บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม ·...

19
แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี .. 2552 - 2556 หนาที2 - 1 บทที2 กรอบแนวคิดและหลักการ ในบทนี้จะนําเสนอถึงวิสัยทัศน วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พันธกิจ และยุทธศาสตร โดยรวมของกระทรวง ที่จะนําไปสูการวิเคราะหเพื่อกําหนดวิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงวัฒนธรรม โดยอางอิงจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 แผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 (ฉบับที2) และแผนแมบทของทุกหนวยงานสังกัดกระทรวง วัฒนธรรม ในสวนที่เกี่ยวกับภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที2) นโยบายภาครัฐ ยุทธศาสตร 20 กระทรวง ยุทธศาสตรกลุมจังหวัด ยุทธศาสตร 76 จังหวัด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับที10 ยุทธศาสตร ICT กระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตรระดับกรม/สํานักงาน ยุทธศาสตร กรม/สํานักงานอื่นๆ แผนงาน/กิจกรรม ดาน ICT กระทรวงวัฒธธรรม (บทที6) ยุทธศาสตร กระทรวงวัฒนธรรม รูปที2-1 แผนภาพแสดงระดับของนโยบายและแผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการจัดทํา ICT กระทรวงวัฒนธรรม 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 แนวคิดการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 .. 2550–2554 เนน เรื่องคนเปนศูนยกลางการพัฒนาเพื่อมุงสู สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน" รวมทั้งไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มี พื้นฐานมาจากแนวทางการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเปนแนวทางที่สอดคลองกับชีวิตของสังคมไทยและนําไปสูการพัฒนาประเทศ อยางยั่งยืน จากการทบทวนผลการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที1 ถึงฉบับที7 รวมกันไดขอสรุปวา แม เศรษฐกิจขยายตัวดี แตการพัฒนาคนและสังคมและการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมยัง เปนไปไดชา สงผลใหการพัฒนาไมสมดุลและไมยั่งยืน จึงนําไปสูการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศนการพัฒนาใหมทีเนน คนเปนศูนยกลางการพัฒนาและใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือชวยพัฒนาคนใหมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตทีดี พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคม มีสวนรวมในทุกขั้นตอนการพัฒนา กระบวนทรรศนการพัฒนาใหมนีแผนพัฒนาฯ ฉบับที10 จึงยังคงหลักการและ แนวคิดที่สอดคลองและตอเนื่องมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที8 (.. 2540-2544) ทั้งนี้สามารถสรุปสาระสําคัญ หลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที8 ถึง 10 ไดพอสังเขปไดดังนีตารางที2-1 สรุปสาระสําคัญหลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที8 ถึง 10 แผนพัฒนาฯ ฉบับ ที8 ถึงฉบับที10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพื้นฐาน แผนพัฒนาฯ ฉบับที8 (.. 2540- 2544) ในปแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที8 เมื่อประเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤต เศรษฐกิจอยางรุนแรงและสงผล กระทบตอคนและสังคมเปนอยางมาก การดําเนินนโยบายจึงใหความสําคัญ กับการแกไขฟนฟูเศรษฐกิจใหมี เสถียรภาพและมั่นคง และลด ผลกระทบจากวิกฤตที่กอใหเกิด ปญหาการวางงานและความยากจน เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว พรอมทั้งปฏิรูป ระบบการบริหารจัดการทั้งภาครัฐและ ภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งสงผลใหการ ดําเนินงานยุทธศาสตรสําคัญของ เปนจุดเปลี่ยนสําคัญของการ วางแผนของประเทศ นับเปนแผน ปฏิรูปความคิดและคุณคาใหมของ สังคมไทย และประสบความสําเร็จ เชิงกระบวนการมีสวนรวมของทุก ภาคสวน เปนจุดเริ่มตนของการ ขับเคลื่อนพลังทางสังคมใหเกิด กระบวนการมีสวนรวมของประชาชน อยางกวางขวาง และนําไปสูการ สรางแนวคิดพื้นฐานในการจัดทํา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย .. 2540 นําไปสูการพัฒนา ประเทศอยางยั่งยืน คน เปนศูนยกลางการ พัฒนาและใช เศรษฐกิจเปนเครื่องมือ ชวยพัฒนาคนใหมี ความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี พรอมทั้ง ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนา แบบแยกสวนมาเปน บูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุก ฝายในสังคมมีสวนรวม

Upload: others

Post on 25-Jul-2020

14 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 1

บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหลักการ

ในบทน้ีจะนําเสนอถึงวิสัยทัศน วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พันธกิจ และยุทธศาสตร

โดยรวมของกระทรวง ที่จะนําไปสูการวิเคราะหเพ่ือกําหนดวิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม โดยอางอิงจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 (ฉบับที่ 2) และแผนแมบทของทุกหนวยงานสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ในสวนที่เก่ียวกับภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย

(ฉบับที่ 2)

นโยบายภาครัฐ ยุทธศาสตร 20 กระทรวง ยุทธศาสตรกลุมจังหวัด ยุทธศาสตร 76 จังหวัด

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร ICT กระทรวงวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรระดับกรม/สํานักงาน

ยุทธศาสตรกรม/สํานักงานอื่นๆ

แผนงาน/กิจกรรม ดาน ICT กระทรวงวัฒธธรรม (บทท่ี 6)

ยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรม

รูปที่ 2-1 แผนภาพแสดงระดบัของนโยบายและแผนยุทธศาสตรที่เก่ียวของกับการจัดทํา ICT กระทรวงวฒันธรรม 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

แนวคิดการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550–2554 เนนเรื่องคนเปนศูนยกลางการพัฒนาเพ่ือมุงสู “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน" รวมทั้งไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีพ้ื น ฐ า น ม า จ า กแ น วท า ง ก า ร พัฒน า อั น เ น่ื อ ง ม า จ า กพ ร ะ ร า ช ดํ า ริ “เ ศ รษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ” ขอ ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเปนแนวทางที่สอดคลองกับชีวิตของสังคมไทยและนําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน

จากการทบทวนผลการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 7 รวมกันไดขอสรุปวา แมเศรษฐกิจขยายตัวดี แตการพัฒนาคนและสังคมและการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมยังเปนไปไดชา สงผลใหการพัฒนาไมสมดุลและไมยั่งยืน จึงนําไปสูการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศนการพัฒนาใหมที่เนน “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือชวยพัฒนาคนใหมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคมมีสวนรวมในทุกข้ันตอนการพัฒนา กระบวนทรรศนการพัฒนาใหมน้ี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 จึงยังคงหลักการและแนวคิดที่สอดคลองและตอเน่ืองมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ทั้งน้ีสามารถสรุปสาระสําคัญ หลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 ถึง 10 ไดพอสังเขปไดดังน้ี

ตารางที่ 2-1 สรุปสาระสําคัญหลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแหงชาติฉบับที่ 8 ถึง 10 แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544)

ในปแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 เมื่อประเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอยางรุนแรงและสงผลกระทบตอคนและสังคมเปนอยางมาก การดําเนินนโยบายจึงใหความสําคัญกับการแกไขฟนฟูเศรษฐกิจใหมีเสถียรภาพและมั่นคง และลดผลกระทบจากวิกฤตท่ีกอใหเกิดปญหาการวางงานและความยากจนเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว พรอมท้ังปฏิรูประบบการบริหารจัดการท้ังภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน ซ่ึงสงผลใหการดําเนินงานยุทธศาสตรสําคัญของ

เปนจุดเปล่ียนสําคัญของการวางแผนของประเทศ นับเปนแผนปฏิรูปความคิดและคุณคาใหมของสังคมไทย และประสบความสําเร็จเชิงกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เปนจุดเร่ิมตนของการขับเคล่ือนพลังทางสังคมใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอยางกวางขวาง และนําไปสูการสรางแนวคิดพ้ืนฐานในการจัดทํารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540

• นําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปนเคร่ืองมอืชวยพัฒนาคนใหมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี พรอมท้ังปรับเปล่ียนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคมมีสวนรวม

Page 2: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 2

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 กระทําไดไมเต็มท่ี

ในทุกขั้นตอนการพัฒนา • ทุกขั้นตอนการพัฒนา กระบวนทรรศนการพัฒนาใหมนี้มีพ้ืนฐานมาจากแนวทางการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซ่ึงเปนแนวทางท่ีสอดคลองกับชีวิตของสังคมไทย

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 -2550)

ผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 ประสบความสําเร็จท่ีนาพอใจ กลาวคือ • เศรษฐกิจของประเทศไทยมีเสถียรภาพและขยายตัวไดอยางตอเนื่องในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.7 ตอป รายไดเฉล่ียตอหัวเพ่ิมจาก 86.3 พันลานบาทในป 2545 เปน 109.7 พันลานบาท ในป 2548

• ดานคุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้น สงผลใหความอยูดีมีสุขโดยรวมมีทิศทางดีขึ้น สัดสวนความยากจนไดลดลงมากจากรอยละ 15.6 ในป 2545 เหลือรอยละ 11.3 ในป 2547 และความเหล่ือมลํ้าทางรายไดระหวางคนจนกับคนรวยมีแนวโนมดีขึ้น

• การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีความกาวหนามากขึน้ แตยังไมสามารถรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนไดเทาท่ีควร

ใหความสําคัญกับการแกไขปญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจใหลุลวงและสรางฐานเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง และการเช่ือมโยงกับตลาดโลกใหมีภูมคุิมกันตอกระแสการเปล่ียนแปลงจากภายนอกและสามารถพ่ึงตนเองไดมากขึ้น เพ่ือใหเศรษฐกิจสามารถกลับมาขยายตัวไดอยางมั่นคง ขณะเดียวกัน มุงการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังดานตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอมเพ่ือใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย

ไดอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญานําทางการพัฒนาประเทศ ควบคูไปกับกระบวนทรรศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมท่ีมี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10

แนวโนมในชวงตนของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10 ประเทศไทยจะยังคงตองเผชิญปญหาราคานํ้ามัน ซ่ึงสรางแรงกดดันตอภาวะเงินเฟอและดุลบัญชีเดินสะพัด แตสถานการณโดยรวมเมื่อเทียบกับแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 ถือวาเอ้ืออํานวยตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศท่ีจะสามารถใหความสําคัญกับเปาหมายระยะยาวของการพัฒนา ท่ีมุงไปสูการพัฒนาท่ีมีความสมดุลและคนมีความสุขไดอยางแทจริง นอกจากนั้นแนวโนมการเปล่ียนแปลงของโลกาภิวัตนท่ีจะมีผลตอการพัฒนาในอนาคต แสดงวาเศรษฐกิจและสังคมไทยจะตองเผชิญกับการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญในหลายบริบทและสงผลกระทบตอการพัฒนาในมิติตางๆ รุนแรงขึ้น

การเตรียมความพรอมสําหรับการเปล่ียนแปลงในอนาคตเพ่ือปรับตัวตามบริบทการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญ 5 บริบท • การเปล่ียนแปลงของกระแสเศรษฐกิจและการเงินโลก

• การเปล่ียนแปลงของกระแสเศรษฐกิจและการเงินโลก มีการรวมตัวของกลุมเศรษฐกิจและการเปล่ียนแปลงในตลาดการเงินของโลก ทําใหเกิดความเชื่อมโยงของเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค

• การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด พัฒนาการทางเทคโนโลยีสูเศรษฐกิจยุคใหมและผลกระทบตอการพัฒนาของโลก ท่ีมีผลกระะทบตอประเทศไทย

• การเปล่ียนแปลงดานสังคมท่ีมีแนวโนมการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกและมีลกระทบตอประเทศไทย ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและแนวโนมพฤติกรรมการบริโภคของโลกและผลกระทบตอประเทศ

การรูเทาทันโลกาภิวัตนและสรางภูมิคุมกันใหกับทุกภาคสวนตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

Page 3: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 3

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

ไทย และการเคล่ือนยายของคนอยางเสรีระหวางประเทศและมีผลกระทบตอประเทศไทย

• การเปล่ียนแปลงดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของโลกมีผลกระทบตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของประเทศไทย ท่ีมา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 บทท่ี 1

2.1.1 วิสัยทศันและพันธกิจการพฒันาประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาประเทศไวดังน้ี 1) วิสัยทศัน

วิสัยทศันประเทศไทย มุงพัฒนาประเทศไทยสู “สังคมอยูเย็นเปนสขุรวมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันตสิุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม สิ่งแวดลอมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาตยิั่งยืน อยูภายใตระบบบรหิารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดาํรงไวซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิศ์ร”ี

2) พันธกิจ

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ไดกําหนดพันธกิจของการพัฒนาประเทศไว 4 ประการ ดังน้ี

พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรูอยางเทาทัน มีสุขภาวะที่ดี อยูในครอบครัวที่อบอุน ชุมชนที่เขมแข็ง พ่ึงตนเองได มีความมั่นคงในการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีภายใตดุลยภาพของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เสริมสรางเศรษฐกิจใหมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม มุงปรับโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถแขงขันได มีภู มิคุมกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพแวดลอมในยุคโลกาภิวัตน บนพ้ืนฐานการบริหารเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ มีระดับการออมที่พอเพียง มีการปรับโครงสรางการผลิตและบริการบนฐานความรูและนวัตกรรม ใชจุดแข็งของความหลากหลายทางชีวภาพและเอกลักษณความเปนไปไทย ควบคูกับการเชื่อมโยงกับตางประเทศ และการพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานโครงสรางพ้ืนฐาน และโลจิสติกส พลังงาน กฎกติกา และกลไกสนับสนุนการแขงขันและกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม

ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอม สรางความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน เปนธรรม และมีการสรางสรรคคุณคา สนับสนุนใหชุมชนมีองคความรูและสรางภูมิคุมกันเพ่ือคุมครองฐานทรัพยากร คุมครองสิทธิและสงเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตลอดจนรักษาผลประโยชนของชาติจากขอตกลงตามพันธกรณีระหวางประเทศ

พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาลภายใตระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มุงสรางกลไกและกฎระเบียบที่เอ้ือตอการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาสูทุกภาคี ควบคูกับการเสริมสรางความโปรงใส สุจริต ยุติธรรม รับผิดชอบตอสาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการตัดสินใจ สูความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการใชทรัพยากร

3) ยุทธศาสตร

จากแนวคิดและหลักการขางตน ไดมีการเสนอการประยุกตใชหลักการตางๆ ทั้งหมดของแผนประมวลเปนยุทธศาสตรที่ครอบคลุม 5 ดาน ไดแก คน สังคม ชุมชน เศรษฐกิจ ทรัพยากร และ ธรรมาภิบาลโดยกําหนดทิศทางเปนประเด็นยุทธศาสตร 5 ประการ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ดังน้ี

ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่ม่ันคงของประเทศ

ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน

Page 4: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 4

ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

รูปที่ 2-2 ผังภาพแสดงแนวคิดการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศในแผนฯ 10

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ไดกลาวถึงรายละเอียดของยุทธศาสตร ตลอดจนแนวทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติและการติดตามประเมินผลในการดําเนินการโดยมีการกําหนดบทบาทของหนวยงานภาครัฐในฐานะหน่ึงในภาคี โดยแสดงถึงทิศทางของการดําเนินการไว ในที่น้ีจะหยิบยกเฉพาะสวนที่เก่ียวของโดยตรงกับเรื่องของวัฒนธรรมที่จะเปนประโยชนตอการวิเคราะหความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม

2.2 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย ป 2552-2556

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 (Information and Communication Technology-ICT Master Plan หรือแผนแมบท ICT) เปนกรอบยุทธศาสตร ICT ป 2544-2553 ของประเทศไทย ซึ่งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ (National Information Technology Committee -NITC) โดยมีนายกรัฐมนตรี เปนประธาน เห็นชอบไดประกาศเปน “นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 (ค.ศ. 2001-2010 หรือ IT2010)” ใหป พ.ศ. 2545-2549 เปนการนํารองนโยบายแผนแมบท IT2010 ลงสูภาคปฏิบัติ ในสาระสําคัญตางๆ

แผนแมบท ICT ของประเทศไทย ป 2552-2556 ไดบรรจุแนวทางยุทธศาสตรการพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ สามารถนํามากําหนดโดยมีสาระสําคัญได ดังน้ี

ตารางที่ 2-2 สรุปสาระสําคัญของแนวทางยุทธศาสตรการพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ให

สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แนวทางพัฒนาวทิยาศาสตรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

ฉบับที่ 10 ยุทธศาสตรแผนแมบท ICT

ป 2552-2556 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน โดยปรับโครงสรางการผลติ เพ่ือเพ่ิมผลผลติและคุณคาของสินคาและบริการบนพ้ืนฐานความรูและความเปนไทย สรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจไทย และสนับสนุนใหเกิดการแข็งขันที่เปนธรรมและการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาอยางเปนธรรม 

1. ดานเศรษฐกิจ โดยการใช ICT เพ่ือยกระดับและสนับสนุนขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ ICT 1.1 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน

ของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

1.2 การใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน

การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงปญญาและการเรียนรูโดยสรางสรรคนวัตกรรมและองคความรูสงเสริมใหคนไทยเกิดการเรียนรูอยางตอเน่ือง จัดการองคความรู ภมิูปญญาทองถิ่นและองคความรูสมัยใหมตั้งแตระดับชุมชนถึง

2. ดานสังคม โดยการพัฒนากําลงัคนดาน ICT การพัฒนากําลงัคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลติ และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

Page 5: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 5

แนวทางพัฒนาวทิยาศาสตรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 10 

ยุทธศาสตรแผนแมบท ICT ป 2552-2556

ระดับประเทศ สรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่ม่ันคงของประเทศ โดยการบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็ง สรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน และเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมอยางสันติและเก้ือกูล การเสรมิสรางธรรมาภิบาลในการบรหิารจัดการประเทศ โดยการเสรมิสราง และพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยและ ธรรมาภิบาลใหเปนสวนหน่ึงของวิถีชีวติในสังคมไทยเสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชนใหสามารถเขารวมในการบริหารจัดการประเทศ สรางภาคราชการที่มีประสทิธิภาพและมีธรรมาภิบาล เนนการบริการแทนการกํากับควบคุมและทาํงานรวมกับหุนสวนการพัฒนา การกระจายอํานาจการบริหารจดัการประเทศสูภูมิภาค ทองถิ่น และชุมชนเพ่ิมข้ึนตอเน่ือง สงเสริมภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็ง สุจริต และมีธรรมาภิบาล การปฏริูปกฎหมาย กฎระเบียบ และข้ันตอน กระบวนการเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือสรางความสมดลุในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา รักษาและเสริมสรางความม่ันคงเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสูดลุยภาพและความยั่งยืน

3. ดานการเมืองการปกครอง โดยการยกระดับการพัฒนาและใช ICT เพ่ือบริการประชาชน 3.1 การใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการ

สื่อสารเพ่ือสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาลในการบรหิารและการบริการของภาครัฐ

4. ดานการบริหาร การพัฒนาดาน ICT 4.1 การบริหารจดัการดาน ICT ของประเทศ

อยางมีธรรมาภบิาล 4.2 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร

ดูรายละเอียดจาก Web Site : www.mitc.go.th จุดมุงหมายในการใชศักยภาพและประโยชนจากการมีแผนแมบท ICT เนนดานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

โดยมีนโยบายดานการเมืองการปกครองสมัยใหม เปนแกนหลักในการบริหารเศรษฐกิจการคาโดยรวมของประเทศ เพ่ือความสัมฤทธ์ิผลสูการพัฒนาความสามารถในการแขงขันและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมายรวมมุงสูการเปนสังคมไทยและใหเปนเศรษฐกิจแหงภูมิปญญาและการเรียนรู (Knowledge-based Learning Economy) ที่สามารถใชภูมิปญญาชุมชนสูสังคมโลกไดอยางยั่งยืน สงผลทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขทั่วกัน ทั้งน้ี การใชแผนแมบท ICT จะตองมีความสอดคลองกับเศรษฐกิจพอเพียง ทันสมัย เปนแรงขับเคลื่อนกิจกรรมโดยกําหนด แนวทางการพัฒนาของแผนและนโยบายยุทธศาสตร ICT ของประเทศ 2.2.1 วิสัยทศันและพันธกิจ ICT ประเทศไทย

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 ไดกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไวดังน้ี 1) วิสัยทศัน ICT ประเทศไทย

ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT “สังคมอุดมปญญา” ในที่น้ีหมายถึงสังคมที่มีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรูสารสนเทศ (Information literacy) สามารถเขาถึง และใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและม่ันคง

