คํานํา · 2017. 4. 11. · 2...

349

Upload: others

Post on 30-Sep-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • คํานาํ

    ตามท่ีสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีนโยบายในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการ

    ปฏบัิติงานอธิการบด ีในชวงของการทําหนาท่ีบริหารมหาวทิยาลัยของอธิการบดีและทีมบริหาร ต้ังแตวันท่ี 1 มิถุนายน

    2558 ถึงวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2559 ตอคณะกรรมการประเมินอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งมี

    ศาสตราจารยวิจารณ พาณิช ประธานกรรมการประเมิน ในการรายงานการประเมินตนเองมีสาระสําคัญประกอบ

    ดวย สวนท่ี 1 ยุทธศาสตรการพัฒนามหาวทิยาลัยสงขลานครินทร 2559-2560 ท่ีไดนําเสนอตอคณะกรรมการสรรหา

    เมื่อกุมภาพันธ 2558 ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สวนท่ี 2 รายงานผลการปฏิบัติงานตามกรอบหลักของการ

    ประเมนิ ซึ่งเปนรายงานผลการปฏบัิติงานตามประกาศหลักเกณฑวาดวยการประเมนิผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี

    ครอบคลุมใน 11 ประเด็นหลักตามกรอบท่ีสภามหาวิทยาลัยกําหนด และสวนท่ี 3 รายงานขอมูลการปฏิบัติงานเพิ่ม

    เตมิตามท่ีคณะกรรมการประเมนิท่ีใชประกอบการประเมนิ

    รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดี (รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์

    ลิ่มสกุล) เพื่อประกอบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดีในชวงระยะเวลา 18 เดือน

    (ม.ิย.58- พ.ย. 59) ครอบคลุมการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2558-2561

    กรอบการประเมนิหลักท่ีสภามหาวิทยาลัยกําหนด ผลการดําเนินงานดานการเงินมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.

    2559 ผลการประเมินตนเองตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อดําเนินการท่ีเปนเลิศ (EdPEx) มหาวิทยาลัยสงขลา

    นครินทร ประจําปการศึกษา 2558 และผลการดําเนินงานการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ซึ่งรายงานการประเมิน

    ตนเองน้ี ไดดําเนินการสรุปรวบรวมตามท่ีกลาวมาขางตนก็ดวยหวังวาจะขอมูลสารสนเทศท่ีเปนประโยชนตอ

    มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และคณะกรรมการประเมินอธิการบดี ตลอดจนผูเกี่ยวของ ผูสนับสนุน บุคลากรของ

    มหาวทิยาลัย และประชาชน ท่ัวไป ท่ีจะไดสรางความเขาใจรวมกันในผลงานของมหาวิทยาลัย ท่ีเปนผลการดําเนินงาน

    ของบุคคลากรในมหาวิทยาลัย ทุกวิทยาเขต และทุกคณะ/หนวยงาน โดยอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัย

    กําหนดนโยบาย วสัิยทัศน และพันธกิจ และแนวทางการดําเนินงานมายังผูปฏิบัติงานในสวนกลาง ดําเนินการกํากับ ดูแล

    สงเสริม สนับสนุน และเรงรัดการดําเนินงานตาง ๆ ใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และแนวทางท่ีกําหนด เพื่อมุงสู

    การเปนมหาวทิยาลัยช้ันนําของอาเซยีน จากผลงานคุณภาพระดับนานาชาติ สูสังคมแหงปญญาและเปนมหาวิทยาลัย

    เพื่อนวัตกรรมและสังคมตามเปาหมายของแผนยุทธศาสตร อันเปนเปาหมายเดยีวกันท่ัวท้ังองคกร

    ตลอดเวลาของการปฏิบัติงานท่ีผานมา ทีมบริหารไดรับความรวมมือ สงเสริม สนับสนุน และเสนอแนะ

    จากกรรมการสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ผูทรงคุณวุฒิ ผูบริหารระดับคณะ/หนวยงานทุกระดับ ผูรวมงานใน

    มหาวทิยาลัย นักศึกษา และศิษยเกา ตลอดจนหนวยงานภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เปนอยางดีย่ิง จึงขอขอบ

    พระคุณทุกทานเปนอยางสูงไว ณ โอกาสน้ี และหวังเปนอยางย่ิงวาจะไดรับความรวมมือรวมใจในการสืบสานภารกิจ

    ใหลุลวงสอดคลองกับความตองการของสังคมและประเทศตอไป

    รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ ลิม่สกุล

    อธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

    ธันวาคม 2559

  • สารบัญ

    หนา

    คํานาํ

    สารบัญ

    บทสรุปสาํหรับผูบรหิาร I-VIII

    ผูบรหิารมหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร IX-XV

    สวนที่ 1 ยุทธศาสตรการพัฒนามหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร 2559-2560

    ยุทธศาสตรที่ 1 ผลติบัณฑติคณุภาพสูงระดับสากล และสรางทรัพยากรมนุษยท่ีตรงกับบริบทของสังคม 1

    ยุทธศาสตรที่ 2 มหาวทิยาลัยวจิัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม (University Engagement) 1

    ยุทธศาสตรที่ 3 กาวสูความเปนนานาชาติ 3

    ยุทธศาสตรที่ 4 ระบบบริหารจัดการมหาวทิยาลัยท่ีทรงประสทิธิภาพ 3

    ยุทธศาสตรที่ 5 ระบบบริหารการเงนิและทรัพยากรบุคคลเพื่อเพิ่มคุณคา 6

    สวนที่ 2 รายงานผลการปฏบิติังานตามกรอบหลักของการประเมิน 11 ประเด็น

    (ระหวาง 1 ม.ิย. 2558- 30 พ.ย. 2559)

    ประเด็นที่ 1 การมบีทบาทในการช้ีนําสังคม 7

    การเปนมหาวทิยาลัยฐานความรู 7

    การนําผลงานวจิัยไปใชประโยชน 7

    การใชประโยชนผลงานวจิัยในเชิงพาณชิย 7

    การใชประโยชนผลงานวจิัยเชิงนโยบาย 8

    การใชประโยชนผลงานวจิัยในการจัดเรียนการสอน 8

    การถายทอดผลงานวจิัยสูชุมชน/สังคม 9

    บทบาทดานยางพารา 9

    บทบาทของมหาวทิยาลัยกับการเปน Rubber City 9

    โครงการพัฒนาและสรางมาตรฐานของผลติภัณฑยางพาราไทย 10

    การเสนอแผนพัฒนายางพาราของประเทศไทย ระยะ 5 ป 11

    ผลงาน/ผลติภัณฑยางพาราของมหาวทิยาลัย 11

    บทบาทการพัฒนาพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต 12

    โครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพเิศษเฉพาะกจิจังหวัดชายแดนภาคใต 12

    สถานวจิัยความขดัแยงและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต 12

    ยุทธศาสตรของคณะศึกษาศาสตรในการแกปญหาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย 13

