียงพอต่อความต้องการของชาวไร่ ยังส่งผลเสียต่อ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง ท าลายสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้สาขาวิชายานยนต์จึงได้ด าเนินการวิจัยเพื่อลดปัญหาด้วยการหาเครื่องมือเครื่องใช้ และสร้างเครื่องสางใบอ้อย ซึ่งจะช่วยให้คนงานตัดใบอ้อยได้รวดเร็วขึ้น ผลการด าเนินงาน พบว่า มีอุปกรณ์ท่ีช่วยสางใบอ้อย 2 ชนิด คือ 1. มีดสางใบ ซึ่งได้ข้อมูลมาจากบริษัทโกลบัลไดนามิค จ ากัด และ 2.เครื่องสางใบอ้อยติดตั้งบนรถไถเดินตาม ปรับปรุงให้เครื่องสางใบ สามารถตีใบอ้อยที่แห้งได้ดีข้ึนใน ผลการทดสอบการท างานของเครื่องสางใบอ้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้มีดสางใบ และมีดตัดอ้อย พบว่า เครื่องสางใบอ้อยสามารถสางใบอ้อยได้จริง ซึ่งสามารถประหยัดเวลามีดสางใบ

Page 5: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน วงจรไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายจรัล นิยมชน ปวช. 3

2. นายสุขสันต์ ไผ่ตลับ ปวช. 3 3. นายสิทธิพร เหมวรรโณ ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงการเรื่องวงจรไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ การพบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและการใช้งานที่ยังไม่สมบรูณ์ต่อการเรียนการสอนใช้งานการต่อวงจรไฟฟ้ารถจักรยานยนต์ จึงเห็นความส าคัญของปัญหาที่จะสร้างโมเดลเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนของวิชาวงจรไฟฟ้าจักรยานยนต์ ในสาขาวิชาช่างยนต์ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยสอนของครูผู้สอนโดยการท างานของอุปกรณ์วงจรไฟฟ้ารถจักรยานยนต์เพ่ือสะดวกในการเรียนการสอน

Page 6: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน ระบบเบรครถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายนัฐพงษ์ พุ่มนิล ปวช. 3

2. นายธนคม เทศสกุล ปวช. 3 3. นายวันเฉลิม การะภักดี ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงการเรื่องระบบเบรครถยนต์ การพบปัญหาที่เกิดจากสื่อการเรียนการสอนและการใช้งานที่ยังไม่สมบรูณ์ของระบบเบรครถยนต์ จึงเห็นความส าคัญของปัญหาที่จะสร้างเพ่ือใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนของวิชางานช่วงล่าง ในสาขาวิชาช่างยนต์ให้เป็นอุปกรณ์ช่วยและสอนของครูผู้สอนโดยการท างานของอุปกรณ์ระบบเบรครถยนต์เพื่อสะดวกในการเรียนการสอน

Page 7: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องผสมปุ๋ย ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3

2. นายจิรายุ รักธัญญกร ปวช. 3 3. นายธนัดกิจ ด้วงนวม ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงการเครื่องผสมปุ๋ย ผู้ศึกษาได้พบปัญหาในการผสมปุ๋ยเนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้ในปัจจุบันนั้นเป็นการใช้จอบผสมปุ๋ย จึงมีแนวคิดเครื่องผสมปุ๋ยขึ้นมาเพ่ือให้เกษตรกรผสมปุ๋ยได้รวดเร็วและประหยัดเวลาต้องผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญได้ไม่ต่ ากว่า 3.50 ในระดับคุณภาพดี)ซึ่งผู้จัดท าได้ค้นคว้าในเรื่องเครื่องมือผสมปุ๋ย โดยด าเนินการสร้างเครื่องผสมปุ๋ยในการประเมิน และผู้เชี่ยวชาญจ านวน 6 ท่านเป็นผู้ประเมินคุณภาพของเครื่องผสมปุ๋ย แบบประเมินคุณภาพที่ผู้ศึกษาได้ผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ด้านคือด้านโครงการ และด้านประโยชน์ในการใช้งาน จากการประเมินเครื่องผสมปุ๋ย ได้น ามาวิเคราะห์ พบว่ามีคุณภาพพอใช้จนถึงระดับดี ส่วนข้อใดที่พอใช้ควรน าไปปรับปรุงแก้ไขเพ่ือคุณภาพที่ดียิ่งข้ึน

Page 8: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องมือถอดล้อช่วยแรง(มูลเล่ย์)เครื่องยนต์เล็ก ชื่อนักศึกษา 1. นายอภิวัฒน์ ทองเที่ยง ปวช. 3