2) พันธกิจ ICT ประเทศไทย พัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอ ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professionals) และบุคลากรในสาขาอาชีพอ่ืนๆ ทุกระดับที่มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพมีวิจารณญาณและรูเทาทัน อยางมีคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและม่ันคง

พัฒนาโครงขายสารสนเทศและการสื่อสารความเร็วสูงที่มีการกระจายอยางทั่วถึง มีบริการที่มีคุณภาพ และราคาเปนธรรม เพ่ือใหเปนโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศหลักที่ทุกภาคสวนสามารถใชในการเขาถึงความรู สรางภูมิปญญา และภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมสามารถใชในการสรางมูลคาเพ่ิมแกภาคเศรษฐกิจของประเทศ

พัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล โดยมีกลไก กฎระเบียบ โครงสรางการบริหารและการกํากับดูแล ที่เอ้ือตอการพัฒนาอยางบูรณาการ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม เพ่ือสนับสนุนใหเกิดธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการประเทศสอดคลองกับเปาหมายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 6: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 6

3) ยุทธศาสตร ICT ประเทศไทย

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552-2556 ไดกําหนดยุทธศาสตร ICT ของชาติ เปนรูปธรรมภายใตเง่ือนไขที่เปนจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย แผนแมบทฯ ฉบับน้ีไดกําหนดยุทธศาสตรหลักข้ึน 6 ดาน ไดแก

ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอยางมีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยุทธศาสตรการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

ยุทธศาสตรการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

ยุทธศาสตรการใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน นอกจากน้ันไดกําหนดใหหนวยงานภาครัฐทุกหนวยงานมีบทบาทในการดําเนินการตามภารกิจ

ที่ไดรับมอบหมาย โดยกระทรวงวัฒนธรรม มีบทบาทและหนาที่ในการดําเนินการตามแผนงานและกิจกรรมที่สําคัญดังตอไปน้ี

ตารางที่ 2-3 ยุทธศาสตรตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 และ

แผนงานและกิจกรรมที่เก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

1 การพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลท่ัวไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

III. มาตรการสนับสนุนอ่ืนๆ (2) สนับสนุนใหเกิดสมาคม/ชมรม/องคกรอิสระ หรือ

เครือขายท่ีสงเสริมการใช ICT อยางสรางสรรค - กระทรวง ICT - กระทรวงศีกษา - กระทรวงวัฒนธรรม - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

2 การบริหารจัดการดาน ICT ของประเทศอยางม ีธรรมาภิบาล

2.2 ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา/เสนองบประมาณ และกระบวนการพิจารณาจัดสรร งบประมาณดาน ICT เพ่ือใหเกิดการใชจายอยางคุมคา

(1) สรางกลไกการทํางานรวมกันระหวางสํานักงบประมาณ กระทรวง ICT และ CIO ภาครัฐในการจัดทําและพิจารณางบประมาณดาน ICT เพ่ือใหการจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการ ลดการซ้ําซอนและเกิดการใชจายอยางคุมคา ท้ังนี้ ในกรณีของซอฟตแวร ใหพิจารณาทางเลือกท่ีเปนซอฟตแวรโอเพนซอรสดวยเพ่ือความเหมาะสมของการใชงบประมาณ

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - CIO ภาครัฐ - สภา ICT

(2) กําหนดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ (Feasibility study) สําหรับโครงการใดๆ ของรัฐ ท่ีมีมูลคาสวน ICT (ICT content)ในโครงการนั้นรวมกันเกิน 300 ลานบาท โดยในกระบวนการศึกษา ใหมีการเผยแพรและนําเสนอหลักการของโครงการตอสาธารณชนและผูท่ีอาจไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการ เพ่ือรับฟงความคิดเห็น รวมท้ังใหขอความเห็นจากจากสภา ICT และนําขอมูลท่ีไดรับท้ังหมดไปประกอบในการศึกษาดวยท้ังนี้ เมื่อมีการดําเนินโครงการ ใหจัดทําประกาศบงบอกชื่อโครงการ คําอธิบายลักษณะโดยยอ ขนาดวงเงินงบประมาณระยะเวลาและผูดําเนินการ (ผูรับเหมา) ใหสาธารณชนรับทราบผานเว็บกลางของภาครัฐและเว็บสาธารณะท่ีมีผูเขาชมจํานวนมาก

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงาน ของรัฐ

- สภา ICT

2.4 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวช้ีวัดสถานภาพการพัฒนาICT ของประเทศ เพ่ือสนับสนุนการติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT ของประเทศ และการดําเนินการตามแผนแมบท ICT

Page 7: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 7

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

(1) จัดทําฐานขอมูลรายการดัชนีช้ีวัดหลักของการพัฒนา ICT ของประเทศ (ICT core indicators) โดยกําหนดใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบแตละดัชนีปรับปรุงขอมูลใหทันสมัย ตลอดเวลา และเช่ือมโยงขอมูลไปยังหนวยงานกลางเพื่อเผยแพรใหหนวยงาน/ประชาชนรับทราบท่ัวไป รวมท้ังใหมีการศึกษาติดตามการพัฒนาดัชนีดังกลาวในระดับ นานาชาติอยางตอเนื่อง เพ่ือปรับปรุงดัชนีช้ีวัดของประเทศไทยใหเหมาะสมตามกาลเวลา

- กระทรวง ICT - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงานท่ีมีการจัดเก็บขอมูลท่ีเก่ียวของ

3 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

3.2 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือยกระดับการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน

(4) สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาท่ีเปนภาษาไทยและเนื้อหาท่ีเก่ียวกับทองถิ่น (local contents) ท่ีเปนประโยชนตอการศึกษา การงานอาชีพ สุขภาพและสาธารณสุข ท้ัง โดยการสนับสนุนงบประมาณและสรางแรงจูงใจแกภาคเอกชน

- กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวง ICT - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงสาธารณสุข - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกหนวยงานท่ีมีเนื้อหาท่ีเก่ียวของ

3.4 เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงขายและทรัพยากร

(1) เรงรัดการดําเนินการใหมีพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคล่ืนความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ใหรองรับมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพ่ือใหมีผลบังคับใชใกลเคียงกับท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญโดยเร็วท่ีสุด

- กระทรวง ICT - รัฐสภา - คณะรัฐมนตร ี

4 การใชเทคโนโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือสนุบสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

4.1 สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางท่ีรับผิดชอบการกําหนดกรอบแนวทาง ปฏิบัติและมาตรฐานท่ีจําเปนสําหรับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(2) ใหหนวยงานท่ีมีขอมูลท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนๆ ใหความรวมมือในการเช่ือมโยง/แลกเปล่ียนขอมูลกับหนวยงานอ่ืนได ภายใตโครงการพัฒนาเครือขายส่ือสารขอมูลเช่ือมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network: GIN) ท่ีกระทรวง ICT จัดทําขึ้น และขยายการเช่ือมโยงไปสูหนวยงานในภูมิภาค และสวน ทองถิ่นในลําดับถัดไป

- กระทรวง ICT - หนวยงานของรฐัท้ังหมด

(4) จัดใหมีการประเมินผลการใหบริการทางอิเล็กทรอนิกสของภาครัฐท่ีไดมีการดําเนินการไปแลว โดยเนนผลท่ีเกิดแกประชาชนผูรับบริการ และ/หรือหนวยงาน/ภาคธุรกิจท่ีตองติดตอกับภาครัฐ รวมท้ังผลตอหนวยงาน อาทิ การลดคาใชจาย การลดขั้นตอน / เพ่ิมประสิทธิภาพ เปนตน เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบในการกําหนดแผนการดําเนินงานในระยะตอไป

- กระทรวง ICT - สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

4.2 ใหทุกกระทรวงดําเนินการเพ่ือพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(1) ใหทุกหนวยงานปรับปรุงระบบขอมูล และระบบบริหารจัดการ ใหสามารถเช่ือมโยงกับระบบ NSDI และ GIN (Government Information Network) ท้ังภายในและระหวางหนวยงาน ภายใตกรอบมาตรฐาน TH e-GIF(Government Interoperability Framework)

- กระทรวง ICT - หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

Page 8: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 8

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

(2) ใหทุกหนวยงานใช ICT เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมและสนับสนุนใหภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดินโดยเฉพาะการพัฒนานโยบายหรือบริการสาธารณะ และการออกกฎหมาย การติดตามตรวจสอบ และใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) กําหนดเปนตัวช้ีวัดหนึ่งในมาตรการการพัฒนาระบบราชการ ในสวนท่ีเก่ียวกับการบริหารราชการแบบมีสวนรวม

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

5 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

5.3 สรางโอกาสทางการตลาดและโอกาสในการแขงขันสําหรับผูประกอบการไทย ท้ังตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศ

(7) กําหนดใหมีหนวยงานรับผิดชอบการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนตและแผนยุทธศาสตรดิจิทัลคอนเทนตระดับชาติ เพ่ือพัฒนากลไกท่ีจําเปนในการสรางโอกาสทางการตลาดและการเสริมสรางศักยภาพใหกับผูประกอบการดิจิทัลคอนเทนตของประเทศไทย

- กระทรวง ICT - กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- กระทรวงพาณิชย - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

- สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

6

การใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยนื

6.5

ยกระดับศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และวิสาหกิจชุมชน (OTOP)

(6) ใหหนวยงานของรัฐใชประโยชนจาก ICT ท่ีแพรกระจายคอนขางท่ัวถึงในชุมชม(โทรศัพทเคล่ือนท่ี วิทยุ โทรทัศน) เพ่ือเผยแพรความรูท่ีเก่ียวของกับอาชีพ และขาวสารทางเศรษฐกิจ ท่ีจะเปนประโยชนตอการพัฒนาสินคาและบริการ เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชน

- กระทรวง ICT - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ

- กระทรวงวิทยาสาสตรและเทคโนโลยี

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกๆหนวยงานท่ีมีการดําเนินงานในระดับภูมิภาค

2.3 แนวความคิดในการจัดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (IT-2020)

กรอบแนวคิดการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะยาวน้ี ครอบคลุมชวงเวลาระหวางปจจบัุนไปจนถึงป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) เพ่ือนําไปสูนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชวง 10 ป ระยะที่สามนับตั้งแตมีนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที่ 1 (IT-2000) และฉบับที่ 2 (IT-2010) เปนตนมา โดยพิจารณาจากความเปนไปและความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนและอาจเกิดข้ึนกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งนัยยะที่มีตอเทคโนโลยีน้ี ในขณะเดียวกันยังพิจารณาจากพัฒนาการในกรอบเวลาดังกลาวของตัวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเองที่จะมีผลตอการพัฒนาสังคมไทย โดยคาดหวังจากการมองจากทั้งสองมุมจะทําใหแนวคิดมีความสมบูรณและมีความลงตัวในการกําหนดนโยบายและแผนเชิงยุทธศาสตรของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาในประเด็นและมิติตางๆ ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นไดดังน้ี 1) ภาพอนาคตทางดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และนัยสําคัญตอทศิทางการพัฒนา

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 1.1) ความเปล่ียนแปลงดานประชากร ของประเทศกําลังมีผลกระทบในเชิงโครงสรางของสังคมไทย

โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงดังกลาวประกอบดวย ประชากรทั่วราชอาณาจักรจะเพิ่มข้ึนจาก 62 ลานคนในป พ.ศ. 2543 เปน 74 ลานคนโดยประมาณ ในป พ.ศ. 2568 โดยมีอัตราเพ่ิมที่ลดลง คือจากเพ่ิมข้ึนรอยละ 0.82 เปนรอยละ 0.61 ในหาปแรกและหาปหลังของชวงเวลาดังกลาวตามลําดับ

เม่ือพิจารณาจากประชากรเปน 3 กลุม คือ ประชากรวัยเด็ก ประชากรวัยแรงงาน และประชากรวัยสูงอายุ พบวา ความไดเปรียบเชิงโครงสรางประชากรไทยกําลังจะหมดไป หรืออีกนัยหน่ึงการปนผลทางประชากร (Demographic Dividend) ใกลสิ้นสุดลง ซึ่งหลังจากน้ันจะมีผลทําใหตองเรงเพ่ิมผลิตภาพ (Productivity) ของประชากรวัยแรงงานอยางจริงจัง

Page 9: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 9

รูปที่ 2-3 แผนภาพแสดงโครงสรางประชากรไทย เปรียบเทียบระหวางป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563

ที่มา: ศ.ดร.เก้ือ วงศบุญสินและคณะ, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประชากรวัยเด็กไดลดลงอยางตอเน่ืองจากรอยละ 24.65 ในพ.ศ. 2543 เปนรอยละ 19 ในพ.ศ. 2563 ดวยหลายเหตุผล รวมถึงผลจากการคุมกําเนิด สถานภาพการสมรสที่เปลี่ยนไป ทั้งที่เปนโสดมากขึ้น คูสมรสมีแนวโนมที่มีอายุแรกสมรสเพ่ิมข้ึน การมีบุตรจํานวนนอยลงและ บุตรคนแรกเกิดเมื่อคูสมรสมีอายุสูงข้ึน นอกจากน้ียังเปนผลจากการหยารางที่เพ่ิมข้ึนอีกดวย

สัดสวนประชากรวัยสูงอายุเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ืองจากรอยละ 9.43 ใน พ.ศ. 2543 เปนรอยละ 16.78 ใน พ.ศ. 2563 เม่ือประเทศยางเขาสูสังคมสูงอายุ การสาธารณสุขที่กาวหนาเอ้ือให ประชากรมีอายุที่ยืนยาวข้ึน

วัยแรงงานแมจะมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึนจาก 41 ลานคนใน พ.ศ. 2543 เปน 45 ลานคนโดยประมาณใน พ.ศ. 2563 หากแตโดยสัดสวนประชากรแลว วัยแรงงานจะมีสัดสวนลดลง จากรอยละ 65.91เปนรอยละ 64.21 ใน พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563 ตามลําดับ

รูปที่ 2-4 แผนภาพแสดงสัดสวนของประชากร 3 กลุม (ป พ.ศ. 2550-2563)

ที่มา: ศ.ดร.เก้ือ วงศบุญสินและคณะ, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ความเปลี่ยนแปลงจากการคาดการณดังกลาวชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการเตรียมการเชิงนโยบายเพื่อปรับตัวในระดับโครงสรางเชิงยุทธศาสตรอยางเรงดวน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนองคประกอบหน่ึงในการบริหารจัดการโครงสรางใหมอันเน่ืองมาจากความเปลี่ยนแปลงของประชากรไทย อาทิ เชน การยกระดับผลิตภาพของแรงงานและธุรกิจอุตสาหกรรมโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือลดชองวางและเพ่ิมคุณภาพการศึกษาของเด็กและเยาวชนในวัยเรียน หรือการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือสรางผูประกอบการใหมที่มาจากประชากรกลุมสูงอายุ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสนับสนุนวิทยาการทางการแพทยเพ่ือชีวิตที่ยืนยาว (Longevity Medicine) เปนตน

Page 10: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 10

1.2) วิกฤตทางดานพลังงานและส่ิงแวดลอม มีความรุนแรงและมีผลกระทบกวางขวางไปทั่วโลก ประเทศไทยบริโภคและใชพลังงานในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในปริมาณสูงจึงประสบปญหาในหลายดานหลายระดับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะเพิ่มบทบาทมากข้ึนในภาวะวิกฤตดาน พลังงานและสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม เม่ือเกิดความจําเปนที่จะตองประหยัดพลังงานมากข้ึนทั้งใน ระดับประเทศและระดับปจเจกบุคคล กอใหเกิดกระบวนการและนวัตกรรมการใชชีวิต และการทํางานที่ลดไปจนถึงเลิกใชพลังงาน

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางดานสิ่งแวดลอมน้ันมีหลายประเภท อาทิ เชน ในการจัดการกับสาธารณภัย ซึ่งมีหลากหลายกระบวนการนับตั้งแตการใชคอมพิวเตอรในการจัดทําแบบการพยากรณ (Prediction Modelling) การใชระบบอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคมในการตรวจติดตามสภาวะแวดลอมการสรางระบบเตือนภัยอิเล็กทรอนิกสใหกับสาธารณะและผูที่อาจไดรับผลกระทบ การวางแผนในสภาวะฉุกเฉิน (Emergency Planning) ระบบเตือนภัยที่ทันการณ (Real Time Warning) ระบบการจัดการกูภัยและการแกวิกฤต (Dispatching and Crisis Management) ระบบประเมินความเสียหาย (Damage Assessment) และผลกระทบที่เกิดข้ึนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม (Impact Assessment)

1.3) การกระจายอํานาจการปกครอง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 284 ไดบัญญัติใหมีกฎหมายกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ เพ่ือพัฒนาการกระจายอํานาจเพ่ิมข้ึนใหแกทองถิ่นอยางตอเน่ือง โดยใหอํานาจแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ดําเนินการถายโอนภารกิจการใหบริการสาธารณะ กระจายอํานาจทางการเงิน การถายโอนบุคลากร พัฒนาระบบตรวจสอบและการมีสวนรวมของประชาชน ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ กฎหมายและระเบียบใหมีความสอดคลอง พรอมทั้งกํากับดูแลการถาย โอนและสรางระบบประกันคุณภาพบริการสาธารณะ ทั้งน้ีมีภารกิจที่กําหนดไว 6 ดาน ประกอบดวย

ดานโครงพื้นฐาน ดานงานสงเสริมคุณภาพชีวิต (สงเสริมอาชีพ สวัสดิการสังคม นันทนาการ การศึกษา สาธารณสุข)

ดานการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบรอย (สงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค สิทธิเสรีภาพของประชาชน การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถิ่น การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และการรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน)

ดานการวางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการทองเที่ยว(การวางแผนพัฒนาทองถิ่น การพัฒนาเทคโนโลยี การสงเสริมการลงทุน การพาณิชยกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรม และการทองเที่ยว

ดานการบริหารจัดการ และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม (คุมครองดูแล บํารุงรักษา ใชประโยชนจากปาไม ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ)

ดานศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น (การจัดการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการจัดการดูแลพิพิธภัณฑและหอจดหมายเหตุ)

1.4) ภาวะการมีงานทําและตลาดแรงงานในอนาคต การจางงาน (Employment) และตลาดแรงงาน (Labor Market) นับเปนหัวใจสําคัญในการบริหารประเทศ ในแงการบริหารแรงงาน และทรัพยากรมนุษย สังคมไทยมีความทาทายในอนาคตในหลายมิติดวยกัน คือ

สองทศวรรษที่ผานมา ภาคการเกษตรทํามูลคาเชิงเศรษฐกิจใหกับประเทศลดลงตามลําดับ จึงจําเปนที่ตองยกระดับผลิตภาพของภาคเกษตรทั้งระบบ โดยเฉพาะพัฒนาการลาสุด ที่ทั่วโลกมีความตองการพืชพลังงาน ทําใหพืชอาหารเริ่มขาดแคลนและมีราคาสูงข้ึน

เกษตรกรนับแสนคนไดเลิกอาชีพในภาคการเกษตร หันมาทํางานใน ภาคบริการและอุตสาหกรรมเปนแรงงานไรฝมือ (Unskilled Labor)

สังคมไทยมีความสามารถในภาคบริการ มีอุตสาหกรรมบริการขนาดใหญ เชน การทองเที่ยว และภาคธุรกิจ คมนาคมสื่อสาร การศึกษา การแพทย การเงิน การขนสง รวมทั้งกิจกรรมทางวัฒนธรรม และการกีฬา

ภาคอุตสาหกรรมหลายประเภทมีแนวโนมจะเติบโตตอไป และมีอุตสาหกรรมใหมๆ ที่เรียกวาเศรษฐกิจสรางสรรค(Creative Economy) เกิดข้ึน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนอกจากเปนอุตสาหกรรมในตัวเองแลว ยังเปน องคประกอบสําคัญในอุตสาหกรรมอ่ืนอีกดวย ในอนาคตเม่ือนโยบายการผลิตในภาคการเกษตรมีความชัดเจนและการยกระดับผลิตภาพของเกษตรกรรมทั้งระบบทั้งเพ่ือพืชอาหารและพืชพลังงานไดรับการกําหนดใหเปนวาระสําคัญของชาติแลว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะตองเขามามีบทบาทอยางนอยเปนสวนหน่ึง ของวาระดังกลาว ตั้งแตระบบฐานขอมูลไปจนถึงปญญาประดิษฐของภาคการเกษตร