    การเรียนการสอนออนไลน Myschool@PSU 15

    บทบาทการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และสิ่งแวดลอม 16

  • การรายงานสภาวการณปญหาหมอกควัน 16

    การเตรียมหนวยงานภายในพรอมรับมอืนํ้าทวม 16

    การวจิัยดานพลังงาน 16

    บทบาทดานอาหาร ผลติภัณฑและอุตสาหกรรมอาหาร 17

    การสรางเครือขายความรวมมอืระหวางสถาบันฮาลาล 18

    การแสดงสนิคาและการประชุมสัมมนานานาชาติดานฮาลาล 2558 18

    การประชุมยุทธศาสตรวางแผนนโยบายรวมกับกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร 18

    ตราฮาลาลไทยสูสากล 18

    บทบาทดานวัฒนธรรมและการจัดการดานการทองเท่ียว 19

    การวจิัยเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม 19

    รางวัลทางดานศิลปวัฒนธรรม 20

    กจิกรรมท่ีสําคัญ 20

    ประเด็นที่ 2 ประสบความสําเร็จมากนอยเพยีงใดในการสรางความเปนเอกภาพ (unity) และศักดิ์ศรี (integrity)

    องคกรมสีมรรถนะสูงภายใตระบบ PSU System 22

    การจัดทํา Flagship ของวทิยาเขต และจุดเนนของวทิยาเขต 22

    วทิยาเขตหาดใหญ 22

    วทิยาเขตปตตานี 22

    วทิยาเขตภูเก็ต 23

    วทิยาเขตสุราษฎรธานี 23

    วทิยาเขตตรัง 23

    นโยบายและระบบบริหารกายภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติและทุนธรรมชาติท่ีย่ังยนื 24

    พัฒนาทุนทางสิ่งแวดลอมเพื่อสังคมท่ีนาอยู 24

    การเปนแบบอยางการพัฒนาท่ีย่ังยนื 24

    การสรางบัณฑติคุณภาพสูง 24

    ประเด็นที่ 3 การมสีวนรวมในการเปลี่ยนแปลงหรือสรางพลังสะสม (momentum for change) ในการเจริญ

    เติบโตอยางรวดเร็วขององคกร

    การขับเคลื่อนคุณภาพใหเปนวัฒนธรรมองคกร 24

    การดําเนินงานดานประกันคุณภาพ 24

    ผลงานดานประกันคุณภาพ 26

    การสรางเครือขาย 27

    ความรวมมอืกับมูลนิธิปดทองหลังพระ 27

    ความรวมมอืกับมูลนิธิรากแกว 28

    โครงการ Phuket Smart City 28

    เครือขายมหาวทิยาลัยอาเซยีน 30

    ประเด็นที่ 4 การนําขอแนะนําหรือนโยบายจากสภามหาวทิยาลัยสูการปฏบัิติไดอยางมปีระสทิธิภาพ

    ระบบตรวจสอบภายใน 31

  • ระบบควบคุมภายใน 31

    ระบบการประเมนิและบริหารความเสี่ยง 31

    ดานการวจิัย 32

    ระบบการตรวจสอบการบริหารจัดการ การดําเนินงานดานการวจิัย 32

    กองทุนและประเด็นวจิัย 32

    แผนยุทธศาสตรมหาวทิยาลัย 32

    บริหารทรัพยสนิและท่ีดนิ 33

    คุณภาพการศึกษา 33

    บริหารจัดการ 33

    การเรียนการสอน / หลักสูตร 33

    พัฒนานักศึกษา 33

    ประเด็นที่ 5 มกีารจัดทําแผนพัฒนามหาวทิยาลัยระยะสัน้ (ระยะเทอมบริหาร) ระยะยาว (แผน 5-10 ป)

    เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดทิศทางของมหาวทิยาลัยหรือไม แผนมคีวามเหมาะสม สามารถนําไปสู

    การปฏบัิติจริงไดหรือไม และการเสนอแผนตอสภามหาวทิยาลัยหรือไม

    ทิศทางการจัดทําแผนระยะสัน้และระยะยาวของมหาวทิยาลัย 34

    การจัดทําแผนพัฒนามหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระยะ 15 ป (พ.ศ. 2560 – 2574) 34

    แผนยุทธศาสตรมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2558-2561 36

    ประเด็นที่ 6 การบริหารงานท่ีผานมาเปนไปตามวัตถุประสงคขององคการมากนอยเพยีงใดสอดคลองกับแนว

    ความคดิเห็นท่ีเสนอตอกรรมการสรรหาอธิการบดใีนระหวางการสัมภาษณและเสนอเอกสารหรือไม และใหลําดับ

    ความสําคัญของงานไดอยางถูกตองหรือไม

    องคกรมสีมรรถนะสูงภายใตระบบ PSU System 37

    ระบบฐานขอมูลเดยีว 37

    การดําเนินการโครงการมหาวทิยาลัยสเีขยีว (Green University) 37

    การดําเนินการบูรณาการการเรียนการสอนและการวจิัยดานพลังงาน 38

    การบูรณาการดานการวจิัยดานยางพารา 38

    การบูรณาการการเรียนการสอนดานการทองเท่ียว 39

    การจัดระบบการศึกษาท่ัวไป 39

    การประเมนิตามระบบประกันคุณภาพ 40

    การวางแนวทางการพัฒนากจิกรรมนักศึกษาในรูปแบบช้ันป 40

    การจัดกจิกรรมนักศึกษารวมกัน 40

    การจัดกจิกรรมทอดกฐนิรวมกันท้ัง 5 วทิยาเขต 41

    การเปดโอกาสใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนขามวทิยาเขต/ขามมหาวทิยาลัย 41

    การทํางานบริการวชิาการและการวจิัยรวมกันระหวางวิทยาเขต 41

    การดําเนนิการบรรลุตามวัตถุประสงคและสอดคลองกับแนวคดิท่ีเสนอตอกรรมการสรรหา 42

    การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning 42

    Education Hub 42

  • การพัฒนาผูบริหารระดับสูง 42

    การจัดทําระบบการบริหารบุคคลอยางมปีระสทิธิภาพ 43

    การเขาสูการเปนมหาวทิยาลัยในกํากับของรัฐ 43

    การสรางเครือขาย 43

    University Engagement 44

    ระบบฐานขอมูล 44

    หลักสูตรรวมกับตางประเทศ 45

    การสงเสริมอาจารยเขาสูตําแหนงศาสตราจารย 45

    การจัดทําระบบประกันคุณภาพ EdPEx 45

    ประเด็นที่ 7 มวีธีิการหรือกลไกในการติดตามความคบืหนาของงานอยางมปีระสทิธิภาพหรือไม

    การแตงต้ังคณะกรรมการและคณะทํางาน 46

    ดานงบประมาณและการเงนิ 46

    ดานการประกันคุณภาพ 46

    ดานการบริหารงานบุคคล 46

    ดานการวจิัย 47

    ดานการจัดการเรียนการสอน/กจิการนักศึกษา 47

    ดานการบริหารจัดการ 48

    การปรับปรุงระเบียบ ขอบังคับ ของมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร 48

