โครงงาน -...

25
โครงงาน วิชา 196-306 Introductions to International Relations II เรื่อง สถานการณความไมสงบกับการคาชายแดนสุไหงโก-ลก The effect of insurgency on border trade in Sungai Kolok border ผูจัดทํา 5120710004 นางสาวการีมะห ราแดง 5120710167 นางสาวรัญชนา สุทธิชาติ 5120710219 นายอนันต เชื้อสมัน นักศึกษาชั้นปที2 สาขาความสัมพันธระหวางประเทศ อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยชิดชนก ราฮิมมูลา คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

Upload: others

Post on 28-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

โครงงาน วิชา 196-306 Introductions to International Relations II

เร่ือง

สถานการณความไมสงบกับการคาชายแดนสุไหงโก-ลก The effect of insurgency on border trade in Sungai Kolok border

ผูจัดทํา

5120710004 นางสาวการีมะห ราแดง

5120710167 นางสาวรัญชนา สุทธิชาติ

5120710219 นายอนันต เชื้อสมัน นักศึกษาชั้นปที่ 2 สาขาความสัมพันธระหวางประเทศ

อาจารยที่ปรึกษา

ผูชวยศาสตราจารยชิดชนก ราฮิมมูลา

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

Page 2: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

สารบัญ

หัวขอเร่ือง หนา

หัวขอโครงงาน 1

บทที่ ๑ บทนํา 2-3

บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวของ 4-8

บทที่ ๓ วิธีการศึกษา 9

บทที่ ๔ ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา 12-14

บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษา 15

ภาคผนวก 17-22

บรรณานุกรม 23

Page 3: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

หัวขอโครงงาน สถานการณความไมสงบกับการคาชายแดนสุไหงโก-ลก (The effect of insurgency on border trade in Sungai Kolok border) คณะผูจัดทํา นางสาวการีมะห ราแดง,นางสาวรัญชนา สุทธิชาติ และ นายอนันต เชื้อสมัน

ชื่ออาจารยครูผูสอน ผูชวยศาสตาจารย ชิดชนก ราฮิมมูลา

สถานศึกษา คณะ รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ปตตานี

ป พ.ศ. 2552

บทคัดยอ

การที่ไทยและประเทศมาเลยเซีย นั้นมีการติดตอคาขายกันมาอยางยาวนาน เรียกไดวาเปนเสมือนพี่นองกันก็วาได ในเรื่องของการคาขายนั้น สวนหนึ่งของการคาระหวางประเทศคือ ดานศุลกากร และบริเวณตาง ที่มี่ความมั่งคั่งไมแพการคาระหวางประเทศในรูปแบบอื่น แตจากสถานการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตนั้นเปนสิ่งที่สงผลกระทบตอดานตางๆของประเทศไทยเปนอยางมาก ไมวาจะเปนภาพลักษณ การเมือง เศรษฐกิจ เปนตน ทําใหทางกลุมทําการศึกษาถึงผลกระทบจากสถานกาณความไมสงบวาสงผลอยางไรตอสภาพการคาชายแดนโดยเฉพาะการคาบริเวณดานสุไหงโก-ลก จึงไดทําการศึกษาขอมูล และลงสํารวจในพื้นที่เพื่อใหโครงงานนี้บรรลุเปาหมาย

กิตติกรรมประกาศ

ในการทําโครงงานเลมนี้จะไมประสบความสําเร็จหากขาดความชวยเหลือจากบุคคลเหลานี้ ขอขอบพระคุณ

1) อาจารย ชิดชนก ราฮีมมูลา ที่ปรึกษาโครงงาน 2) คุณ ศิริธรณ พูลสวัสดิ์ ใหที่พักและใหขอมูลในการทําโครงงาน 3) คุณดือราเม็ง บินยูโซะ และ สมาชิก ผูใหขอมูลในการทําโครงงาน 4) คุณอิบรอฮิม ยูโซะ และสมาชิก ผูใหขอมูลในการทําโครงงาน 5) Mr Abeno (Malaysia) ผูใหขอมูลในการทําโครงงาน 6) เจาของราน Gandar (Malaysia) ผูใหขอมูลในการทําโครงงาน