2. นายไพศาล เชิดธรรม ปวช. 3 3. นายวีระพงค์ แสงศรีธูป ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ

โครงงานเครื่องมือถอดประกอบล้อช่วยแรง (มูลเลย์) เครื่องยนต์เล็ก นี้ผู้ศึกษา ได้พบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและการใช้งานในการถอดประกอบซ่อมบ ารุงของงานในแผนกวิชาช่างยนต์ เนื่องจากพ้ืนที่ ที่ใช้ในการสอนและการออกหน่วยบริการในพ้ืนที่ของวิทยาลัยยังขาดอุปกรณ์ในการถอดมูลเลย์เพราะงานที่ไปเจองานซ่อมของเครื่องยนต์เล็ก ของชาวบ้านที่น าเข้ามาซ่อมและน ามาช่วยในการสอนวิชางานเครื่องยนต์เล็ก ท าให้เสียเวลาการปฏิบัติงาน จึงกลุ่มของกระผมจึงเล็งเห็น โดยด าเนินการสร้างเครื่องมือถอดประกอบล้อช่วยแรง (มูลเลย์) เครื่องยนต์เล็ก และให้ผู้ เชี่ยวชาญจ านวน 6 ท่านเป็นผู้ประเมินคุณภาพของตู้เก็บเครื่องมือ แบบประเมินคุณภาพที่ผู้ศึกษาสร้างได้ผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งแบ่งการประเมินออกเป็น2 ด้านคือ ด้านโครงสร้าง และด้านประโยชน์ในการใช้งาน จากการประเมินเครื่องมือถอดประกอบล้อช่วยแรง (มูลเลย์) เครื่องยนต์เล็ก ได้น ามาวิเคราะห์ พบว่ามีคุณภาพพอใช้จนถึงระดับดี ใช้จอบผสมปุ๋ย จึงมีแนวคิดเครื่องผสมปุ๋ยขึ้นมาเพ่ือให้เกษตรกรผสมปุ๋ยได้รวดเร็วและประหยัดเวลาต้องผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญได้ไม่ต่ ากว่า 3.50 ในระดับคุณภาพดี

Page 9: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องมือประกอบซีลข้อเหวี่ยงหลัง (รถอีซูซุ) ชื่อนักศึกษา 1. นายภิเษก เขตขาม ปวช. 3

2. นายสมพล ผิวขาว ปวช. 3 3. นายอรรถพล สมบูรณ์ ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงการเครื่องมือประกอบซีลข้อเหวี่ยงหลัง(รถอีซูซุ) นี้ผู้ศึกษา ได้พบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอนและการใช้งานในการถอดประกอบซ่อมบ ารุงของงานในแผนกวิชาช่างยนต์ ส่วนใหญ่จะมี ของชุมชนใกล้เคียงที่น าเข้ามาซ่อมและน ามาช่วยในการเรียนการสอนวิชางานเครื่องล่างรถยนต์ของทางแผนกช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย จึงกลุ่มของกระผมจึงเล็งเห็น โดยด าเนินการสร้างเครื่องมือประกอบซีลข้อเหวี่ยงหลัง(รถอีซูซุ)และให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่านเป็นผู้ประเมินคุณภาพของเครื่องมือประกอบซีลข้อเหวี่ยงหลัง(รถอีซูซุ) แบบประเมินคุณภาพที่ผู้ศึกษาสร้างได้ผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เ ชี่ยวชาญ ซึ่งแบ่งการประเมินออกเป็น 2 ด้านคือ ด้านโครงสร้าง และด้านประโยชน์ในการใช้งาน จากการประเมินเครื่องมือประกอบซีลข้อเหวี่ยงหลัง(รถอีซูซุ)ได้น ามาวิเคราะห์ พบว่ามีคุณภาพพอใช้จนถึงระดับดี ส่วนข้อไหนที่พอใช้ควรน าไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นเพื่อคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น

Page 10: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน ปรับปรุงเครื่องปั๊มลม ชื่อนักศึกษา 1. นายสมชาย ขันติวงค์ ปวช. 3

2. นายธารา พิลึก ปวช. 3 3. นายธเนศ ใจหมั่น ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ปัจจุบันวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย มีนักศึกษาเพ่ิมมากขึ้น และสิ่งปลูกสร้างอาคารสิ่งของต่างๆก็