    กลุมพนักงานมหาวทิยาลัย 48

    การมอบหมายอํานาจใหผูบริหารมหาวทิยาลัย 49

    แกไขพระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับ 49

    ประเด็นที่ 8 มสีวนรวมในการสนับสนุนการทํางานของคณบด ีผูอํานวยการวทิยาลัย ศูนย สถาบันและสํานัก

    มากนอยเพยีงใด และมสีวนสนับสนุนใหหนวยวชิาการ คอื ภาควชิาไดเขมแข็งอยางไรและดําเนินการอยางไร

    ใหไดมาซึ่งผูบริหารทุกระดับอยางมคีุณภาพ

    การมอบอํานาจและการกระจายอํานาจ 50

    การประชุมทีมบริหารมหาวทิยาลัย 52

    การใชท่ีประชุมและองคประชุม 53

    ท่ีประชุมคณบดี 53

    ท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารงานบุคคลมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร (คบม.) 55

    ท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวทิยาลัย (ก.บ.ม.) 56

    ท่ีประชุมสภาวทิยาเขต 57

    การเปดโอกาสใหมกีารสื่อสารในกลุมผูบริหาร 58

    ระบบการสรรหาเปนท่ียอมรับ 58

    ประเด็นที่ 9 มกีารบริหารจัดการดวยความประหยัด มปีระสทิธิภาพ มกีารจัดสรรทรัพยากรท่ีสอดคลองกับ

    แผนงานมากนอยเพยีงใด

  • ระบบบริหารการเงนิและสนิทรัพย 59

    การกํากับดูแลเกี่ยวกับงานดานการคลังและบริหารทรัพยสนิของมหาวทิยาลัย 59

    แนวทางการจัดการการเงนิและสนิทรัพย 60

    สถานะทางการเงนิของมหาวทิยาลัย 60

    รายไดของมหาวทิยาลัย 60

    การใชท่ีดนิและเอกสารสทิธ์ิของมหาวทิยาลัย 60

    การพัฒนาและสะสมทรัพยากรบุคคลใหมคีุณภาพสูง 61

    ทิศทางการบริหารงานบุคคล 61

    การพัฒนาผูนํานักบริหารเพื่ออนาคต 62

    การสงเสริมการเขาสูตําแหนงศาสตราจารย 62

    การเสริมสรางองคกรสุขภาวะ 63

    ระบบสวัสดิการและประโยชนเกื้อกูล 64

    การพัฒนาระบบสารสนเทศ 65

    การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการรายงานระบบการเงนิ 65

    ระบบสารสนเทศวิทยาเขตตรัง 65

    ระบบสารสนเทศวิทยาเขตปตตานี 65

    ประเด็นที่ 10 อธิการบด ี(และรองอธิการบดี) ไดสื่อสารหรือสรางความเขาใจกับคนในองคกรไดอยางท่ัวถงึ

    โดยเฉพาะในประเด็นท่ีเปนความสนใจของประชาคม

    การใชสื่อตาง ๆ สูประชาคมมหาวทิยาลัย 67

    การสื่อสารของอธิการบดีและผูบริหารสูสูประชาคมมหาวทิยาลัย 67

    การใชเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร 67

    การเผยแพรผลงานของมหาวทิยาลัยผานสื่อตาง ๆ 68

    สื่อเอกสารและสื่อออนไลน 68

    การใหความรวมมอืกับสื่อทุกประเภท 68

    สถานีวทิยุกระจายเสยีงของมหาวทิยาลัย 68

    การนําสารคดโีทรทัศนเผยแพรผาน You Tube 68

    การใชสื่อนิทรรศการเพื่อการประชาสัมพันธ 68

    องคกรสัมพันธและเครือขายภายนอก 69

    องคกรสัมพันธ 69

    เครือขายชุมชนและศิษยเกา 69

    ประเด็นที่ 11 มกีารพัฒนาคุณภาพบัณฑติและคุณภาพงานวจิัย ท่ีตอบสนองตอการพัฒนาประเทศและเทียบ

    กับมาตรฐานนานาชาติ

    การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต 70

    การจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีสงผลตอคุณภาพบัณฑติ 70

    การเรียนการสอนแบบ Active Learning 71

    การบริหารหมวดวชิาศึกษาท่ัวไป 71

  • การบริหารจัดการหลักสูตร/รายวชิาท่ีซ้ําซอน 71

    การกําหนดอัตลักษณของนักศึกษา 72

    การพัฒนาทักษะภาษา 72

    การพัฒนาอาจารยดานการเรียนการสอน 72

    ความรวมมอืดานการเรียนการสอนการหนวยงานรัฐ/เอกชน 74

    การบมเพาะนักศึกษา 75

    บทบาทการสรางคนใหเปนคนดขีองสังคม 75

    ระบบดูแลนักศึกษาใหมคีวามพรอมในการเรียนตามหลักสูตร 75

    กจิกรรมพัฒนานักศึกษา 75

    การมงีานทําและความพงึพอใจนายจาง 76

    ภาวะการมงีานทําของบัณฑติ 77

    ความพงึพอใจนายจาง 78

    การสอบผานใบประกอบวชิาการชีพ 79

    การจัดงาน/จัดประชุมวชิาการระดับชาติและนานาชาติ 80

    ผลงานเดนของนักศึกษาระดับชาติและนานาชาติ 80

    การพัฒนาคุณภาพงานวจิัย 83

    ยุทธศาสตรวจิัยของมหาวทิยาลัย ป 2560 84

    การพัฒนาระบบและกลไกสรางความเขมแข็งดานการวจิัย 84

    การพัฒนานักวจิัยใหม 86

    การสนับสนุนการนําเสนอผลงาน/ตีพมิพ 86

    การสนับสนุนใหมกีารรวมกลุมความเปนเลศิ 86

    หนวยงานภายในเพื่อการพัฒนาการวจิัย 87

    อุทยานวทิยาศาสตรภาคใต 88

    ศูนยบมเพาะวสิาหกจิ 88

    ศูนยทรัพยสนิทางปญญา 89

    สํานักงานความรวมมอือุตสาหกรรม 89

    ศูนยบริการออกแบบและพัฒนาผลติภัณฑ 90

    ความรวมมอืเพื่อการพัฒนาวจิัยกับองคกรตาง ๆ 90

    การจัดทําแผนทรัพยากรมนุษยจังหวัดสงขลา 90

    การผลตินํ้าดื่มโดยใชเทคโนโลยีเมมเบรน 90

    เครือขายพันธมติรมหาวทิยาลัยเพื่อการวจิัย 90

    การเขารวมของมหาวทิยาลัยเครือขายวจิัยระดับชาติ/นานาชาติ 91

    งานวจิัยท่ีตอยอดสูนวัตกรรมการพัฒนาเชิงพาณชิยและตอบสนองตอการพัฒนาประเทศ 91

    ผลงาน/บุคลากร ท่ีไดรับการยกยองในระดับชาติ/นานาชาติ 93

    สถาบันทางวชิาการ/สาขาท่ีมคีวามเปนเลศิ ในระดับประเทศ/ระดับนานาชาติ 93

    หนวยระบาดวทิยา คณะแพทยศาสตร 96

    ศูนย Phuket Smart City Innovation Park 96

  • งานการบริการวชิาการและการนํางานวจิัยไปใชประโยชน 96

    การดําเนินงานพัฒนาสูการเปน Education Hub ในภูมภิาค 100

    โครงการศูนยกลางการศึกษาสําหรับภูมภิาคอาเซยีน 100

    โครงการคายภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษา (English Camp) 100

    โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแกบุคลากร 101

    โครงการพระราชทานความชวยเหลอืแกราชอาณาจักรกัมพูชาดานการศึกษา 101

    โครงการพัฒนานักศึกษาดานภาวะความเปนผูนํา 102

    โครงการ PSU Thai Cultural Program 102

    โครงการ Summer School 102

    โครงการ Young Ambassador 103

    โครงการพัฒนานักศึกษารวมกบัองคกร/สถาบันการศึกษาท้ังภายในและตางประเทศ 103

    การสรางเครือขายความรวมมอื (Networking) 104

    การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานท่ีรองรับความเปนนานาชาติ 105

    สวนท่ี 3 รายงานขอมูลการปฏบิัตงิานเพิ่มเตมิท่ีใชสําหรับการประเมนิ

    (ระหวาง 1 ม.ิย. 2558- 30 พ.ย. 2559)

    สวนท่ี 3.1 แผนยุทธศาสตรมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2558-2561 106

    สวนท่ี 3.2 รายงานดัชนีช้ีวัด (KPI) ความสําเร็จตามแผนยุทธศาสตรมหาวทิยาลัย พ.ศ.2558 – 2561 119

    สวนท่ี 3.3 รายงานการดําเนินงานการเปนมหาวทิยาลัยในกํากับของรัฐ 168

    สวนท่ี 3.4 รายงานผลดานการเงนิมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2559 180

    สวนท่ี 3.5 รายงานผลการประเมนิตนเองตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อดําเนินการเปนเลศิ (EdPEx) 232

    มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษา 2558

  • P a g e | -I-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    บทสรุปสําหรับผูบรหิาร

    รายงานผลการปฏิบัติงานของอธิการบดีและทีมบริหาร ไดดําเนินมาอยางตอเนื่อง ตามมติสภา

    มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในคราวประชุมคร้ังท่ี 249 (8/2544) เมื่อวันท่ี 27 ตุลาคม 2544 โดยคาดหวังวา

    อธิการบดีและทีมบริหาร จะไดนําคําแนะนําและขอคิดท่ีสะทอนจากคณะกรรมการประเมินมาพิจารณาเพื่อหา

    กลยุทธหรือแนวทางปฏิบัติในการแกไขจุดออน และเสริมสรางจุดแข็ง และเปนขอมูลในการปรับปรุงแนวทาง

    บริหารของอธิการบดีและทีมบริหารในชวงตอไป สําหรับการเขาสูตําแหนงการบริหารงานมหาวิทยาลัยของ

    อธิการบดแีละทีมบริหาร เมื่อ 1 มถิุนายน 2558 นับเนื่องถงึ 30 พฤศจกิายน 2559 ถอืเปนการปฏบัิติงานในชวง

    18 เดือนแรกของวาระการดํารงตําแหนง อธิการบดีและทีมบริหาร จึงไดจัดทํารายงานการปฏิบัติงานอธิการบดี

    และทีมบริหาร โดยใชแนวคิดตามยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2558-2561 ท่ีไดพัฒนา

    จากเอกสารแนวความคิดในการพัฒนามหาวิทยาลัยในการนําเสนอตอคณะกรรมการสรรหา และไดนําเสนอตอ

    สภามหาวิทยาลัย เพื่อเปนเคร่ืองมือในการบริหารและเปนกรอบแนวทางการบริหาร การจัดการเชิงกลยุทธท่ี

    เปนการบูรณาการรวมระหวางการวางแผน การจัดสรรทรัพยากร และการประเมินผล ในสวนของรายงานผล

    การปฏบัิติงานฉบับน้ี มสีาระสําคัญ ดังน้ี

    ยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2559-2560 กับกรอบหลักของการประเมิน 11

    ประเด็น

    ยุทธศาสตรที่ 1 ผลิตบัณฑิตคุณภาพสูงระดับสากล ซึ่งสอดคลองกับกรอบการประเมินใน

    ประเด็นที่ 11 กําหนดใหมีการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตและคุณภาพงานวิจัยท่ีตอบสนองตอการพัฒนาประเทศและ

    เทียบไดกับมาตรฐานนานาชาติ โดยมหาวิทยาลัยพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต ดวยการพัฒนาระบบการเรียนการ

    สอน สรางนักศึกษาใหเปน “บัณฑติท่ีมคีุณภาพ” มากกวาเปน “ผูสําเร็จการศึกษา” คํานึงถงึการเขาถงึศิลปศาสตร

    ทักษะชีวติ จริยธรรม และสมรรถนะสากล โดยการจัดโครงการกจิกรรมท่ีสนับสนุนและเสริมการเรียนรูวิชาชีพจาก

    การปฏบัิติงานจริงของนักศึกษาและคณาจารย การพัฒนาการเรียนการสอนใหสอดคลองกับแนวทางการศึกษา

    ในศตวรรษที่ 21 การเรยีนการสอนแบบ Active Learning การบริหารหมวดวชิาศึกษาท่ัวไป การบริหารจัดการ

    หลักสูตร/รายวิชาท่ีซ้ําซอน การกําหนดอัตลักษณและทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา การพัฒนาทักษะภาษา

    การพัฒนาอาจารยดานการเรียนการสอน ความรวมมือดานการเรียนการสอนการหนวยงานรัฐ/เอกชน การบม

    เพาะนักศึกษา พัฒนาสรางคนใหเปนคนดีของสังคม ดูแลนักศึกษาใหมีความพรอมในการเรียนตามหลักสูตร

    รวมท้ังมีกจิกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ อันจะ

    สงผลตอการมงีานทําและความพงึพอใจนายจาง

    ยุทธศาสตรที่ 2 มหาวิทยาลัยวิจัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม (University Engagement) ซึ่งสอด

    คลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 1 การมีบทบาทในการช้ีนําสังคม ดวยการมีบทบาทการเปนมหาวิทยาลัย

    ฐานความรู เนนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนดวยการถายทอดผลงานวิจัยสูชุมชนและสังคม การเพิ่มมูลคา

  • P a g e | -II-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    สรางรายได รวมถงึเพิ่มคุณภาพชีวติของคนในชุมชนและสังคม เนนการใชประโยชนผลงานวิจัยในเชิงพาณิชย ดวย

    การสรางกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนการนําผลงานวิจัยไปสูเชิงพาณิชยเปนระบบอยางครบวงจรซึ่งดําเนินการ

    โดยอุทยานวิทยาศาสตร อีกท้ังใหสามารถนําผลงานไปใชในหนวยงานของรัฐและองคกรปกครอง สวนทองถิ่นท้ัง

    ระดับภูมภิาค ระดับประเทศ และยังมกีารใชประโยชนผลงานวจิัยในการจัดการเรียนการสอน เพื่อถายทอดใหกับ