Page 4: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บทที่ 1 บทนํา

ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน

การคาสินคาระหวางชายแดนเปนการคาที่สามารถสรางความสัมพันธกับคนระหวางประเทศได เพราะ มีการคาที่แลกเปลี่ยนประเภทสินคาดวยกันและสามารถสรางรายไดใหกับประเทศและประชาชนในพื้นที่เองดวย ปจจุบันไดประสบกับปญหาความไมสงบสงผลใหเกิดผลกระทบหลายๆดาน เชน ทางดานการคมนาคมและการกระจายสินคาก็เกิดความลําบากจากที่เมื่อกอนเคยมีประชาชนรวมไปถึงนักทองเที่ยวเขามาใชบริการ ไมวาจะเปนทางไทยหรือมาเลยเองก็ตาม จากที่เคยมีความคึกคักปจจุบันนี้กลับเงียบหายและสงผลกระทบกับการคาสินคาระหวางชายแดนอยางมาก เพราะทําใหนักทองเที่ยวเกิดความหวาดกลัวในความไมปลอดภัยเลยทําใหไมมีผูเขามาใชบริการตางๆอยางที่เคยผานมา ดวยเหตุนี้ทําใหกลุมขาพเจาเกิดความสนใจในเรื่องนี้ จึงไดลงพื้นที่ไปสัมภาษณเกี่ยวกับผลกระทบที่เนื่องมาจากเหตุการณความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนใตนี้วามีผลกระทบอยางไรกันบาง โดยไดสัมภาษณจากกลุมคนที่ประกอบอาชีพอยูบริเวณดานทั้งทางไทยและมาเลยเซีย โดยกลุมของดิฉันเลือกสัมภาษณอาชีพ มอเตอรไซครับจาง รานอาหาร รานขายเสื้อผา และเรือรับจาง จากการสัมภาษณผูประกอบอาชีพดังกลาวไดใหคําตอบมาเหมือนกันคือ จากการที่มีสถานการณทําใหปริมาณการคาหรือบริการลดลงครึ่งตอคร่ึง และถาเปนเรือรับจาง ถาวันไหนมีเหตุการณเกิดขึ้นทางดานก็จะปดทาเรือเพื่อปองกันการหลบหนี ขณะนี้ก็ยังคงเปนเชนนั้น โดยท่ีทักอยางก็ขึ้นอยูกับสถานการณเทานั้น วัตถุประสงค

1. เพื่อการศึกษาผลกระทบของผูประกอบการสินคาระหวางชายแดนเนื่องจากสถานการณ 2. เพื่อการศึกษาการลดของปริมาณสินคาระหวางชายแดน เนื่องจากสถานการณ

สมมติฐานของการศึกษา

สถานการณความไมสงบสงผลกระทบตอการคาบริเวณชายแดนทั้งฝายไทยและมาเลยเซียและสงผลใหสภาพทางการคาบริเวณชายแดนสุไหงโก-ลกลดลง นอกจากนี้ยังมีปจจัยอ่ืนๆที่สงผลกระทบตอการคาชายแดนบริเวณดานสุไหงโก-ลกดวยเชนกัน

Page 5: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

ขอบเขตของการศึกษาคนควา

1. ศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดจากสถานการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตวามีผลอยางไรตอการคาบริเวณชายแดนสุไหงโก-ลก โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางประชาชนผูประกอบการทั้งทางไทยและมาเลย ดังนี้

2. อาชีพ ขับมอเตอรไซครับจาง 3. อาชีพ เปดรานอาหาร 4. อาชีพ เปดรานขายเสื้อผา 5. อาชีพ เรือรับจาง

2. ทําการศึกษาขอมูลจากสถิติเพื่อเปรียบเทียบมูลคาการคาชายแดนทั้งสินคานําเขาและ

สงออกวาไดรับผลกระทบจากสถานการณอยางไร 1. อาชีพ ขับมอเตอรไซครับจาง 2. อาชีพ เปดรานอาหาร 3. อาชีพ เปดรานขายเสื้อผา 4. อาชีพ เรือรับจาง

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดรับทราบถึงผลกระทบของผูประกอบการสินคาระหวางชายแดนเนื่องจากสถานการณ 2. ไดทราบถึงการลดของปริมาณสินคาระหวางชายแดนเนื่องจากสถานการณ

Page 6: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ

การคาชายแดน หมายถึง การคาชายแดน หมายถึง การคาทีเกิดขึ้นในรูปแบบตางๆ ของประชาชนหรือผูประกอบการคาทีมี

ภูมิลําเนาอยูในจังหวัด อําเภอ หมูบาน ที่มีพรมแดนติดตอกับประเทศเพื่อนบาน ไดทําการซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนสินคา ระหวางประชาชนที่อาศัยตามบริเวณชายแดนทั้งสองฝาย โดยมีมูลคาครั้งละไมมากนัก สวนใหญเปนสินคาที่มีความจําเปนตอชีวิตประจําวัน เชนสินคาอุปโภคบริโภค สินคาเกษตรบางชนิด และสินคาสินคาทีหาไดจากธรรมชาติ เชน ของปา ซากสัตว เปนตน เปนการคาที่มีกรรมวธีิไมยุงยาก และมีความสะดอกรวกเร็วการคาชายแดนมีทั้งถูกตองตามกฏหมายโดยผานศุลกากร และลักลอบคา หรือการคาสินคาที่ผิดกฏหมาย ( สํานักงานพาณิชยจังหวัดปตตานี, 2543:6 ) จากงานวิจัย สถาบันราชภัฏสุราษฎรธานี. คณะวิทยาการจัดการ, การคาชายแดนไทย – มาเลเซีย 2545