เพ่ิมมากข้ึน ซึ่งการดูแลและบ ารุงรักษาให้อุปกรณ์ต่างๆอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน เพ่ือป้องกันอันตรายและทรัพย์สินของวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยเสียหาย ซึ่งได้พบปัญหาว่าทางแผนกวิชาช่างยนต์วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยมีจ านวนนักเรียนนักศึกษาเพ่ิมข้ึนทุกปีและยังมีภาระงานอ่ืนที่นอกเหนือจากการซ่อมภายในวิทยาลัย เช่นการออกหน่วย อ าเภอยิ้ม จังหวัดเคลื่อนที่และออกบริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน เวลาออกแต่ละครั้งจะท าการออกให้บริการพร้อมกันหลายพ้ืนที่จึงท าให้เครื่องปั๊มลมเกิดการช ารุดขึ้นหลายเครื่องทางกลุ่มของกระผมจึงคิดที่จะท าการซ่อมและปรับปรุงปั๊มลมของทางแผนกช่างยนต์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและให้บริการกับบุคลภายนอกต่อไป

Page 11: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน ปรับปรุงเครื่องปั๊มลม ชื่อนักศึกษา 1. นายปัญญพนต์ รอดเมือง ปวช. 3

2. นายศักรินทร์ อบรมวรรณ ปวช. 3 3. นายอนุกูล ยังกรุด ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ปัจจุบันวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย มีนักศึกษาเพ่ิมมากขึ้น และสิ่งปลูกสร้างอาคารสิ่งของต่างๆก็

เพ่ิมมากข้ึน ซึ่งการดูแลและบ ารุงรักษาให้อุปกรณ์ต่างๆอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน เพ่ือป้องกันอันตรายและทรัพย์สินของวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยเสียหาย ซึ่งได้พบปัญหาว่าทางแผนกวิชาช่างยนต์วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยมีจ านวนนักเรียนนักศึกษาเพ่ิมข้ึนทุกปีและยังมีภาระงานอ่ืนที่นอกเหนือจากการซ่อมภายในวิทยาลัย เช่นการออกหน่วย อ าเภอยิ้ม จังหวัดเคลื่อนที่และออกบริการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน เวลาออกแต่ละครั้งจะท าการออกให้บริการพร้อมกันหลายพ้ืนที่จึงท าให้เครื่องปั๊มลมเกิดการช ารุดขึ้นหลายเครื่องทางกลุ่มของกระผมจึงคิดที่จะท าการซ่อมและปรับปรุงปั๊มลมของทางแผนกช่างยนต์ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและให้บริการกับบุคลภายนอกต่อไป

Page 12: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องมือถอดปลอกสูบ เครื่องยนต์เล็กดีเซล ชื่อนักศึกษา 1. นายทศพล ศรีกรด ปวช. 3 2. นายส าเริง เล็กกระจ่าง ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายอมร คงพิริยะไพจิตร ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ โครงงานเครื่องมือถอดปลอกสูบ เครื่องยนต์เล็กดีเซล นี้ผู้ศึกษา ได้พบปัญหาที่เกิดจากการเรียนการ

สอนและการใช้งานในการถอดประกอบซ่อมบ ารุงของงานในแผนกวิชาช่างยนต์ เนื่องจากพ้ืนที่ ที่ใช้ในการสอนและการออกหน่วยบริการในพ้ืนที่ของวิทยาลัยยังขาดอุปกรณ์ในการถอดปลอกสูบเพราะงานที่ไปเจองานซ่อมของเครื่องยนต์เล็ก ของชาวบ้านที่น าเข้ามาซ่อมและน ามาช่วยในการสอนวิชางานเครื่องยนต์เล็กของทางแผนกช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัยเมื่อมีการเรียนการสอนปฏิบัตินั้น แผนกวิชาช่างยนต์ ท าให้เสียเวลาการปฏิบัติงาน กลุ่มของกระผมจึงเล็งเห็น โดยด าเนินการสร้างเครื่องมือถอดเครื่องมือถอดปลอกสูบ เครื่องยนต์เล็กดีเซล การจัดท าสิ่งประดิษฐ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครื่องมือถอดปลอกสูบ เครื่องยนต์เล็กดีเซล และเพ่ือหาคุณภาพของเครื่องมือถอดปลอกสูบเครื่องยนต์เล็กดีเซลที่สร้างขึ้นโดยมีวิธีการด าเนินสิ่งประดิษฐ์ดังนี้คือ วางแผนการพัฒนา ออกแบบชิ้นงาน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ด าเนินการสร้างตามข้ันตอนที่วางแผนไว้ ทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไขแล้วน าไป ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ แล้วน าไปทดลองหาประสิทธิภาพของเครื่องมือถอดปลอกสูบ เครื่องยนต์เล็กดีเซล