    นักศึกษามีความรูเพิ่มเติมจากตําราเรียน โครงการท่ีสําคัญ เชน โครงการ 1 คณะ 1 ชุมชน โครงการตรังศึกษาราไวย

    โมเดล เคร่ืองกรองนํ้าดื่มโดยใชเซรามกิเมมเบรน เคร่ืองมือวัดระดับของเหลวดวยหลักการวัดคาความจุไฟฟาผลิต

    จากแผนวงจรพิมพ เปนตน นอกจากน้ีมหาวิทยาลัยยังเนนบทบาทท่ีสําคัญเฉพาะดาน ไดแก บทบาททางดาน

    ยางพารา โดยการมีสวนรวมในโครงการ Rubber City ของรัฐบาล การพัฒนาและสรางมาตรฐานผลิตภัณฑ

    ยางพาราไทย การเสนอแผนพัฒนายางพาราของประเทศไทย ระยะ 5 ป ระหวางป 2558–2562 ตอรัฐบาล การทํา

    ขอตกลงความรวมมอืการสงเสริมและพัฒนานวัตกรรมยางพาราในนิคมอุตสาหกรรมภาคใต เปนตน บทบาทการ

    พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ดวยการสรางตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาทองถิ่น ประสานความ

    เขาใจ ความรวมมอืรวมใจในการพัฒนาประเทศชาติและสังคมรวมกัน เพื่อสรางความปลอดภัย และการแกปญหา

    แบบสันติวิธี เชน การดําเนินโครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

    ยุทธศาสตรของคณะศึกษาศาสตรในการแกปญหาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย โครงการ “การเรียนการ

    สอนออนไลน Myschool@PSU” โครงการพัฒนาโรงเรียนขยายโอกาส เปนตน บทบาทการอนุรักษทรัพยากร

    ธรรมชาติ พลังงาน และสิ่งแวดลอม โดยเขาไปมีสวนรวมรับมือกับภัยพิบัติ การวางแผนและหาแนวทางการ

    ปองกันปญหาท่ีจะเกิดในอนาคต เชน ปญหาหมอกควัน อุทกภัย เพียบพรอมดวยฐานการวิจัยดานพลังงานท่ี

    เขมแข็ง โดยสถานวิจัยระบบพลังงานท่ีรวบรวมเครือขายการวิจัยดานพลังงานท้ังภายในและตางประเทศ

    บทบาทดานอาหาร ผลิตภัณฑและอุตสาหกรรมอาหาร โดยเฉพาะผลิตภัณฑอาหารฮาลาลท่ีมีกลุมผูบริโภค

    กลุมใหญท่ีสุด เนนการสรางเครือขายความรวมมอืกับกรรมการอิสลามประจําจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต การสราง

    ตราฮาลาลไทยสูสากล จัดงานแสดงสนิคาและการประชุมสัมมนานานาชาติดานฮาลาล 2558 เปนตน ทบาทดาน

    วัฒนธรรมและการจัดการดานการทองเที่ยว มหาวทิยาลัยใหความสําคัญกับการอนุรักษ พัฒนา ถายทอด และ

    เผยแพรศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่นภาคใตและของชาติ รวมถึงการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ดังจะเห็นไดจากการจัด

    โครงการ/กิจกรรมท่ีสําคัญ เกี่ยวกับดนตรีไทย โนรา นาฏศิลป-โขน สําหรับโขนสงขลานครินทร มหาวิทยาลัย

    พจิารณาใหเปนผลงานดเีดนมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2558 สาขาทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และศูนย

    สงเสริมศิลปะและวัฒนธรรมไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติ “วัฒนคุณาธร” จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม

    เมื่อวันท่ี 3 ตุลาคม 2559 สอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 11 มีการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตและ

    คุณภาพงานวจิัย มหาวทิยาลัยพัฒนาคุณภาพงานวิจัย โดยเนนผลงานดานการวิจัยเพื่อมุงสู “มหาวิทยาลัยวิจัย

    เพื่อนวัตกรรม” โดยในการทําวิจัยทุกคร้ังจะคํานึงถึงนวัตกรรมใหม ๆ ท่ีสามารถนําไปใชประโยชนได มีระบบ

    บริหารงานวจิัย (PRPM) เปนระบบบริหารงานวจิัยแบบ online นํามาใชในการบริหารจัดการโครงการวจิัยท่ีไดรับทุน

    สนับสนุนจากแหลงงบประมาณตาง ๆ มรีะบบสบืคนโครงการวิจัย โดยท่ีขอมูลในระบบจะเช่ือมโยงกับระบบ PRPM

    ของมหาวิทยาลัย มีระบบคลังปญญา ม.อ. เปนแหลงรวบรวมองคความรูตาง ๆ ท่ีพัฒนาขึ้นในมหาวิทยาลัยและ

    จัดเก็บในรูปของอิเล็กทรอนิกส มรีะบบการจัดการทรัพยากรมนุษย (HRMIS) ในการสนับสนุนการตีพิมพบทความ

    วิจัย การเสนอขอรับการสนับสนุนเงินรางวัล มีการสนับสนุนดานการจัดหาแหลงทุนวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัย

    จากงบประมาณของสถาบันใหกับบุคลากร สงเสริมพัฒนาสมรรถนะแกอาจารยและนักวิจัย การสนับสนุน

  • P a g e | -III-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    ทรัพยากรท่ีจําเปน เชน ศูนยเคร่ืองมอืวทิยาศาสตร หนวยวิจัย หองปฏิบัติการ หองสมุด เปนตน รวมถึงทรัพยากร

    บุคคล ทรัพยากรการเงิน ตลอดจนจัดระบบสรางขวัญและกําลังใจแกนักวิจัยอยางเหมาะสม มีระบบและกลไก

    เพื่อชวยในการคุมครองสทิธ์ิของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน ท้ังน้ีมหาวิทยาลัยไดกําหนดยุทธ

    ศาสตรวิจัยของมหาวิทยาลัย ป 2560 จํานวน 11 หัวเร่ือง มีทุนอุดหนุนการวิจัยท่ีหลากหลาย มีระบบสนับสนุน

    พัฒนานักวิจัยใหม สนับสนุนการนําเสนอผลงาน/ตีพิมพ สนับสนุนใหมีการรวมกลุมความเปนเลิศ มีอุทยาน

    วิทยาศาสตรภาคใต เปนหนวยงานหลักเพื่อพัฒนาและตอยอดงานวิจัย นอกจากน้ียังมุงเนนการสรางเครือขาย

    ความรวมมอืดานการวจิัยในทุกระดับท้ังระดับวทิยาเขต ระดับภูมภิาค และระดับนานาชาติ ท้ังภาครัฐและเอกชน

    ยุทธศาสตรที่ 3 กาวสูความเปนนานาชาติ ซึ่งสอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 3

    การมีสวนรวมในการเปลี่ยนแปลงหรือสรางพลังสะสม (momentum for change) ในการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว

    ขององคกร โดยมหาวทิยาลัยขับเคลื่อนระบบคุณภาพใหเปนวัฒนธรรมองคกร ไดปรับระบบประเมินคุณภาพ