สาเหตุท่ีทําใหเกิดการคาชายแดน 1. ความถนัดหรือความชํานาญในการผลิตของแรงงาน กลาวคือ ประชาการของแตละประเทศจะมี

ความเชี่ยวชาญในการผลิตสินคาตางกัน จําเปนตองมีการชื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการที่ตนมีความชํานาญในการผลิตสินคาของประเทศอื่น ซ่ึงแตละประเทศมีการผลิตสินคาและบริการตางกัน จึงเกิดการคาขึ้น เพื่อใหซ่ึงไดมาในสินคาที่ตนผลิตไมได หรือถาผลิตแลวมีตนทุนสูงกวา

2. การขาดแคลนวัตถุดิบ ทรัพยากรธรรมชาติ และปจจัยการผลิต คือ สภาพภูมิประเทศ ในละละสวนของโลกยอมีความแตกตางกัน ทําใหมีทรัพยากรธรรทชาติและวัตถุดิบไมเหมือนกันและความอุดมสมบูรณและความมั่งคั่งของแตละประเทศก็ตางกันดังนั้นประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากรและวัตถุที่ใชในการผลิตหรือมีปริมาณไมมากพอกับความตองการที่จะใชก็จําเปนตองมีการนําเขาจากประเทศที่มีปริมาณมาก

3.จํานวนประชากรและความหนาแนนของประชากร กลาวคือ ประเทศใดที่มีประชากรมากยอมมีความตองการในการบริโภคมากจนไมสามารถผลิตสินคาโดยเฉพาะประเภทสินคาเกษตรกรรมไดเพียงพอกับความตองการของประชากรในประเทศได ขณะที่บางประเทศสามารถผลิตอาหารและสินคาเกษตรกรรมไดมากมายจนเกินความตองการของประชากรในประเทศจะบริโภคไดหมดจึงจําเปนตองมีการนําเขาสินคาอาหารจากประเทศที่มีผลผลิตมากเขามาในประเทศที่มีความตองการมากแตมีผลผลิตนอย เชน ญ่ีปุน อินโดนีเซีย

4.มาตรฐานการครองชีพ กลาวคือ ประเทศใดที่มีมาตรฐานการครองชีพต่ํายอมมีความตองการนําเขาสินคาหรือบริการนอยกวาประเทศที่มีมาตรฐานในการครองชีพสูงและประเทศที่มีมาตรฐานการครองชีพสูงเพียงใดก็ยอมมีความตองการสินคาที่มีคุณภาพมากขึ้นเทานั้น

5. ตนทุนการผลิต กลาววา การนําสินคาจากตางประเทศมีราคาถูกกวาสินคาที่ผลิตภายในประเทศ ทั้งนี้ เพราะตนทุน คาแรงงาน ทรัพยากร วัตถุดิบในประเทศนั้น ๆ ต่ํากวารวมทั้งระบบภาษี คาสาธารณูปโภคของผูผลิตอาจจะต่ํากวาตลอดจนรัฐบาลของประเทศมีนโยบายใหการอุดหนุน

Page 7: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

6. การสงออกเพื่อแกปญญาผลผลิตตกต่ํา กลาวคือ กรณีที่ประเทศใดมีการผลิตสินคาไดมากเกินความตองการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ ก็จําเปนตองหาตลาดสงออก เพื่อแกปญหาอุปทานสวนเกินและราคาตกต่ํา

ความสัมพันธทางการคา ไทย-มาเลยเซีย ความสัมพันธระหวางไทยกับมาเลเซีย ไดพัฒนาแนนแฟน จนมีความใกลชิดกันมาก เนื่องจาก ทั้งสองประเทศมี ผลประโยชนรวมกันหลายประการ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับตาง ๆ ทั้งระดับ พระราชวงศช้ันสูง รัฐบาล และเจาหนาที่ ทั้งอยางเปนทางการ และไมเปนทางการ เปนไปอยาง สม่ําเสมอ แตแมวาสองฝาย จะมีความสัมพันธที่ใกลชิดกัน ก็ยังคงมีประเด็นปญหา ในความสัมพันธ ซ่ึงตองรวมมือกันแกไข อาทิ การปกปนเขตแดนทางบก บุคคลสองสัญชาติ การกอความไมสงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต เปนตน