Page 13: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน ชุดสาธิตระบบไฟเลี้ยวปิดอัตโนมัติ ชื่อนักศึกษา 1. นายชาญณรงค์ แสงจันทร์ ปวส. 2 2. นายกนกพล โหระเวท ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ชุดสาธิตระบบไฟเลี้ยวปิดอัตโนมัติ คณะผู้จัดท าได้จัดท าขึ้นเพ่ือให้ความปลอดภัยแก่ผู้ขับขี่ และเพ่ือให้

ความปลอดภัยบนท้องถนน ในปัจจุบันมีการจราจรมีสัญญาณเตือนที่ใช้บนท้องถนน ไม่ว่าจะเป็นระบบไฟยกเลี้ยวที่ต้องมีกับรถทุกคัน ระบบไฟเลี้ยวของรถยนต์นั้น เมื่อเปิดสัญญาณยกเลี้ยวนั้นระบบไฟเลี้ยวก็จะติดเมื่อเลี้ยวกับระบบไฟเลี้ยวก็จะดับทันที แต่ระบบไฟเลี้ยวในรถจักยานยนต์ซึ่งถ้าเราเลี้ยวแล้ว ไฟเลี้ยวที่เราเปิดซึ่งจะท าให้ไฟเลี้ยวที่เราเปิดจะติดไปถึงจุดหมายปลายทาง ซึ่งอาจท าให้เกิดอันตรายขับขี่และผู้ที่ใช้เส้นทางเดียวกัน จากเหตุผลดังกล่าวคณะผู้จัดท าได้จัดท าชุดสาธิตระบบ ไฟเลี้ยวปิดอัตโนมัติ เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของระบบไฟเลี้ยวเปิดอัตโนมัติ เพื่อลดอันตรายแก่ ผู้ขับขี่และลดความปลอดภัยบนท้องถนนได้ คณะผู้จัดท าได้จัดท าโครงการชุดสาธิตระบบไฟเลี้ยว ปิดอัตโนมัติ เพ่ือท าการทดสอบหาประสิทธิภาพของชุดสาธิตระบบไฟเลี้ยวปิดอัตโนมัติ และท าการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 20 ท่าน ได้ประเมินผลพบว่า ชุดสาธิตระบบไฟเลี้ยวปิดอัตโนมัติ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี ( x = 4.49)

Page 14: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องไล่ลมเบรกรถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายวันชัย เอ่ียมใหญ่ ปวส. 2 2. นายอรรถพร ปานทองสุข ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ในปัจจุบัน การบริการงานเก่ียวกับด้านการไล่ลมเบรกรถยนต์ ยังใช้เวลาและต้องใช้จ านวน คนมาก จาก

เหตุผลดังกล่าวท าให้ผู้จัดท า ได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ เครื่องไล่ลมเบรกรถยนต์เพ่ือท าให้ประหยัดเวลา สะดวก รวดเร็ว และลดแรงงานคน การท างานบริการไล่ลมเบรกรถยนต์ใช้งานได้จริง มีประสิทธิภาพที่ดี

คณะผู้จัดท าได้จัดท าเครื่องไล่ลมเบรกรถยนต์ เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องไล่ลมเบรกรถยนต์ มีความสะดวกรวดเร็วในการท างานมากขึ้น และยังเป็นการใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกิดประโยชน์ อีกด้วย และท าการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 20 ท่าน ได้ประเมินผลพบว่า เครื่องไล่ลมเบรกรถยนต์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี ( x = 4.35)

Page 15: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องล้างชิ้นส่วนรถยนต์ ชื่อนักศึกษา 1. นายศรัทธา เขตขาม ปวส. 2 2. นายสันติชัย นาคอาจหาญ ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ เครื่องล้างชิ้นส่วนรถยนต์ คณะผู้จัดท าได้จัดท าขึ้นเพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านการบริการล้างชิ้นส่วน

เครื่องยนต์ ซึ่งในปัจจุบัน ในการล้างชิ้นส่วนรถยนต์ในงานบริการยานยนต์ยังใช้แบบธรรมดา โดยการล้างแบบใช้ถาดล้าง ในการล้างใช้บริเวณกว้างและน าน้ ามันที่ล้างไม่สามารถน าใช้ได้อีกครั้ง จากเหตุผลดังกล่าวท าให้คณะผู้จัดท า จัดท าแท่นล้างชิ้นส่วนรถยนต์ ที่สามารถล้างชิ้นส่วนรถยนต์ แล้วสามารถน าน้ ามันใช้อีกรอบและมีเครื่องเป่าในตัวซึ่งประหยัดพ้ืนที่และเวลา ซึ่งสามารถใช้งานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพและท าการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 20ท่าน ได้ประเมินผลพบว่าเครื่องท าน้ าส้มควันไม้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี (x= 4.26)