    ในป 2558 แบงเปน ระดับหลักสูตร ใชเกณฑของท่ีประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทยซึ่งประกอบดวยเกณฑ

    AUN QA รวมกับตัวบงช้ีการกํากับมาตรฐานของ สกอ. หรือเกณฑประเมินของสภาวิชาชีพ หรือระบบท่ีเปนท่ี

    ยอมรับในระดับสากล ระดับคณะและมหาวิทยาลัย ใชเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการท่ีเปนเลิศ

    EdPEx ระดับหนวยงานสนับสนุนเทียบเทาคณะ ใชเกณฑ TQA และระบบ ISO ระดับหนวยงานสนับสนุน กําหนดให

    ทุกหนวยงานสนับสนุนใช LEAN ในการพัฒนางาน สําหรับผลงานดานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยยังอยูในการ

    จัดอันดับมหาวิทยาลัยช้ันนําของโลก ท้ังจาก RUR Rankings Agency ของประเทศรัสเซีย การจัดอันดับจากการ

    ประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาแหงประเทศไทย

    การจัดอันดับของ Times Higher Education เปนตน นอกจากน้ันการสรางเครือขาย เพื่อสรางความรวมมือกับ

    หลายหนวยงานในองคกรตาง ๆ ท้ังในและตางประเทศ ไดแก ความรวมมือกับมูลนิธิปดทองหลังพระ มูลนิธิรากแกว

    การเขารวมโครงการ Phuket Smart City เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) และเครือขายการวิจัยเพื่อพัฒนา

    ภาคใต (South RUN) เปนตน และสอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 11 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

    และคุณภาพงานวิจัย ท่ีตอบสนองตอการพัฒนาประเทศและเทียบไดกับมาตรฐานนานาชาติ มหาวิทยาลัยได

    ดําเนินงานพัฒนาสูการเปน Education Hub ในภูมิภาค โดยการดําเนินโครงการศูนยกลางการศึกษาสําหรับ

    ภูมิภาคอาเซียน สนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระดับปริญญาตรีและโอนหนวยกิต ระหวางประเทศใน

    อาเซยีน มกีารจัดโครงการหลากหลายเพื่อสนับสนุนสงเสริมนักศึกษาและบุคลากรไดมปีระสบการณในการพัฒนา

    สูความเปนสากลในอาเซียน โดยดําเนินการในโครงการตาง ๆ เชน โครงการคายภาษา อังกฤษสําหรับนักศึกษา

    โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแกบุคลากร โครงการพระราชทานความชวยเหลือแกราชอาณาจักรกัมพูชาดาน

    การศึกษา โครงการพัฒนานักศึกษาดานภาวะความเปนผูนํา โครงการ PSU Thai Cultural Program โครงการ Summer

    School โครงการ Young Ambassador โครงการพัฒนานักศึกษารวมกับองคกร/สถาบันการศึกษาท้ังภายในและ

    ตางประเทศ มีการสรางเครือขายความรวมมือ (Networking) เพื่อเปนการนําพามหาวิทยาลัยไปสูมาตรฐานนานา

    ชาติ ปจจุบันมีจํานวน 14 เครือขาย และมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานท่ีรองรับความเปนนานาชาติ เชน การ

    บริการ ตม. เคลื่อนท่ี โครงการสอนภาษาไทยสําหรับบุคลากรตางชาติ การจัดต้ัง PSU International Students &

    Staff Office (PSU ISSO) และการพัฒนาเครือขายบุคลากรและนักศึกษาตางชาติ (Social Evening)

  • P a g e | -IV-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    ยุทธศาสตรที่ 4 ระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยท่ีทรงประสิทธิภาพ สอดคลองกับกรอบการ

    ประเมินในประเด็นที่ 2 ประสบความสําเร็จในการสรางความเปนเอกภาพ (unity) และศักดิ์ศรี (integrity) โดยการ

    พัฒนาองคกรท่ีมสีมรรถนะสูงภายใตระบบ PSU System ยดึหลักความเช่ือมโยงและเปนเครือขายของท้ัง 5 วิทยาเขต

    คือ มีการใชทรัพยากร มีกิจกรรม มีการพัฒนางานและระบบฐานขอมูล รวมท้ังสรางเครือขายทางวิชาการรวมกัน มี

    การพัฒนาพื้นท่ีเพื่อมุงสูความเปน PSU Green Campus การสรางจุดเนนวิทยาเขตท่ีชัดเจน โดยการจัดทํา Flagship

    ของแตละวิทยาเขต ไดแก วิทยาเขตหาดใหญ มุงพัฒนาศาสตรทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและ

    วทิยาศาสตรสุขภาพ วทิยาเขตปตตานี มุงพัฒนาศาสตรตามมิติของพื้นท่ีภาคใตตอนลาง คือ อิสลามศึกษา ความ

    ม่ันคงทางดานอาหารฮาลาล ยางพารา วิทยาเขตภูเก็ต จะพัฒนาเปนวิทยาเขตนานาชาติท่ีสมบูรณแบบ เปน

    ศูนยกลางองคความรูดานการบริการและการทองเท่ียวของเอเชีย เปนเสาหลักแหงการพัฒนาภาคใตฝงอันดามันท่ี

    ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล หรือ Digital Thailand ในเชิงพื้นท่ี วิทยาเขตสุราษฎรธานี มุงพัฒนาเปน

    มหาวทิยาลัยวจิัยและความเปนนานาชาติดานพชืเศรษฐกจิ วทิยาเขตตรัง มุงพัฒนาสูการเปนศูนยกลางการศึกษา

    ของภาคใตฝงอันดามัน โดยเนนศาสตรทางดานการบริหารจัดการนวัตกรรมการออกแบบ และอันดามันศึกษา

    สอดคลองกับกรอบการประเมินประเด็นที ่4 การนําขอแนะนําหรือนโยบายจากสภามหาวทิยาลัยสูการปฏบัิติได

    อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยไดนําขอเสนอแนะและนโยบายของสภามหาวิทยาลัยจากการประชุมสภา

    มหาวทิยาลัย และรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจํามหาวทิยาลัย วาระเชิงนโยบาย แผนยุทธศาสตรของ

    อธิการบด ีและอื่น ๆ เขาพจิารณาในการประชุมทีมบริหารประจําเดอืน เพื่อกําหนดแนวทางดําเนินการ และไดมอบ

    หมายรองอธิการบดท่ีีเกี่ยวของดําเนินการในรายละเอียด รวมท้ังมกีารติดตามผลเพื่อรายงานใหสภามหาวิทยาลัย

    รับทราบเปนวาระประจําของการประชุมสภา โดยต้ังแต 1 มิถุนายน 2558 ถึง 29 ตุลาคม 2559 อธิการบดีได

    รายงานการดําเนินงานตอท่ีประชุมสภามหาวทิยาลัยท้ังหมด จํานวน 9 คร้ัง (จากการประชุมสภามหาวิทยาลัย 13

    คร้ัง) โดยมกีารรายงาน รวม 30 เร่ือง สอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 5 มีการจัดทําแผนพัฒนา