1. กรอบการพัฒนา เขตเศรษฐกิจ สามฝายอินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT)ไดเร่ิมตนขึ้นในชวงป 2536 โดยผูนําทั้ง 3 ประเทศไดเห็นชอบที่จะใหผลักดันการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในลักษณะ ไตรภาคี ระหวางภาคใตของไทย ภาคเหนือของมาเลเซีย และพ้ืนที่บนเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ไดทําการศึกษาความเปนไปไดและกําหนดแนวทางการดําเนินงานโดยมีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวาง 3 ประเทศ ใหมีการใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจรวมกันอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน สูงสุด โดยเนนความรวมมือดานการผลิต การสงเสริมการลงทุน และการถายทอดเทคโนโลยีเพื่อเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันทาง เศรษฐกิจของพื้นที่ IMT – GT นอกจากนั้น ยังมุงเนนใหมีการพัฒนาการเชื่อมโยงดานโครงสรางพื้นฐาน โดยเฉพาะโครงขายคมนาคมขนสงและระบบสาธารณูปโภคระหวางประเทศ พื้นที่ความรวมมือ ประกอบดวย พื้นที่เกือบทั้งหมดของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ไดแก แควนอาเจะห จังหวัดสุมาตราเหนือ จังหวัดสุมาตราตะวันตก จังหวัดสุมาตราใต จังหวัดบังกูลู จังหวัดเรียวและจังหวัดจัมบิ พื้นที่ 5 รัฐทางตอนเหนือของมาเลเซีย ไดแก เคดาห เปรัก ปนัง เปอรลิส และเซลังงอร และพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตของไทย ไดแก สงขลา ปตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล

2. ยุทธศาสตรการพัฒนารวม สําหรับพื้นที่ชายแดนไทย - มาเลเซีย (Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areas–JDS) จัดตั้งขึ้นเมื่อป 2547 เพื่อพัฒนาความกินดีอยูดีของประชาชนในบริเวณพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต (จชต.) ไดแก สงขลา ยะลา สตูล ปตตานี และนราธิวาส ตลอดจน 4 รัฐภาคเหนือของมาเลเซีย ไดแก ปะลิส เกดะห กลันตัน และเประ เฉพาะอําเภอเปงกาลันฮูลู) โดยเนนโครงการความรวมมือที่ใหประโยชนแกประชาชนในพื้นที่เปนสําคัญ อาทิ การพัฒนาโครงสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและการเชื่อมโยงเสนทางคมนาคม การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและความรวมมือ

Page 8: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

ดานการทองเที่ยว เพื่อสรางเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ ซ่ึงจะเปนผลในการแกไขปญหาใน จชต. ดวย

3. เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area :AFTA) ระบบ CEPT (Common Effective Preferential Tariff Scheme) ซ่ึงกําหนดใหประเทศสมาชิกใหสิทธิประโยชนทางภาษีศุลกากรแกกันแบบตางตอบแทน กลาว คือ การที่จะไดสิทธิประโยชนจากการลดภาษีของประเทศอื่นสําหรับสินคาชนิดใด ประเทศสมาชิกนั้นจะตองประกาศลดภาษีสําหรับสินคาชนิดเดียวกันดวย ทั้งนี้ CEPT ไดกําหนดใหสินคาที่ไดรับประโยชนจากการลดภาษีจะตองมีสัดสวนมูลคาที่เกิดขึ้นในอาเซียน (ASEAN Local Content) อยางนอย 40% และสามารถคํานวณวัตถุดิบในอาเซียนแบบสะสม (Cumulative Rules of Origin) โดยกําหนดอัตราขั้นต่ําของวัตถุดิบเทากับ 20%

สภาพทางเศรษฐกิจและการคาของมาเลยเซีย ขอมูลจากศูนยศึกษาความรวมมือระหวางประเทศ (International Cooperation Study Center: ICSC)

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กลาวถึงนโยบายทางดานเศรษฐกิจของมาเลเชียไวดังตอไปนี้ 1. เปดรับการคา การลงทุน และการถายทอดเทคโนโลยีจากตะวันตก เพื่อพัฒนาประเทศไปสูการเปนประเทศที่พัฒนาแลวภายในป 2563 (Vision 2020) ตามที่อดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาธีร บิน โมฮัมหมัดตั้งเปาหมายไว

2. ใชนโยบายการเมืองนําเศรษฐกิจเพื่อนํามาซึ่งผลประโยชนและโอกาสทางการคาแกประเทศ 3. ขยายการติดตอดานเศรษฐกิจและการคากับประเทศกําลังพัฒนาเพื่อลดการพึ่งพาตลาดสหรัฐฯ และ

ยุโรป ในฐานะประธานองคการการประชุมอิสลาม (Organization of Islamic Conference – OIC) ให

ความสําคัญกับการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก OIC (รวม 57 ประเทศ) โดยเฉพาะดานอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ธนาคารอิสลาม การศึกษา และการทองเที่ยว

การคาชายแดนบริเวณดานสุไหงโก-ลก ดาน ศุลกากรสุไหงโก-ลก จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวงการคลัง เมื่อป พ.ศ. 2475 โดยกําหนดใหเปนที่

สําหรับการนําเขา หรือสงออกเฉพาะทางรถไฟเทานั้น มีที่ทําการดานฯ อยูที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก มีอาณาเขตติดตอกับ ประเทศมาเลเซียดานอําเภอปาเซมัส รัฐกลันตัน มีแมน้ําโก-ลก กั้นเขตแดนไทย - มาเลเซีย ตั้งแตอําเภอแวง จนถึงออกทะเลที่อําเภอตากใบ สภาพภูมิประเทศสวนใหญเปนที่ราบริมฝงแมน้ํา ประชาชนทั้ง 2 ฝงขามไปมาติดตอคาขายกันโดยตลอด โดยใชภาษามลายู เปนภาษาทองถ่ิน