Page 11: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 11

องคประกอบที่สําคัญของการพัฒนาอาชีพและอุตสาหกรรมตาง ๆ นอกจากเทคโนโลยีแลว ทรัพยากรมนุษยถือเปนปจจัยสําคัญ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนั้น จะทําใหเยาวชนในยุค Post-Modern หรือ Post-Industrialization เขาสูตลาดแรงงานในอนาคตในสาขาอาชีพตางๆ ที่แตกตางไปจากอาชีพในอดีตกลาวคือ ความเปนปจเจกในการทํางานและอาชีพสูงข้ึน แรงงานไรสังกัดหรือแรงงานอิสระ (Freelancing) มากข้ึน การประกอบกิจการหลากหลายอาชีพในชวงชีวิตการทํางานมีมากข้ึน แมกระทั่งการทํางานที่ใชทักษะความรู ตางศาสตรเชิงบูรณาการ จะมีมากข้ึน หากเปนเชนน้ี นัยยะที่ตามมาคือจะมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางเขมขนกวางขวาง การศึกษาในอนาคตจะตองเปลี่ยนรูปแบบและการจัดการ เพ่ือใหบัณฑิตมีความสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมของแรงงานในอนาคตได และเปนสภาพแวดลอมที่มีความม่ันคงในอาชีพใดอาชีพหน่ึงนอยกวาปจจุบัน ซึ่งหมายความวาบัณฑิตที่จะมีอาชีพที่ม่ันคงน้ันควรมีคุณสมบัติที่ดีทางวิชาการ พรอมกับคุณสมบัติและความสามารถในการสื่อสาร การเรียนรูดวยตนเอง การตัดสินใจบนความไมแนนอนและความเสี่ยง การทํางานเปนทีม ทักษะทางดานภาษา การแกปญหาตลอดจนความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม และคุณธรรมจริยธรรมบนพ้ืนฐานของธรรมาภิบาล

ตารางที ่2-4 แสดงการเปรียบเทียบวิถีชีวติและทักษะของเยาวชนในยคุ Industrial และ Post-

industrial

ที่มา: Kai-ming Cheng, 2007.

1.5) ผลกระทบจากอาเซียน กลุมภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใตหรืออาเซียน ประกอบดวย อินโดนีเซีย

มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย บรูไน ดารุสซาลาม เวียตนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสหภาพพมา เกิดข้ึนจากการรวมตัวกันในลักษณะของกลุมประเทศในภูมิภาค เพ่ือรวมพลังตอรองกับภูมิภาคอ่ืน หรือเพ่ือสรางเงื่อนไขความรวมมือระหวางกันเอง มีปฏิญญาที่ระบุความตองการของสมาชิกที่จะเรงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม พรอมกับสงเสริมสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค โดยวิสัยทัศนอาเซียนที่เรียกวา ASEAN Vision 2020 เปนความเห็นพองกันของผูนําในประเทศสมาชิกที่ จะรวมมือกันในการพัฒนาและอยูรวมกันในสังคมที่เอ้ืออาทรตอกัน ในป พ.ศ. 2546 ผูนําอาเซียนไดตกลงที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ข้ึนใหสําเร็จภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมี 3 เสาหลัก คือ ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Security

Page 12: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 12

Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) นอกจากน้ีอาเซียน ยังเปนกลไกในการประสานความรวมมือในดานตาง ๆ กับประเทศและภูมิภาคอ่ืน ๆ เชน อาเซียนกับประเทศจีน ญี่ปุน และเกาหลี (ASEAN+3), ASEAN-India, ASEAN-EU

การรวมตัวของอาเซียนมีผลตอเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในหลากหลายมติ ิเพราะโดยธรรมชาติของประชาคมจะทําใหมีการเคล่ือนยาย (Mobility) เกิดข้ึนในลักษณะตาง ๆ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการบริหารรัฐกิจ (e-Government)การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศ (Information Infrastructure) เทคโนโลยีเพ่ือสังคม (e-Society) เปนแกนสําคัญนอกเหนือจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เอ้ือตอภาคการผลิตอ่ืนๆซึ่งในแงของตลาดการคาและความรวมมือน้ัน เม่ือรวมกลุมแลวยอมตองวางกลยุทธในการแขงขันกับกลุมภูมิภาคอ่ืน โดยมีเปาหมายตลาดและความรวมมือที่สําคัญ เชน จีน และอินเดีย เม่ือทั่วโลกตระหนักวาเปนศตวรรษของทั้งสองประเทศดังกลาว ความรวมมือดังกลาวยิ่งเดนชัดข้ึน เม่ือทั่วโลกประจักษในผลของภาวะโลกาภิวัตนที่เกิดข้ึนในกรณีการลุกลามของวิกฤตการเงินของโลกอันเน่ืองมาจากปญหาสินเชื่อดอยคุณภาพ (Subprime) ในประเทศสหรัฐอเมริกา

1.6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสังคมแหงการเรียนรู ในรอบ 10 ปที่ผานมา หนวยงานตั้งแต ระดับประเทศไปจนถึงองคกรตางตระหนักถึงการเขาสูยุคสังคมแหงการเรียนรูหรือสังคมฐานความรูหรือเศรษฐกิจฐานความรู แมกระทั่งกรอบนโยบาย IT 2010 และแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที่ 1 ก็ไดกําหนดแนวทางตาง ๆ เพ่ือพัฒนาไปสูเปาหมายสังคมแหงการเรียนรู แตภาวะของสังคมแหงการเรียนรูที่เกิดข้ึนจากแรงกดดันของกระแสโลกาภิวัตนก็ดี หรือจากวิวัฒนาการตอบสนองของสังคมภายในก็ดี คอนขางจะมีความรวดเร็วและมีอิทธิพลมากกวาการกําหนดแผนงานของภาครัฐทางดานน้ี จึงมองเห็นความจําเปนที่จะตองมีการบูรณาการศาสตรตางๆ มากข้ึน กวาเดิม ทั้งที่เปนการทํางานรวมกันของผูเชี่ยวชาญตางสาขา (Multidisciplinary หรือ Interdisciplinary) และ แนวโนมในอนาคตที่จะตองมีการผลิตและพัฒนาผูเชี่ยวชาญที่มีความเชี่ยวชาญศาสตรหลายแขนงในบุคคลคนเดยีวกัน (Transdisciplinary)

นอกจากน้ีในภาพกวางของการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมน้ัน ยังสามารถพิจารณาไดจาก แนวโนมกระแสหลักของโลกและของประเทศ เชน เทคโนโลยีเพ่ือการแกปญหาโลกรอน ชีววิทยาศาสตร(Life Sciences) ผลิตภัณฑขนาดเล็กแตฉลาด เทคโนโลยีเพ่ือการมีอายุยืนยาว เทคโนโลยีเพ่ือจัดการกับปญหาภัยพิบัติและโรคระบาด เทคโนโลยีเพ่ือการมีสวนรวมและปฏิสัมพันธในสังคม (Socialization) ทั้งในระดับสังคม และระดับโลก เทคโนโลยีเพ่ือความพอเพียงของชุมชน เทคโนโลยีระหวางปจเจกและรัฐ ไปจนถึงเทคโนโลยีเพ่ือความมั่นคง เทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาประชาธิปไตย เปนตน

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากมุมของเทคโนโลยีเอง จึงมีประเด็นไมเพียงการพัฒนาเพ่ือตอบสนองตอความตองการของวงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทาน้ัน แตจะตองตอบสนองตอการพัฒนาเทคโนโลยีอ่ืนดวย

1.7) การปฏิรูปการศึกษารอบที่สอง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นับเปนนิมิตใหมของวงการศึกษาไทยที่ตองการจะปฏิรูประบบการศึกษาไทย โดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต การมีสวนรวมของสังคมในการจัดการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู แตปญหาคุณภาพของผลผลิตของระบบการศึกษาคือความรูในผูจบการศึกษายังไมเปนที่นาพอใจ ไมวาจะเปนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา หรืออุดมศึกษาก็ตามเหตุผลประการสําคัญคือพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ แตพัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและเนื้อหายังไมเกิดผล ตามเจตนารมณของกฎหมาย

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีบทบาทตอ การปฏิรูปการศึกษาในระยะตอไปในหลายลักษณะ รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีอุปกรณคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตในสถานศึกษา และครอบครัว การจัดทําเน้ือหาสาระทางวิชาการทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา การเพ่ิมพูนขีดความสามารถใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาในพ้ืนที่ การใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือฝกทักษะในการผลิตชางอาชีวะที่มีคุณภาพสูง การเชื่อมโยงเครือขายขอมูลของมหาวิทยาลัยเพ่ือประโยชนในการเรียนการสอนและการวิจัย การศึกษาในระบบ online การจัดการศึกษาทางไกลสําหรับผูดอยโอกาสและการจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีสําหรับผูพิการดานตางๆ เปนตน

1.8) คานิยมและความขัดแยงในยุคโลกาภิวัตน กลาวกันวากลไกอันทรงพลังจํานวนหน่ึงที่จะหลอหลอมโลกาภิวัตน คือ สื่อมวลชนเสรี ความขัดแยงระหวางชนชาติ ศาสนา และประเทศ การแพรกระจายของอาวุธทําลายลาง การกอการรายและอาชญากรรมทั้งในรูปแบบเดิมและผานสื่ออิเล็กทรอนิกส รวมไปถึงคานิยมของคนรุนใหมที่อยูในสังคมดังกลาวขางตน สิ่งตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตอันเน่ืองมาจากคานิยมและความขัดแยงตางๆ เหลาน้ีมีความไมแนนอนสูง แตในขณะเดียวกันหากเกิดข้ึน ก็สามารถจะกอใหเกิดผลกระทบสูงตอสังคมประเทศและสังคมโลกไดเชนเดียวกัน

คานิยมและความขัดแยงตางๆในอนาคต จะเห็นไดชัดเจนจากความแตกตางระหวางสังคมประเทศที่พัฒนาแลว และประเทศที่กําลังพัฒนาซึ่งปจจัยที่สําคัญคือความยากจน ประเทศที่พัฒนา

Page 13: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 13

แลวจะควบคุมระบบเศรษฐกิจสวนใหญของโลก สวนประเทศที่กําลังพัฒนาจะวนเวียนอยูกับการแกไขปญหาความยากจนของพลเมือง ความทาทายที่สําคัญคือการสรางสมดุลของสองสิ่งดังกลาว ลดการเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ และสรางสิ่งที่เรียกวาโลกาภิวัฒนยั่งยืน (Sustainable Globalization) คานิยมจะเปนประเด็นที่สําคัญข้ึนอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมเด็กและเยาวชน ซึ่งมีจํานวนกวาสองพันลานคนและสวนใหญอยูในประเทศกําลังพัฒนา