Page 16: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องถอดประกอบวาล์ว ชื่อนักศึกษา 1. นายไกรสร พรหมโชติ ปวส. 2 2. นายวิหาร พิลึก ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ในปัจจุบันการบริการด้านการถอดประกอบวาล์วรถยนต์รุ่นต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในการซ่อมบริการและใช้เวลานาน ซึ่งเดิมทีใช้ซีแคมหรือใช้ค้อนตอกสปริงวาล์ว เพ่ือเอาเกือกม้าออก ผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับผลกระทบจากอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานได้ จากเหตุผลดังกล่าวคณะผู้จัดท าได้จัดท าเครื่องถอดประกอบวาล์วขึ้นมา เพ่ืออ านวยความสะดวกในการถอดประกอบวาล์ว ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดข้ึน และประหยัดเวลาจากการตอกโดยวิธีเดิม คณะผู้จัดท าได้จัดท าเครื่องถอดประกอบวาล์ว เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของ เครื่องถอดประกอบวาล์ว มีความสะดวกรวดเร็วในการท างานมากขึ้น และยังเป็นการประหยัดวัสดุอุปกรณ์ อีกด้วย และท าการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 20 ท่าน ได้ประเมินผลพบว่า เครื่องถอดประกอบวาล์ว มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี ( x = 4.29)

Page 17: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน ถังลมคอมเพรสเตอร์ ชื่อนักศึกษา 1. นายธนาธิป ประเสริฐดี ปวส. 2 2. นายพงษ์ดนัย พูลนาค ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ ในปัจจุบันการใช้รถจักรยานยนต์มากขึ้นและหลากหลายรุ่น ท าให้มีการเปลี่ยนอะไหล่ที่ต้องใช้

แรงลมเพิ่มมากขึ้น จากเหตุดังกล่าวทางคณะผู้จัดท าจึงคิดค้นงานจากถังลมเพ่ือบริการด้านต่างๆทางช่าง ซึ่งถังลมส่วนมากมีเสียงดังจากการท างาน ท าให้ไม่มีสมาธิในการปฏิบัติงาน การท างานถังลมคอมเพรสเซอร์ใช้งานได้จริง มีประสิทธิภาพที่ดี คณะผู้จัดท าได้จัดท าถังลมคอมเพรสเซอร์ เพ่ือทดสอบหาประสิทธิภาพของถังลมคอมเพรสเซอร์ มีความเงียบของเสียงขณะปฎิบัติงานมากขึ้นและยังเป็นการใช้วัสดุเหลือใช้ให้เกิดประโยชน์อีกด้วย และท าการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 20 ท่าน ได้ประเมินผลพบว่าถังลมคอมเพรสเซอร์ มีความเหมาะสม

อยู่ในระดับดี (x = 4.42)

Page 18: บทคัดย่อ · ชื่อนักศึกษา 1. นายมณฑล จันทะมาส ปวช. 3 2. นายจิรายุ รักธัญญกร

ชื่อผลงาน เครื่องถอดประกอบลูกปืน ชื่อนักศึกษา 1. นางสาวจารุณี เมฆกระจาย ปวส. 2 2. นายภัทรวัฒน์ แก้วสระแสน ปวส. 2 สาขางาน เทคนิคยานยนต์ สาขาวิชา เครื่องกล อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก นายสิทธิชัย อุดมดัน ปีการศึกษา 2557 สถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย

บทคัดย่อ จากการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องถอดประกอบลูกปืนขึ้นเพ่ือน าไปใช้ในการท างานจริงให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้นและทดลองวัดเวลาการใช้เครื่องถอดประกอบลูกปืน ได้มีการส ารวจประชาชนทั่วไป 50 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ

การศึกษาครั้งนี้การตอบแบบสอบถาม พบว่าซึ่งมีผลการทดลองประกอบตลับลูกปืน 1 ตลับ ใช้เวลา 1.6 นาที ผลการทดลองถอดตลับลูกปืน 1 ตลับ ใช้เวลา 1.2 นาทีและผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพที่ดี (= 4.47 )