1.ดานศุลกากรสุไหงโก-ลก มีดานตรวจซึ่งอยูในความรับผิดชอบ 2 ดาน คือ 1) ดานตรวจพรมแดน ซ่ึงตั้งอยูเชิงสะพานสุไหงโก-ลก หางจากที่ทําการดานฯ 300 เมตร มีหนาที่ตรวจคน

บุคคลและยานพาหนะที่เดินทางผานเขา - ออก ระหวางประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย และเก็บอากรปากระวางสําหรับของติดตัวผูโดยสารที่มีมูลคาไมเกิน 20,000.- บาท

Page 9: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

2) ดานตรวจบูเก็ตตา ตั้งอยูที่บานบาโอะ ตําบลโละจูด อําเภอแวง จังหวัดนราธิวาส หางจากที่ทําการดานฯ ประมาณ 28 กิโลเมตร มีหนาที่ในการตรวจคนยานพาหนะ ปองกันและปราบปรามการลักลอบหนีศุลกากร ตามเสนทางสายบูเก็ตตา - แวง – สุไหงปาดี

2.สภาพโดยทั่วไป 1) ดานสุไหงโก-ลก เขตเทศบาลตําบลสุไหงโก-ลก อําเภอ สุไหงโก-ลก นราธิวาสติดกับชุมชนของ

มาเลยคือ ลันตูปนยัง อําเภอปาเซมัส รัฐกลันตัน 2) การขนสง ใชทางรถยนต ทางเรือ รถไฟ และโดยเทา 3) การคาชุมชนบริเวณดานมีทั้ง สินคาอุปโภคบริโภค และบริการตางๆ 4) ผูช้ือและผูขาย สวนมากจะเปนชาวทองถ่ินที่มีที่อยูบริเวณดานชายแดน 5) ยังคงมีการลักลอบนําเขาสินคา หรือ การคาสินคาผิดกฏหมาย ซ่ึงทางการก็พยายามที่จะลดและ

ปราบปรามอยางเครงครัด แตก็ยังมีการลักลอบเปนประจํา จากขอมูลของสํานักงานดานศุลกากรสุไหงโก-ลกนั้น สินคาที่มีการลับลอบสงออกสวนใหญไดแก ขาวสาร ผลไมสด เสื้อผา และของใชประเภททําดวยพลาสติกและอลูมีเนียม ซ่ึงเสนทางการลักลอบไดแก ขนขามแมน้ําสุไหงโก-ลก ตามสถานที่ตางๆของสองฝงแมน้ํา ตลอดแนวความยาวของแมน้ําตั้งแตอําเภอแวง บางสวนก็ใชรถบรรทุกหรือบางครั้งก็ตามทางรถไฟ

3. ดานสุไหงโก-ลกนั้นเปนดานที่มีลักษณะเฉพาะที่แตกตางออกไปตามสินคาที่นําเขา-สงออก บริการ และสินคาบริเวณดาน

1) สินคาบริเวณชายแดน • ผลไม ผักสด ขนมขบเคี้ยว • ขาวสาร และน้ํามัน • เสื้อผา เครื่องแตงกาย • ทองเที่ยวและบริการ

2) บุคคลที่มาซื้อสินคาบริเวณชายแดน • ชาวพื้นเมืองในทองถ่ิน • นักทองเที่ยวที่มาจากในประเทศ • ชาวพื้นเมืองที่อยูตางถิ่น • นักทองเที่ยวชาวตางชาติ

3) สินคานําเขาและสงออก • สินคานําเขาที่สําคัญ

- ไมแปรรูป ไมหมอน และไมไสกบ - ขนมปง บิสกิต ขนมอบตางๆ - หนังโค หนังกระบือ - เครื่องใชไฟฟา และ อ่ืนๆ

Page 10: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

• สินคาสงออกที่สําคัญ - อาหารกุงและอาหารปลา - กาซปโตเลียมเหลว - ยางแผนดิบ เศษยางจากตนยาง - ผลไมสด

4) พาหนะที่ใชในการขนสงสินคา • รถบรรทุก รถพวง รถยนต • รถจักรยานยนต • รถไฟ • เรือ • เทา

5) รูปแบบการชําระราคาสินคาและเงินตราที่ใช • รูปแบบการชําระเงิน

- เงินสด บัตรเคดิต โอนทางธนาคาร เปนตน • เงินตราที่ใชในการซื้อขาย

- เงินบาท - เงินริงกิต (มาเลยเซีย)

4.ปญหาการคาบริเวณดานโก-ลก 1) ประชาชนนั้นยังขาดความเขาใจในการดําเนินกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการคาชายแดน 2) รัฐบาลยังไมคอยใหความสนใจในเรื่องการคาชายแดนในระดับของทองถ่ินมากเทาที่ควร 3) ยังมีการคาในรูปแบบของการหลีกเลี่ยงภาษี 4) ฝงไทยยังคงขาดดุลการคา ในเรื่องเม็ดเงินที่เขาประเทศเพราะชาวไทยนั้นนําเงินออกมากกวา