สําหรับสังคมไทยเอง การคาดการณอนาคตของเยาวชนไทยเปนนามธรรมมากกวารูปธรรมของการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมไทยที่เปนสังคมเปดกวาง สามารถรับสิ่งใหมไดอยางรวดเร็ว จนบางครั้งไมเชื่อมโยงกับหลักของสังคม เกิดความเสียหายในระดับตาง ๆ ตัวอยางที่ชัดเจนคือผลกระทบดานลบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตอเยาวชน ทั้งตอประเด็นคุณธรรมจริยธรรม ตอเวลาที่เสียไปโดยไมเกิดผล หรือการบริโภคสื่อของเยาวชนที่มีเน้ือหาดานลบมากกวาดานบวก

ในเชิงเทคโนโลยีและนวัตกรรมแลว มีบทบาททั้งที่เอ้ือตอคานิยมที่ดีและสนับสนุนใหเกิดความขัดแยงได สิ่งที่ขาดคือการสรางความรูความเขาใจในรอยตอระหวางมนุษยกับเทคโนโลยี (Man-Machine Interface) ซึ่งเปนการมองเทคโนโลยีในมิติทางดานสังคมและพฤติกรรมของมนุษย รวมทั้งการทําความเขาใจจากการศึกษาวิจัยถึงผลกระทบของเทคโนโลยีและกับดักทางสังคมที่ตามมา

2) แนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในระยะยาวและนัยตอการประยุกต

2.1) ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ซึ่งเปนการจําแนกตามกลุมเทคโนโลยีทั้งที่ใชงานไดเองและที่ตองผสมผสานกับกลุมเทคโนโลยีอ่ืนเพ่ือใชงาน ตามการวิเคราะหของศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติไดจําแนกเปน 3 กลุมหลัก คือ เทคโนโลยีฮารดแวร เทคโนโลยีซอฟตแวร บริการและเนื้อหา และเทคโนโลยีสื่อสาร เครือขาย และการแพรภาพกระจายเสยีง ซึ่งแตละประเภทก็มีเทคโนโลยี

Hardware: รวมถึง hard disk, RFID, Embedded system, plastic electronic, electronic manufacturing ซึ่งประเด็นในการพัฒนาประกอบดวยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนา การผลิตวิศวกรและชางเทคนิคที่มีคุณภาพ การสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการลงทุนและการตั้งฐานอุตสาหกรรมของบริษัทขามชาติ การบริหารจัดการของเสียและสารพิษ และการสงเสริมผูประกอบการไทย

Software, Services, Content: รวมถึง open source, web 2.0, semantic web, mobile convergence, biometrics, digital content, data mining ซึ่งประเด็นในการพัฒนาประกอบดวย การผลิตและฝกอบรมแกนักซอฟตแวรในสาขาที่ตรงตอความตองการของธุรกิจอุตสาหกรรม การลงทุนของรัฐในการผลิตสื่อและเน้ือหาดิจิทัลโดยเฉพาะอยางยิ่งเพ่ือการศึกษา การลงทุนและปรับระบบการทํางานของหนวยงานของรัฐในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสใหตอเน่ือง การสงเสริมการใชซอฟตแวรใหมของไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งที่เปน open source การสนับสนุนใหเกิด Creative Economy การสงเสริมความเปนเลิศของการสรางนวัตกรรมซอฟตแวร บริการ และเน้ือหาโดยเชื่อมโยงภาคอุดมศึกษากับภาคธุรกิจการสรางแหลงเรียนรูดิจิทัลโดยเฉพาะอยางยิ่งในพ้ืนที่ดอยโอกาส ที่สําคัญคือแนวโนมของการใชซอฟตแวรในลักษณะของความรวมมือแบบเปด (Open/Mass Collaboration) ซึ่งใหญและกวางขวางอยางตอเน่ือง ดังเชนที่ Linux, Wikipedia, Facebook, YouTube, Human Genome Project เปนอยู

Communications, Networks, Broadcasting: รวมถึง backbone, last mile, cellular mobile,broadband wireless, quantum cryptography, digital TV&radio ซึ่งประเด็นในการพัฒนา ประกอบดวยการวิเคราะหเชิงนโยบายถึงข้ันตอน การลงทุน และการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือนําไปสูโครงขายหลัก โครงขายปลายทาง การสื่อสารความเร็วสูง ระบบไรสายและเคลื่อนที่เพ่ือใหมีความครอบคลุม ลดความเหลื่อมล้ําทางดิจิทัล และคุณภาพของการใหบริการที่คุมครองผูบริโภค นอกจากนี้ยังมีประเด็นในสวนของการรักษาความปลอดภัยของระบบมาตรฐานเทคโนโลยีสําหรับระบบโทรทัศนและวิทยุดิจิทัล การแขงขันการใหบริการที่เปนธรรม ความถี่ไดรับการจัดสรรโดยยึดประโยชนสูงสุดของสาธารณะเปนหลัก และการนําเอาเทคโนโลยีเหลาน้ีไปประยุกตใชกับวงการการศึกษาและสวนประกอบยอย เปนตนวา

2.2) เปาหมายระดับโลกและระหวางประเทศ ถือเปนเครื่องมือเชิงนโยบายที่มีความสําคัญไมนอยกวาเปาหมายในประเทศ หากวาประเทศไทยตองการที่จะมีทาทีและนโยบายที่รองรับและไดประโยชนจากโลกาภิวัตนและกฎเกณฑระหวางประเทศตาง ๆ ที่ตามมา ซึ่งมีหลายกลุม (Platforms) ที่มีอิทธิพลและผลกระทบตอการดําเนินนโยบายของไทย นอกจากน้ียังควรอางอิงกับมิติตาง ๆ ของระบบการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของนานาชาติ รวมทั้งการเรียนรูนโยบายและแนวทาง ใหม ๆ จากประเทศที่มีความเจริญทางดานน้ี อยางไรก็ตาม ควรตระหนักวาแนวคิดตาง ๆ เหลาน้ี

Page 14: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 14

จะตองนํามาวิเคราะหและประยุกตใชตามบริบทของสังคมไทย และยังคงตองตระหนักวา จุดออนของสังคมไทยคือการนําแผนไปสูการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเน่ือง

2.3) ความเช่ือมโยงระหวางเทคโนโลยีและเปาหมายทั้งในระดับสังคมและในระดับเทคนิค เปนส่ิงที่จะชวยทําใหการจัดทํานโยบายและแผนมีความชัดเจน และเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีปจจัยที่มีความหลายหลาก ซึ่งสามารถจัดเปนกลุมเพ่ือการวิเคราะห เชน ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานระหวางประเทศ นอกจากน้ียังสามารถพิจารณานโยบายไดจาก การจัดลําดับความสําคัญของเทคโนโลยีและมาตรการตางๆ โดยพิจารณาจากความเขมแข็งและความไดเปรียบเชิงแขงขันกับผลกระทบและผลประโยชนตอสังคมที่จะได รวมทั้งจดัลําดับของมาตรการตางๆ ตามเง่ือนไขดานเวลาที่เหมาะสม

2.4) การเปล่ียนแปลงรูปแบบของธุรกิจ (Business Transformation) ในอนาคต รูปแบบของธุรกิจจะเปลี่ยนไป จากการที่เทคโนโลยีดิจิทัลเปลี่ยนวิธีทําธุรกิจ เปนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปลี่ยนธรรมชาติและรูปแบบของตัวธุรกิจเอง ซึ่งที่ผานมา สังคมไทยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปน ”เครื่องมือ” (Tool) และเปนเทคโนโลยีที่เอ้ือ (Enabling Technology) ตอการทําธุรกิจ แตระยะตอไปเทคโนโลยีเหลาน้ีจะพัฒนาเปนปจจัยที่ปนรูปแบบของธุรกิจเอง (Constitutive Technology)

ปจจุบันระบบเศรษฐกิจใชประโยชนจากเครือขายดิจิทัลดวยประสิทธิภาพและความเร็วกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในองคกรและระบบการบริหารจัดการและใหบริการขององคกร ประโยชนมีตั้งแต การพัฒนาผลิตภัณฑที่เร็วข้ึน การลดคาใชจาย ธุรกรรมที่รวดเร็วและแมนยําข้ึน ระบบลูกคาสัมพันธที่มีประสิทธิภาพ ในอนาคตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะกอใหเกิดความเปลี่ยน แปลงในอีกข้ันหน่ึง ซึ่งผสมผสานระหวางธุรกิจและเทคโนโลยีแลวเกิดเปนนวัตกรรมของธุรกิจใหมๆ

2.5) นโยบายพื้นฐาน จะเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดความตอเน่ือง โดยการกําหนดนโยบายข้ันต่ํา (Minimum Policy Requirements) จํานวนหน่ึงเพ่ือเปนกรอบการดําเนินงานอยางตอเน่ืองโดยยึดถือความตองการของสังคมไทยในระยะยาวที่เหมาะสมและเห็นพองเปนหลัก และมีการศึกษาวิเคราะหอยางเปนระบบรองรับถึงความถูกตองแมนยํานโยบายพ้ืนฐานเหลาน้ีจะเปนหลักประกันวา การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะไมถดถอยทั้งในเชิงนโยบายและในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ

2.6) การปฏิรูปองคกรกํากับและสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศ เปนเง่ือนไขสําคัญในการขับเคล่ือนนโยบายและการดําเนินการตามนโยบาย ทั้งที่เปนการดําเนินการตามกฎหมายและการสนับสนุนใหเกิดความเจริญกาวหนาในประเทศ

ดังน้ัน การจัดทํานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 3 หรือ ICT-2020 จึงควรมีการพิจารณาเพ่ือปรับปรุงองคกรกํากับและสงเสริมใหตรงตามความตองการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือตองมีการสั่งการขามหนวยงานของกระทรวง ทบวง กรม และการสงเสริมภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จึงสมควรที่จะทบทวนการดําเนินงานขององคกรในปจจุบัน เชนคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแหงชาติ รวมทั้งการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานสําคัญ

2.4 นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวของกับ ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที ่2

การพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย เน่ืองจากคนเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม(เกษตร อุตสาหกรรมการผลิต และบริการ) การพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาและบริหารทองถิ่นดวยตนเอง รวมถึงฟนฟูและสืบสานคุณคาความหลากหลายของวัฒนธรรมไทยทั้งที่เปนวิถีชีวิตประเพณี คานิยมที่ดีงาม ภูมิปญญาทองถิ่น

การสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนการแกปญหาดานสิ่งแวดลอมไวหลายๆ เรื่อง รวมถึงการเตือนภัยจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ

การปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยมุงเนนที่การบริหารงานอยางโปรงใสทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน และการจัดตั้งองคกร/สถาบันเฉพาะทาง เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนา

2.5 นโยบายของผูบรหิารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2

แผนแมบทที่เปนไปไดในทางปฏิบัติ แผนแมบทตองใชเปนเครื่องมือที่ชี้ใหเห็นจุดออน และมีขอเสนอแนะในการแกไขจุดออน ตองชี้ใหเห็นปญหาที่ผานมาทั้งในแงมุมของ IT และ CT ตองเสนอวิธีการแกไขปญหาที่เปนกลาง

Page 15: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 15

2.6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกบั ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2 1) ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู การเขาถงึ

เทคโนโลยีสารสนเทศมีมากข้ึน คนไทยมีคอมพิวเตอรใช 57 เครื่องตอประชากรพันคน การเขาถึงเครือขายอินเตอรเน็ต 116.7 คนตอประชากรพันคน แตยังคงต่ํากวาอีกหลายประเทศมาก ตองหากลไกในการเรงขยายพ้ืนที่สารสนเทศใหเด็กและเยาวชน

2) ยุทธศาสตรการปรบัโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและย่ังยืน ภาคบริการมีฐานที่กวางข้ึนจากความกาวหนาของบริการดานโทรคมนาคมและการสื่อสาร มีปจจัยสนับสนุนจากการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน และโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน การพัฒนาโครงขายและบริการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงความคุมคาในการลงทุนและมุงเนนใหมีการแขงขันดานการใหบริการอยางเสรี

การสนับสนุนภาคการผลิต ภาคธุรกิจ และบริการ การรองรับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส สําหรับใหบรกิารแกประชาชน และภาคธุรกิจ

3) ยุทธศาสตรการขับเคล่ือนยุทธศาสตรสูการปฏิบัต ิ การจัดหาคอมพิวเตอรเพ่ือการเรียนการสอนอยางทั่วถึง การลงทุนเพ่ือพัฒนาบริการภาครัฐ พัฒนาโครงขาย IT ภาครัฐและระบบ e-Government เชน e-Health, e-Education และ e-Services เปนตน

การลงทุนเพ่ือสรางโอกาสการเขาถึงบริการพ้ืนฐานที่สมดุลและเปนธรรม ขยายโครงขายการใหบริการโครงสรางพ้ืนฐานโทรคมนาคมใหครอบคลุมพ้ืนที่ชนบท การลงทุนดาน IT ในโรงเรียนและชุมชน สรางโอกาสในการเขาถึงขอมูลขาวสาร และพัฒนาความรูของนักเรียนและประชาชนในชนบท

สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานขอมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงขายขอมูลขาวสาร ระหวางหนวยงานระดับนโยบาย ตลอดจนระดับพ้ืนที่และทองถิ่น

ดําเนินโครงการปรับปรุงกฎ ระเบียบ และขอกฎหมายที่เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) สรุปนโยบายการจัดทําแผนแมบท ฯ ฉบบัที่ 2

4.1) สานตอกรอบนโยบาย IT 2010 e-Industry, e-Commerce, e-Government, e-Education, e-Society

4.2) พิจารณาทบทวนแผนแมบทฯ ICT # 1 พิจารณาสงเสริมหรือพัฒนาตอเน่ืองสําหรับแผนงาน/โครงการที่ลงทุนไปมากแลว เชน e-Government และแผนงาน/โครงการที่เก่ียวของกับปจจัยพ้ืนฐานสําคัญในการพัฒนา ICT เชน HR, Infrastructure

พิจารณาผลักดันตอหรือยกเลิกแผนงาน/โครงการที่ไมได/ไดงบประมาณนอย พิจารณาความเหมาะสมกับสถานการณใน 5 ปขางหนา และความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล/แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10

4.3) ความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล เนนการใช ICT ในการสรางเครือขายและการเรียนรู รวมถึงการสรางนวัตกรรม

4.4) ความสอดคลองกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เนนการลงทุนดานโครงสรางพ้ืนฐาน การพัฒนาฐานขอมูล การใหความสําคัญกับ ICT เพ่ือสรางโอกาสเขาถึงขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง และพัฒนาบริการภาครัฐ ที่จะนําไปสูการพัฒนาประสิทธิภาพ/ลดตนทุนภาคเอกชน

ใหความสําคัญกับประเด็นเชิงนโยบายที่สมาคม/ผูที่เก่ียวของนําเสนอ

2.7 ยุทธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2556 กระทรวงวัฒนธรรม ไดกําหนด

วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี 2.7.1 วิสัยทศันกระทรวงวัฒนธรรม

เปนองคกรในการบูรณาการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสูประชาชน เพ่ือความภูมิใจในความเปนไทยและมีวิถีชีวิตที่ดีงามบนพ้ืนฐานวัฒนธรรม นําสูสังคมสันติสุขอยางยั่งยืน

2.7.2 พันธกิจกระทรวงวัฒนธรรม พันธกิจ 4 ประการของ กระทรวงวัฒนธรรม ไดแก (1) ทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะและวฒันธรรมของชาติ และสนองงานสําคัญของสถาบัน ชาติ ศาสนา

พระมหากษัตรยิใหมีการสืบทอดและพัฒนาอยางยั่งยืน แตละทองถิ่นมีเอกลักษณทางวัฒนธรรมของตนเอง มีกิจกรรมระดับชาติที่เก่ียวของกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

(2) บูรณาการศาสนา ศิลปะและวฒันธรรมสูประชาชนและชุมชน

Page 16: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 16

ประชากรมากกวารอยละ 60 มีโอกาส มีจิตสํานึกและเขาในการดํารงชีวิตตามรากฐานทางวัฒนธรรมของตนและรูเทาทันโลก

เด็กและเยาวชนไทยมีความสามารถทางดานสุนทรียภาพ มีเว็บไซด เผยแผธรรมะสูเด็ก เยาวชนและประชาชน รอยละ 30 ของแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมจะไดรับการพัฒนาและสงเสริมจนสมบูรณ มีพิพิธภัณฑชนชาติไทย หอศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย หอสมุดแหงชาติแหงใหม

(3) นําทุนทางวัฒนธรรมของประเทศมาเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ และสรางคณุคาทางสังคมทั้งระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

มีศูนยทัศนศึกษา ศิลปะ และวัฒนธรรม (Art & Culture Edutainment Center) ประชาชนทุกกลุมมีโอกาสรวมกิจกรรมทางดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม เพ่ือสรางความสมานฉันท และเอ้ืออาทรตอกัน

มีแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมเกิดข้ึนอยางทั่วถึงทุกภาคและเชื่อมโยงสูประเทศใกลเคยีง

ภูมิปญญาไทยเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ (4) บูรณาการความรวมมือในการบริหารจัดการองคความรู และมรดกศลิปวฒันธรรมใหเกิด

ประโยชนกับสงัคมไทย และสงัคมโลก เกิดเครือขายทางวัฒนธรรมทุกประเภทไมต่ํากวา 60,000 เครือขายทั่วประเทศภายใน ชวงแผนฯน้ี

มีระบบฐานขอมูลทางดานสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร บริหารจัดการสําหรับดําเนินการดานวัฒนธรรมและใหบริการองคความรูแกประชาชน

2.7.3 เปาประสงคกระทรวงวัฒนธรรม เปาประสงคกระทรวงวัฒนธรรม ไดแก (1) ประชากรโดยสวนรวม มีคุณภาพ มีความสามารถ มีคุณธรรม และธํารงคไวซึง่สถาบันชาติ

ศาสนา พระมหากษัตรยิ เห็นแกประโยชนสวนรวมพ่ึงตนเองได สามารถแขงขันและอยูรวมในสังคมโลกไดอยางทดัเทยีมกับนานาชาต ิ

(2) ประชากรมีคุณภาพชีวติที่ดี มีความสุข อยูในสภาพแวดลอมที่ดี มีโอกาสในการเรียนรูรากฐานทางวฒันธรรมของตนและรูเทาทันโลก

(3) สังคมมีความสมานฉันท เอ้ืออาทรตอกัน ดํารงไวซึ่งคุณธรรม และสามารถพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานวัฒนธรรม

(4) สถาบันทางสังคม ไดแก สถาบันครอบครัว สถาบันทางศาสนา ฯลฯ มีความเขมแข็งทําหนาที่ไดอยางเต็มที ่

2.7.4 ประเด็นยุทธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ไดกําหนดประเด็นยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2552-2556 ไว 4

ประเด็น ดังน้ี (1) ประเด็นที่ 1 รักษา สืบทอด วัฒนธรรมของชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นให

คงอยูอยางม่ันคง (2) ประเด็นที่ 2 สรางคานิยม จิตสาํนึก และภมิูปญญาคนไทย (3) ประเด็นที่ 3 นําทุนวัฒนธรรมของประเทศมาสรางคุณคาทางสังคมและเพิ่มมูลคาทาง

เศรษฐกิจ (4) ประเด็นที่ 4 การบริหารจดัการองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม (5) ประเด็นที่ 5 การจัดการศึกษาดานศลิปวัฒนธรรม

ตารางที่ 2-5 สรุปยทุธศาสตรกระทรวงวฒันธรรม ซึ่งสอดคลองกับแผนการปฏิบัตริาชการตามภารกิจของกระทรวง

วัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค

1 รักษา สืบทอด วัฒนธรรมของ ชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยูอยางมั่นคง

1. ศึกษา วิจัย อนุรักษมรดกทรัพยสินทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมใหเปนระบบโดยใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย

2. สงเสริม ฟนฟู สืบทอด ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย 3. ฟนฟู สืบทอด ภูมิปญญาไทย 4. ธํารงรักษาวัฒนธรรมระดับชาติท่ีเก่ียวเนื่องกับ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

2 สรางคานิยม จิตสํานึก และภูมิปญญาคนไทย

1. สรางและพัฒนาแหลงเรียนรูเพ่ือใหโอกาสแกประชาชนอยางท่ัวถึงท้ังในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