    มหาวทิยาลัยระยะสั้น (ระยะเทอมบริหาร) ระยะยาว (แผน 5-10 ป) เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดทิศทางของ

    มหาวิทยาลัย โดยแผนมีความเหมาะสมสามารถนําไปสูการปฏิบัติจริง มีการเสนอแผนตอสภามหาวิทยาลัย ท้ัง

    แผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2558-2561 และแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

    ระยะ 15 ป (พ.ศ. 2560 – 2574) สอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 6 การบริหารงานท่ีผานมา

    เปนไปตามวัตถุประสงคขององคกร สอดคลองกับแนวความคิดเห็นท่ีเสนอตอกรรมการสรรหาอธิการบดี ในเร่ือง

    การบริหารใหเปนไปตามวัตถุประสงค 1) องคกรมสีมรรถนะสูงภายใตระบบ PSU System ซึ่งไดดําเนินการไปแลว

    และกําลังดําเนินการในเร่ืองตาง ๆ ท้ังในสวนท่ีเปนการดําเนินการตอเนื่อง และเปนเร่ืองใหม ไดแก ระบบฐานขอมูล

    เดียว (PSU One system) การดําเนินการโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) การดําเนินการบูรณา

    การการเรียนการสอนและการวจิัยดานพลังงาน การบูรณาการดานการวจิัยดานยางพารา การบูรณาการการเรียน

    การสอนดานการทองเท่ียว การประเมินตามระบบประกันคุณภาพ การวางแนวทางการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา

    ในรูปแบบช้ันป การจัดกจิกรรมนักศึกษารวมกัน การจัดกิจกรรมทอดกฐินรวมกันท้ัง 5 วิทยาเขต การเปดโอกาส

    ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนขามวทิยาเขต/ขามมหาวทิยาลัย การทํางานบริการวชิาการและการวจิัยรวมกันระหวาง

    วทิยาเขต และ 2) การดําเนินการบรรลุตามวัตถุประสงคและสอดคลองกับแนวคดิท่ีเสนอตอกรรมการสรรหา เชน

    การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning การพัฒนาผูบริหารระดับสูง การจัดทําระบบการบริหารบุคคล

    อยางมีประสิทธิภาพ การเขาสูการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ การสรางเครือขาย การเปนมหาวิทยาลัย

    ฐานความรู การพัฒนาระบบฐานขอมูล การทําหลักสูตรรวมกับตางประเทศ การสงเสริมอาจารยเขาสูตําแหนง

  • P a g e | -V-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    สอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที ่8 มีสวนรวมในการสนับสนุนการทํางานของคณบดี ผูอํานวยการ

    วทิยาลัย ศูนยสถาบันและสํานักและมีสวนสนับสนุนใหหนวยวิชาการ คือ ภาควิชาไดเขมแข็ง และไดดําเนินการให

    ไดมาซึ่งผูบริหารทุกระดับอยางมคีุณภาพ ในประเด็นของการมอบอํานาจและการกระจายอํานาจ มีระบบการสรร

    หาผูบริหารทุกระดับเปนท่ียอมรับของประชาคม เปดโอกาสในการรับฟงขอคดิเห็นอยางท่ัวถงึในกระบวนสรรหา ใช

    ท่ีประชุมคณบดี หรือ กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการทําความเขาใจในบริบทในการบริหารและมอบอํานาจ

    ใหคณบดีอนุมัติการบริหารงานบุคคล บริหารการเงิน และบริหารการศึกษา และสามารถมอบอํานาจใหหัวหนา

    ภาคสามารถดําเนินการในบางเร่ืองได รวมท้ังเปดโอกาสใหคณบดี ผูอํานวยการสามารถติดตอสื่อสารกับ

    อธิการบดแีละรองอธิการบดไีดตลอดเวลาในกรณท่ีีไมสามารถแกไขปญหาได รวมท้ังเปดโอกาสใหมีการสื่อสารใน

    กลุมผูบริหารดวยกัน และสอดคลองกับกรอบการประเมินในประเด็นที่ 10 มหาวิทยาลัยมีการสื่อสาร การใช

    สื่อตาง ๆ สูประชาคมมหาวิทยาลัย สรางความเขาใจกับคนในองคกร/ประชาคมไดอยางท่ัวถึง มีการสื่อสารของ

    อธิการบดีและผูบริหารสูประชาคมมหาวิทยาลัย ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (เว็บไซต สื่อโซเชียล อีเมล) ซึ่งประชาคม

    สามารถสะทอนการตอบรับความคดิเห็นกลับสูผูบริหารได มกีารจัดทําสื่อ เอกสารขาว รวบรวมกิจกรรม ติดต้ังสื่อ

    ในท่ีสาธารณะ เชน ปายคัทเอาทขนาดตาง ๆ ติดต้ังในจุดท่ีประชาคม และบุคคลภายนอกสามารถมองเห็นได

    ชัดเจน เชน บริเวณทาอากาศยานหาดใหญ ร้ัวมหาวิทยาลัย และภายในมหาวิทยาลัย มีการทําประชาพิจารณโดย

    ประชุมพบปะประชาคมโดยตรงในทุกวิทยาเขตในหลายวาระ การใช Social Media สนองตอการนําเสนอขอมูลท่ี

    มีความรวดเร็ว ทันเหตุการณ งายตอการเขาถึง มีการเผยแพรผลงานของมหาวิทยาลัยผานสื่อตาง ๆ เชน สถานี

    วิทยุกระจายเสียงของมหาวิทยาลัย การนําสารคดีโทรทัศนเผยแพรผาน You Tube การใชสื่อนิทรรศการเพื่อการ

    ประชาสัมพันธ มกีารสรางองคกรสัมพันธและเครือขายภายนอก เครือขายชุมชนและศิษยเกา

    ยุทธศาสตรที่ 5 ระบบบริหารการเงินและทรัพยากรบุคคลเพื่อเพิ่มคุณคา สอดคลองกับกรอบ

    การประเมินในประเด็นที่ 7 ท่ีมีวิธีการหรือกลไกในการติดตามความคืบหนาของงานอยางมีประสิทธิภาพ ดวย

    การแตงต้ังคณะกรรมการและคณะทํางานในชุดตาง ๆ เพื่อกํากับและติดตามการดําเนินงานในกลุมภารกิจ ต้ังแต

    ระดับมหาวิทยาลัย ระดับวิทยาเขต ระดับคณะ/หนวยงาน ครอบคลุมภารกิจ/กิจกรรมทุกดาน มีการปรับปรุง

    ระเบียบ ขอบังคับของมหาวทิยาลัยใหทันสมัย สามารถทํางานไดคลองตัวมากย่ิงขึ้น ท้ังในกลุมขาราชการ พนักงาน

    มหาวิทยาลัย การมอบอํานาจใหผูบริหารมหาวิทยาลัย รวมถึงการแกไขพระราชบัญญัติ ระเบียบ และขอบังคับ

    ตาง ๆ เพื่อใหสอดคลองกับการปรับเปลี่ยนสถานภาพการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ และสอดคลองกับ

    กรอบการประเมินในประเด็นที่ 9 มหาวิทยาลัยมีการบริหารจัดการดวยความประหยัด มีประสิทธิภาพการ