ชาวตางชาติเขามา 5) ไดรับผลกระทบจากากสถานการณความไมสงบอยากมากเชนกัน

สถานการณความไมสงบในภาคใต สถานการณความไมสงบในภาคใตของประเทศไทย เปนเหตุการณรุนแรงที่เกิดขึ้นใน 3 จังหวัด

ภาคใต ไดแก นราธิวาส ปตตานี และยะลา ซ่ึงเกิดมาจากปญหาความขัดแยงในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยมีเหตุการณลอบทําราย วางเพลิง วางระเบิด กอการราย และจลาจล เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ซ่ึงไดมีการแพรภาพเปนขาวไปทั่วโลก และมีการติดตามเหตุการณจากนานาชาติอยางใกลชิด

Page 11: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

สถานการณความไมสงบในภาคใตกับการคาบริเวณสุไหง-โกลก สถานการณความไมสงบนั้นไดสงผลกระทบอยางมากตอการคาบริเวณชายแดนในทุกๆสวนของ

การคา เชน การเปดปดดาน คือ หากสวนหนึ่งสวนใดของพื้นที่เกิดการระเบิดหรือการกอความไมสงบจะทําการปดดานทันทีนอกจากนี้ยังสงผล ภาพลักษณและความมั่นใจในความปลอดภัยลดลงอยางมาก สินคาและบริการที่อยูบริเวณดานนั้นไดรับผลกระทบมากกวา สินคาที่ทําการขนสง หากมีการปดดานสินคาประเภทขนสงหรือมีตารางนัดหมายที่ชัดเจนจะสงผลกระทบอยางมาก

Page 12: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

สถิติการนําเขาและสงออก 10 อันดับ ประจําปงบประมาณ 2547

ที่มา: ศุลกากร สุไหงโก – ลก

สถิติการนําเขาและสงออก 10 อันดับ ประจําปงบประมาณ 2550

ที่มา: ศุลกากร สุไหงโก – ลก

Page 13: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

มาตราการของรัฐบาลเพื่อเพิ่ม สนับสนุน การคาชายแดน ของไทยและมาเลยเซีย 1) การเพิ่มสิ่งอํานวยความสะดวกแกการคาบริเวณชายแดน 2) การรวมมือระหวาง ไทยและมาเลยเซีย 3) การลดภาษีการคาระหวางกัน 4) การขยาย ฐานการผลิตเพิ่มขึ้น 5) การเรงเจรจาเพื่อเปดดาน 24 ขั่วโมง 6) การขยายพื้นที่ทางการคาใหมากขึ้น 7) การเรงสรางและขยายเสนทางเพื่อเชื่อมโยงการชนสงระหวางประเทศ 8) การลดพิธีทางการศุลกากรใหนอยลง 9) การขยายแหลงเงินทุน เพื่อเพิ่มผูประกอบการคาชายแดน 10) การเจรจาเพื่อใหรถบรรทุกของไทยสามารถที่จะเขาไปในประเทศมาเลยไดโดยไมตองมีการทําการ

ขนยายขึ้นรถปายทะเบียนมาเลย

มาตราการของรัฐบาลตอสถานการณความไมสงบ เพื่อเพิ่ม สนับสนุน การคาชายแดน ของไทยและมาเลยเซีย

1) การเพิ่มมาตราการรักษาความปลอดภัย ทั้งฝงไทยและมาเลยเซีย เชนการตรวจคนเขาออกดานที่เขมงวดขึ้น

2) การรวมมือเพื่อปราบปรามการกอการรายใหลดลง 3) การทําความตกลงรวมกันในเรื่องการตอตานการกอการราย

Page 14: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บทที่ 3 วิธีการศึกษา

วิธีการศึกษา

1. ศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับสถาพโดยทั่วไปของบริเวณดานสุไหงโก-ลก 2. ตั้งคําถามเพื่อทีใชในการนําไปสอบถามกลุมเปาหมาย 3. ลงพื้นที่เพื่อศึกษาและเก็บขอมูล 4. ประมวลและสรุปขอมูล 5. คนความขอมูลเพื่อเติมจากแหลงขอมูลอ่ืนๆ 6. จัดรวบรวมขอมูลเพื่อสรุปและวิเคราะห

Page 15: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา

ผลจากการศึกษาและสํารวจขอมูล

ขอมูลจากการลงพื้นท่ีสอบถามชาวบาน ผูประกอบธุรกิจและยานการคาบริเวณดานสุไหงโก-ลก

1. อาชีพ ขับมอเตอรไซตรับสง (นายดือราเม็ง บินยูโซะ และ สมาชิก ) จากการสอบถามนั้น สถานการณความไมสงบนั้นไดสงผลกระทบตออาชีพรับสงผูคนที่มา