2. สงเสริมใหเกิดโอกาสแหงการเรียนรูสรางสรรคและพัฒนาสูความเปนเลิศทางศิลปะและวัฒนธรรมดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง ท้ังในระบบ นอกระบบ และตลอดชีวิต

3. สงเสริมการนําหลักธรรมทางศาสนาใชในการดําเนินชีวิตอยางสอดคลองกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

4. การสรางคานิยม จิตสํานึกในสังคมไทยในกลุมคนทุกกลุม ทุกระดับใหเห็นคุณคาในศิลปวัฒนธรรม

Page 17: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 17

ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค 3 นําทุนวัฒนธรรมของประเทศมา

สรางคุณคาทางสังคมและเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ

1. การศึกษาวิจัยและประยุกต สรางสรรคภูมิปญญาทองถิ่นใหเกิดคุณคา 2. สงเสริมและสนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม 3. สงเสริมกิจกรรมทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเพ่ือสรางความสมานฉันทใหเกิดขึ้นกับคนใน

ชาติ 4. ใชมิติทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมเปนส่ือในการเสริมสรางความรวมมอืระหวางประเทศ

4 บริหารจัดการองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมความเปนเลิศและอาชีพ

1. สงเสริมใหคนในชุมชนมีสวนรวมและดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมดวยตนเอง 2. ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบฐานขอมูล เพ่ือการบริหารจัดการ การบริการ

การเผยแพรและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการความรวมมือและสรางเครือขายในการดําเนินงานทางศิลปวัฒนธรรม 4. แกกฎหมาย ระเบียบและกําหนดคุณภาพมาตรฐาน ตลอดจนการวิจัยการติดตามประเมินผล

การดําเนินงาน ที่มา: แผนปฏิบัตริาชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2556 กระทรวงวฒันธรรม

นอกเหนือจากยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรมแลว กระทรวงไดจัดทําแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (2550 -

2554) เพ่ือใหมีแผนกลยุทธเฉพาะเรื่อง และเปนการดําเนินการตามที่กําหนดไวในภารกิจหนาที่ในการบริหารราชการแผนดิน ใชเปนแนวทางในการพัฒนา ไดกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี 2.8 แผนแมบทวฒันธรรมแหงชาติ (2550 - 2559)

แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ(พ.ศ.2550-2554) แบงออกเปน 4 ยุทธศาสตร ไดกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนฯ ไวดังน้ี 2.8.1 วิสัยทศันตามแผนแมบทวฒันธรรมแหงชาต ิ

ใชมิติทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมในการขับเคล่ือนและประสานความรวมมือกับทุกภาคสวนเพ่ือสรางสังคมคุณธรรม

2.8.2 พันธกิจตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิพันธกิจ 5 ประการของ แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (พ.ศ.2550-2559) ไดแก (1) อุปถัมภ คุมครองและสงเสริมศาสนา ศิลปะ และวฒันธรรมของชาติ และความหลากหลายทาง

วัฒนธรรมใหคงอยูอยางม่ันคง (2) สนองงานสาํคญัของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยใหสืบทอด และพัฒนาอยาง

ยั่งยืน (3) สรางสรรคสังคมสันตสิุขดวยมิติทางศาสนา ศลิปะ และวัฒนธรรมในทกุระดบั (4) สงเสริมใหทุกภาคสวนสนับสนุน และมีสวนรวมในการดําเนินงานทางวฒันธรรมเพื่อเชิดชู

คุณคา และจติวิญญาณของความเปนไทย (5) สรางคุณคาทางสังคม และสงเสริมมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจดวยทุนทางวัฒนธรรม

2.8.3 เปาประสงคตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ

ระดับบุคคล (1) คนไทยมีความรูความเขาใจงานดานวัฒนธรรม และสามารถรักษาอัตลักษณของตนบนความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม (2) คนไทยรูเทาทนัการเปลี่ยนแปลง มีคานิยมและปรับปรุงวิถชีีวติไดอยางเหมาะสมกับบริบทของ

ชุมชนและสังคม (3) คนไทยมีความภาคภูมิใจในความเปนไทย และมีความเปนนํ้าหน่ึงใจเดยีวกันทามกลางความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม (4) คนไทยใชคุณธรรมนําความรูสรางสรรคสังคมใหเขมแข็งและมั่นคง

ระดับชุมชน/สังคม (1) สังคมไทยเปนสังคมแหงความสงบสุข มีความเอ้ืออาทรซึ่งกันและกัน (2) สังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม มีเครือขายความรวมมือ และมีความสมัครสมานสามคัคี เปน

นํ้าหน่ึงใจเดยีวกันทามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม ระดับประเทศ

(1) ประเทศไทยสามารถเผยแพรวฒันธรรมไทยไปทั่วโลก และใชวัฒนธรรมเปนสื่อในการสรางความสัมพันธหรือแกไขปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ

(2) ประเทศไทยสามารถสรางมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจและคุณคาทางสังคมดวยทุนทางวัฒนธรรม

Page 18: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 18

2.8.4 ยุทธศาสตรและกลยุทธตามแผนแมบทวฒันธรรมแหงชาต ิยุทธศาสตรและกลยุทธตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (พ.ศ.2550-2559) 5 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการงานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

เปาหมาย องคความรูทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ไดรับการรวบรวม จัดระบบในรูปของฐานขอมูล และมีการบริหารจัดการที่ดี เพ่ือนําไปใชในการดําเนินงาน ประกอบดวย 3 กลยุทธ ดังน้ี

(1) พัฒนาองคความรูทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม (2) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพ (3) ประชาสัมพันธ และเผยแพรศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม และความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม ยุทธศาสตรที่ 2 อนุรักษ สืบทอด และสงเสริมการดําเนินงานดานศาสนา ศิลปะ และ

วัฒนธรรมบนพื้นฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม เปาหมาย

ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ไดรับการอนุรักษ สืบทอด และสงเสริมบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประกอบดวย 2 กลยุทธ ดังน้ี

(1) อนุรักษ และสืบทอดศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

(2) สงเสริมการดําเนินงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรที่ 3 ธํารง รักษา สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยใหคงอยูคูสังคมไทย เปาหมาย

สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมทางจิตใจของปวงชนชาวไทย ประกอบดวย 1 กลยุทธ ดังน้ี

(1) อนุรักษ สืบทอดพระราชพิธี และงานสําคัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย

ยุทธศาสตรที่ 4 สรางสังคมคุณธรรมในกระแสโลกาภิวัตน เปาหมาย

(1) คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่พึงประสงค (2) คนไทยสามารถปรับสมดุลในการดํารงชีวิตโดยไมตกอยูในกระแสการ

บริโภคจนเกินไป (3) เชื่อมรอยความแตกตางและหลากหลายของคนในสังคมใหมีจิตสํานึกของ

ความเปนคนไทยบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม (4) สรางภูมิคุมกันทางสังคมและสังคมสมานฉันทดวยกระบวนการทาง

วัฒนธรรม ประกอบดวย 4 กลยุทธ ดังน้ี

(1) สรางฐานครอบครัว (2) สรางพลังชุมชน (3) สรางฐานสถาบันการศึกษา (4) สรางศรัทธาในศาสนา

ยุทธศาสตรที่ 5 สรางภาคีขับเคล่ือนการดําเนินงานทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม เปาหมาย

ทุกภาคสวนผสานพลังในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมอยางมีทิศทางและเปนองครวมในการสรางสังคมสันติสุข ประกอบดวย 1 กลยุทธ ดังน้ี

(1) สรางมิตรภาคี ยุทธศาสตรที่ 6 นําทุนทางวัฒนธรรมสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ และคุณคาทางสังคม

เปาหมาย ทุนทางวัฒนธรรมมีบทบาทสําคัญในการสรางเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ และคุณคา

ทางสังคมดวยพลังของความรวมมือจากทุกภาคสวน ประกอบดวย 2 กลยุทธ ดังน้ี (1) สงเสริม และพัฒนาศักยภาพแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม (2) พัฒนาระบบบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรมของภาคีเครือขาย

Page 19: บทที่ 2 สรม&สป - กระทรวงวัฒนธรรม · 2015-12-26 · บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหล ักการ

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงและสํานักงานรัฐมนตรี พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 19

2.9 ยุทธศาสตรโดยรวมของสํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบัตริาชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554 สํานักงานปลดักระทรวง

วัฒนธรรมไดกําหนด วสิัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี

2.9.1 วิสัยทศันสํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เปนองคกรหลกัในการบูรณาการและบริหารจัดการ งานดานศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรมของกระทรวง ใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ 2.9.2 พันธกิจสํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

พันธกิจ 5 ประการของ สํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมไดแก (1) กําหนด นโยบาย แผน และมาตรการดานศิลปะ ศาสนา และวฒันธรรม (2) สงเสริมและพัฒนาระบบการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในดานศลิปะ ศาสนา และวัฒนธรรม (3) พัฒนาบุคลากร ระบบงบประมาณ ระบบสารสนเทศ กฎหมาย ใหมีคุณภาพมาตรฐาน (4) ประชาสัมพันธและเผยแพรงานดานศลิปะ ศาสนา และวฒันธรรม (5) พัฒนาความรวมมือและความสัมพันธกับตางประเทศดวยมิตทิางวฒันธรรม

2.9.3 เปาประสงคสํานักงานปลัดกระทรวงวฒันธรรม (1) ทรัพยากรทางการบริหารจดัการ มีความโปรงใส เปนธรรม และมีประสทิธิภาพ (2) ประชาชนรับรูงานดานศลิปะ ศาสนาและวัฒนธรรม นําไปปรบัใชไดอยางถกูตองและเหมาะสม (3) ประเทศไทยมีความสัมพันธและความรวมมือกับตางประเทศในมิตทิางวฒันธรรม

2.9.4 ประเด็นยุทธศาสตรโดยรวมของสํานักงานปลัดกระทรวงวฒันธรรม

กระทรวงวัฒนธรรมได กําหนดประเด็นยุทธศาสตรสํ า นักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2551-2554 ไว 3 ประเด็น ดังน้ี

ประเด็นที่ 1 บริหารจัดการงานดานศาสนาศิลปวัฒนธรรมใหมีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 2 เสริมสรางคานิยมจิตสํานึกในความเปนไทย

ประเด็นที่ 3 สงเสริมความหลากหลายและความรวมมือทางวัฒนธรรมระหวางประเทศ