    จัดสรรทรัพยากรท่ีสอดคลองกับแผนงาน มหาวทิยาลัยพัฒนาระบบบริหารการเงินและสินทรัพย มีระบบกํากับ

    ดูแลดานการคลังและบริหารสนิทรัพยของมหาวิทยาลัย แนวทางการจัดการการเงินและสินทรัพย การสรางความ

    ม่ันคงทางการเงิน และการใชท่ีดินและการตรวจสอบเอกสารสิทธ์ิของมหาวิทยาลัย ตลอดจนวางระบบบริหาร

    สรางกลไก ปรับระบบงาน และจัดทําแผนระยะยาวในการบริหารการเงนิและการบริหารทรัพยสนิของมหาวิทยาลัย

    และเพื่อใหเกิดประโยชนอยางสูงสุดในการบริหารงานของมหาวิทยาลัย ปจจุบันมหาวิทยาลัยมีการใชท่ีดินและ

    เอกสารสทิธ์ิ ท้ัง 5 วิทยาเขต จํานวน 10,150 ไร 58.928 ตารางวา ประกอบดวยท่ีดินสวนกลางของมหาวิทยาลัย

    จํานวน 255 ไร 2 งาน 62.528 ตารางวา วทิยาเขตหาดใหญ จํานวน 4,443 ไร 2 งาน 42.7 ตารางวา วิทยาเขต

    ปตตานี จํานวน 1,350 ไร 2 งาน 0.5 ตารางวา วทิยาเขตภูเก็ต จํานวน 201 ไร 96.2 ตารางวา วิทยาเขตสุราษฎร

    ธานี จํานวน 3,213 ไร และวทิยาเขตตรัง จํานวน 686 ไร 57 ตารางวา การพัฒนาและสะสมทรัพยากรบุคคล

  • P a g e | -VI-

    รายงานการประเมนิตนเอง (Self Assessment Report) ของอธิการบดมีหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ระหวาง ม.ิย.58-พ.ย.59

    ใหมีคุณภาพสูง การสรางผูนําในทุกระดับของมหาวิทยาลัย มีการกําหนดทิศทางการบริหารงานบุคคล ปรับ

    โครงสรางและอัตรากําลังใหมขีนาดท่ีเหมาะสม วางแผนกําลังคนและสรรหาคนเกงคนดี อบรมพัฒนาบุคลากรและ

    จัดการความรูใหบุคลากรมีทักษะหลากหลายและเหมาะสม มีระบบการประเมิน การจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสม

    สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมตามหลัก ธรรมาภิบาล ผานคณะกรรมการจรรยาบรรณ รวมท้ังพัฒนาคุณภาพชีวิต

    การทํางาน โดยกําหนดตัวช้ีวัดความสุขของบุคลากร ระดับ 8 จาก 10 ผานโครงการพัฒนาองคกรสุขภาวะ มี

    โครงการพัฒนาผูนํานักบริหารเพื่ออนาคต การสงเสริมการเขาสูตําแหนงศาสตราจารย รวมท้ังเสริมสรางใหเปน

    องคกรสุขภาวะ ตลอดจนการพัฒนาระบบสารสนเทศอยางตอเนื่อง และปรับปรุงใหมีความทันสมัยอยูเสมอ เชน

    ไดพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อรายการระบบการเงินท่ีใชรวมกันทุกวิทยาเขตเพื่อใหรายงานทางการเงินผานระบบ

    ออนไลนท่ีเปนระบบเดยีวท้ังมหาวทิยาลัย

    รายงานขอมูลการปฏบิัติงานเพิ่มเตมิที่ใชสําหรับการประเมิน

    รายงานผลตามดัชนีชี้วัด (KPI) ตามแผนยุทธศาสตร จากการติดตามผลการดําเนินงานตาม

    ตัวช้ีวัดในแผนยุทธศาสตรมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2558-2561 ประจําปการศึกษา 2558 (1 ส.ค. 58

    – 31 ก.ค.59) พบวา มหาวิทยาลัยมีผลสัมฤทธ์ิตามตัวช้ีวัดในภาพรวม อยูท่ีระดับคะแนน 3.67 คะแนน (รอยละ

    73.33) โดย ยุทธศาสตรที่ 1 ผลติบัณฑติคุณภาพสูงระดับสากล จํานวน 3 ตัวช้ีวัด มผีลการดําเนินงานในระดับ

    3.66 คะแนน โดยมี 1 ตัวช้ีวัดท่ีมีผลการดําเนินงานในระดับ 1 คือ ตัวช้ีวัดรอยละของนักศึกษาท่ีสอบผานเกณฑ

    การทดสอบความรูความสามารถดานภาษาตางประเทศมผีลการดําเนินงานบรรลุความสําเร็จเพียงรอยละ 47.45

    ยุทธศาสตรที่ 2 มหาวทิยาลัยวจิัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม จํานวน 4 ตัวช้ีวัด มผีลการดําเนินงานในระดับ 3.75

    คะแนน โดยมี 1 ตัวช้ีวัดท่ีมีผลคะแนนอยูระดับ 1 คะแนน คือ ตัวช้ีวัดงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใช

    ประโยชน มีผลการดําเนินงานบรรลุความสําเร็จเพียงรอยละ 47.2เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงระบบการเก็บ

    รวบรวมขอมูล ซึ่งคาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จในปการศึกษา 2559 ยุทธศาสตรที่ 3 ความเปนนานาชาติ

    จํานวน 2 ตัวช้ีวัด มผีลการดําเนินงานในระดับ 5 คะแนน ท้ัง 2 ตัวช้ีวัด คอื ตัวช้ีวัดจํานวนบุคลากรนานาชาติและ

    บุคลากรแลกเปลี่ยน และตัวช้ีวัดรอยละท่ีเพิ่มขึ้นของนักศึกษาตางชาติและนักศึกษาแลกเปลี่ยน ยุทธศาสตรที่ 4

    ระบบบริหารจัดการมหาวทิยาลัยท่ีทรงประสิทธิภาพ จํานวน 2 ตัวช้ีวัดมีผลการดําเนินงานในระดับ 3 คะแนน โดย

    ม ี1 ตัวช้ีวัดท่ีมผีลการดําเนินงานอยูในระดับ 1 คะแนน มผีลการดําเนินงานบรรลุความสําเร็จเพียงรอยละ 40.81 คือ

    ตัวช้ีวัดรอยละของหนวยงานท่ีเขาสูการประเมินเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนิน การท่ีเปนเลิศ (Education

    Criteria for Performance Excellence : EdPEx) ผานเกณฑคะแนนระดับ 200 คะแนน ซึ่งเปนตัวช้ีวัดท่ีตองใชระยะ

    เวลาในการดําเนินการอยางตอเนื่อง สงผลใหในระยะเร่ิมตนการดําเนินงาน ซึ่งตรงกับชวงระยะเวลาการประเมินรอบ

    18 เดอืน จงึยังไมมผีลการดําเนินงานท่ีชัดเจนมากนัก ยุทธศาสตรที่ 5 ระบบบริหารการเงินและทรัพยากรบุคคล