เที่ยวฝงไทยเปนอยางมากคือ ลดลงจากเดิมประมาณรอยละ 50 ดังการใหขอมูลของกลุมขับมอเตอรไซตที่วา “ กอนหนาสถานการณความไมสงบ คือ จะมีคนมาเลยมาซื้อของและทองเที่ยวในฝงไทยมาก แตหลังสถานการณมีชาวมาเลยเซียมานอยลงประมาณรอยละ 50 แตเมื่อสถานการณมีความสงบลงหรือพอเงียบลงจะมีการกลับมาอีกแตก็ไมเทากอนเกิดสถานการณ ”

2. อาชีพ ขับเรือสงคน และสินคา ไปกลับไทย มาเลย บริเวณลําน้ําสุไหงโก-ลก(นาย อิบรอฮิม ยูโซะ และสมาชิก)

จากการสอบถามนั้น สถานการณความไมสงบสงผลกระทบตออาชีพเรือขามฟากบริเวณ แมน้ําสุไหงโก-ลกเชนกัน ซ่ึงลูกคาสวนใหญนั้นจะเปนการขนสงสินคาจากฝงไทยไปมาเลย หรือจากมาเลยไปไทย แตสถานการณความไมสงบนั้นสงผลตอรายไดเปนอยางมาก ลดลงประมาณรอยละ 60 ดังขอมูลของผูใหสัมภาษณดังนี้

“กอนสถานการณมีการจางขนสงสินคาประมาณมากกวา 10 เที่ยวตอวันสงผลใหมีรายไดที่สูง บางวันไดถึง1000 บาทตอวันหลังจากเกิดสถานการณลดลงเหลือประมาณ 3-4เที่ยว สวนมากจะเปนลูกคาประจํา บางวันไดเงินไมถึง 100 บาท และในบางครั้งหากเกิดสถานการณเชนเกิดระเบิดขึ้นในจุดหนึ่งจุดใดของพื้นที่จะมีการปดดานสงผลใหขาดรายไดบางครั้งอาจจะปดสามถึงสี่วันโดยสินคาที่ขนสงสวนใหญเปนอาหาร ขาวสาร ขนมปง นอกจากนี้ ยังมีผลที่เกิดจากการภัยทางธรรมชาติเชน น้ําทวมและในบางครั้งยังมีการมาขูดรีดหรือเรียกสินบนจากเจาหนาที่รัฐทั้งของฝงไทยและมาเลยเซีย”

3. อาชีพ รานอาหาร ฝงมาเลย รันตูปนยัง ( Mr Abeno ) จากการสอบถามนั้น สถานการณความไมสงบสงผลกระทบตออาชีพรานขายอาหารฝงมาเลยเซียดวยเชนกันโดยสงผลตอรายได ถึงแมจะไมไดอยูในฝงประเทศไทยก็ตาม แตลูกคาที่มาใชบริการสวนใหญนั้นก็เปนคนไทยทําใหรายไดลดลงประมาณรอยละ 40 จากการใหขอมูลของเจาของรานดังนี้

Page 16: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

“กอนสถานการณนั้นจะมีคนไทยเขามาซื้อขายและเดินมาทางมาทองเที่ยวเยอะทําใหรานก็เปดเร็วและปดชาเพราะมีลูกคามาก เนื่องจากลูกคาสวนมากจะเปนคนไทยที่เดินทางเพื่อไปซื้อสินคาหรือไปทองเที่ยว หลังเกิดสถานการณ สงผลใหรายไดลดลงอยางมากเพราะคนไทยก็ไมกลาเดินทางเขา คนมาเลยก็ไมคอยเดินทางออก สงผลใหรายไดลดลงประมาณรอยละ 60 และรานก็เปดชาและปดเร็วขึ้น สินคาที่ขายในราน ไดแก อาหารตามสั่ง โรตี น้ําชา และ ขนมพื้นบาน”

4. อาชีพขายเสื้อผา บุรุษและสตรี ช่ือราน Gandar

จากการสอบถามนั้น สถานการณความไมสงบสงผลกระทบตออาชีพรานขานเสื้อผาและเครื่องแตงกาย ฝงมาเลยเซียดวยเชนกันยังสงผลกระทบตอการมูลคาการคาและรายไดในแตละปเชนกัน นอกจากสถานการณความไมสงบแลวยังมีภัยธรรมชาติตางๆอีกที่สงผลตอรายไดในแตละปดวย ดังขอมูล “กอนเกิดสถานกาณ จะมีทั่งชาวบานที่อยูบริเวณดาน ชาวไทยที่มาทองเที่ยว มาซื้อเสื้อผามากมาย

และยังมีลูกคาประจําที่ส่ังซื้อสินคาเปนประจําเพื่อนําไปขายในประเทศไทย ตอเดือนมีรายไดประมาณ 50000 บาทหลังเกิดสถานการณ คนที่มาซื้อสวนใหญจะเปนลูกคาประจํา และลูกคาที่อยูบริเวณดาน แต ลูกคาประเภทนักทองเที่ยวจะหายากมาก และลูกคาเดิมๆก็หายไปเยอะ และในบางครั้งหากมีน้ําทวมหนักๆ ทําใหสูญเสียรายไดไปเยอะมากเพราะสินคาจะเปยก น้ํา ทําใหรายไดของรานตกลงอยางมาก รายไดลดลงประมาณรอยละ70 สินคาสวนมากจะรับมาจากอินโดนีเซีย สิงคโปร และเปนสินคาในมาเลยเอง”

Page 17: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

ตารางเปรียบเทียบมูลคาการคาระหวางไทย และ มาเลยเซีย ป 2546 – 2549

ที่มา:ศูนยขอมลูการคาชายแดน กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพานชิย

จากตารางแสดงใหเห็นวามลูคาการคาระหวางไทยแลมาเลยเซียนั้นมีแนวโนมที่ลดลงเรื่อยๆ เร่ิมจากป พ.ศ.2548 ซ่ึงเปนชวงของการเริ่มสถานการณความรุนแรงในจังหวดัชายแดนภาคใต

Page 18: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา

สรุปผลการศึกษา

สถานการณความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใตนั้นสงกระทบตอการคาการลงทุนบริเวณดานชายแดนสุไหงโก-ลกอยางมากในทุกๆดานดังจะสังเกตุไดจากขอมูลที่ทําการสํารวจและขอมูลที่เปนสถิติทางการคา โดยจะสังเกตุเห็นวา จะลดลงประมาณรอย 50 – 70 เมื่อเปรียบเทียบกอนการเกิดเหตุการณความไมสงบหรือป พ.ศ.2547 ในกรณี กรือแซะและตากไบ สงผลใหเกิดความเดือดรอยทั้งในระดับรัฐ ระดับธุรกิจ หรือ ระดับของประชาชนดวยเชนกัน ถึงแมวาจะมีมาตราการตางๆของรัฐบาลออกมาเพื่อลดปญหาหรือผลกระทบตรงนี้ นอกจากเหตุการณความไมสงบแลวยังมีอุปสรรหรือปญหาอื่นๆอีกที่สงผลกระกบตอการคาชายแดนบริเวณดานสุไหงโก-ลกเชน กรณีภัยน้ําทวมที่แมน้ําสุไหงโก-ลก หรือ การปรับคาเงิน บาท หรือ คา เงินริงกิต หรือ แมกระทั้ง สถานการณวิกฤติแฮมเบอรเกอร เปนตน

ประโยชนท่ีไดรับ

1) ไดรับทราบถึงผลกระทบของผูประกอบการสินคาระหวางชายแดนเนื่องจากสถานการณ 2) ไดทราบถึงการลดของปริมาณสินคาระหวางชายแดนเนื่องจากสถานการณ 3) สามารถนําขอมูลที่ไดนั้นไปใชในการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของไดอีก 4) นําขอมูลที่ไดรับไปเสนอเพื่อใหผุอ่ืนไดทราบถึงปญหาที่เกิดจากสถานการณความไมสงบใน

จังหวัดชายแดนภาคใตของไทย

Page 19: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

ภาคผนวก

Page 20: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข
Page 21: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข
Page 22: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข
Page 23: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข
Page 24: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข
Page 25: โครงงาน - intra.polsci.pn.psu.ac.thintra.polsci.pn.psu.ac.th/add_doccument/doccufile/04-01-2013_12-05-17.pdf · บทที่๒ เอกสารที่เกี่ยวข

บรร ณานุกรม

สํานักงานศุลกากรภาคที่ 4 กรมศุลกากร. รายงานผลการปฏิบัติงานดานศุลกากรสุไหงโก-ลก: ดานศุลกากรสุไหงโก-ลก

ศูนยขอมูลการคาชายแดน กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพานิชย. สถิติการคาไทย-มาเลยเซีย. (ออนไลน ) . สืบคนจาก : http://www.dft.moc.go.th/document/foreign_trade_policy /service/horizon/Malaysia/malaysia_8.htm [15 มกราคม 2553]

ด า น ศุ ล ก า ก ร สุ ไ ห ง โ ก -ล ก . ด า น ศุ ล ก า ก ร สุ ไ ห ง โ ก -ล ก . ( อ อ น ไ ล น ) . สื บ ค น จ า ก : http://www.sungaikolokcustoms.com/ [15 มกราคม 2553]

ศู น ย เ ฝ า ร ะ วั ง ส ถ า น ก า ร ณ ภ า ค ใ ต . ส ถ า น ก า ร ณ ภ า ค ใ ต . ( อ อ น ไ ล น ) . สื บ ค น จ า ก : http://www.deepsouthwatch.org/ 15 มกราคม 2553]

ฐานขอมูลวิจั ยจั งหวัดชายแดนใต . การค าชายแดนไทย – มาเลเซีย . (ออนไลน ) สืบคนจาก : http://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=148 [15 มกราคม 2553]