› nites2 › images › data › 17-2-58.2... ·...

23
1 คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 เหตุผลและความสาคัญ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2557 เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเป็นกระบวนการตรวจสอบ การขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาและการเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษา สร้างความมั่นใจว่าสถานศึกษา และ หน่วยงานต้นสังกัดจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐานตามที่กาหนด นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการคิด ขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ ) ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนด และยังเป็นองค์ประกอบ/ตัวชี้วัดที่สาคัญตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทาประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับ คุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศ ณ วันที18 เมษายน 2557 ลงนามโดยเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) โดยเฉพาะข้อ 8 ให้เพิ่มข้อสอบแบบเขียนตอบทั้งการ เขียนตอบแบบสั้นและแบบยาว ในการวัดและประเมินผลเมื่อจบหน่วยการเรียนในการสอบระหว่างภาคเรียนและ การสอบปลายภาคเรียน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง จากนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และ ประกาศของ สพฐ. ดังกล่าว สานักทดสอบทางการศึกษา ได้ดาเนินการจัดทาข้อสอบกลาง ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ 2, 4, 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 1, 2 จากการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นความสามารถพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูง ของนักเรียนที่เป็นการปูพื้นฐานนักเรียนไปสู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติ ( O-NET) และนานาชาติ ( PISA) ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ ไปเตรียมความ พร้อมของผู้เรียน และเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน การกาหนดนโยบาย กาหนดยุทธศาสตร์ แผนการศึกษาของชาติ ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตน มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสม เป็นพื้นฐานสาคัญใน การเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการดารงชีวิตในอนาคต และเพื่อเป็นการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเพื่อ เตรียมการให้ผู้เรียน มีความพร้อมสาหรับรองรับการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ทั้งการทดสอบระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ โดยจะมุ่งประเมินให้ทัดเทียมกับนานาชาติ เช่น การประเมินระดับนานาชาติ ( PISA, TIMSS, …) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย มุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานทีสาคัญจาเป็น ผลการประเมินของโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา จะเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานใน ภาพรวม และใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย วางแผน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนผลการประเมิน นักเรียนทุกคน จะเป็นข้อมูลสาคัญในการปรับปรุงเพื่อการพัฒนา

Upload: others

Post on 27-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

1

คูม่ือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2557 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2

เหตุผลและความส าคัญ การประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ข้อสอบกลาง

ปีการศึกษา 2557 เป็นการประเมินเพ่ือพัฒนาการปรับปรุงการเรียนการสอนของครู ซึ่งถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาและการเพ่ิมประสิทธิภาพสถานศึกษา สร้างความมั่นใจว่าสถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐานตามท่ีก าหนด นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์) ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนด และยังเป็นองค์ประกอบ/ตัวชี้วัดที่ส าคัญตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา

ซึ่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้จัดท าประกาศเรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกาศ ณ วันที่ 18 เมษายน 2557 ลงนามโดยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) โดยเฉพาะข้อ 8 ให้เพ่ิมข้อสอบแบบเขียนตอบทั้งการเขียนตอบแบบสั้นและแบบยาว ในการวัดและประเมินผลเมื่อจบหน่วยการเรียนในการสอบระหว่างภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง จากนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และประกาศของ สพฐ. ดังกล่าว ส านักทดสอบทางการศึกษา ได้ด าเนินการจัดท าข้อสอบกลาง ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 จากการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นความสามารถพ้ืนฐานที่จ าเป็นส าหรับใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนที่เป็นการปูพ้ืนฐานนักเรียนไปสู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติ (O-NET) และนานาชาติ (PISA) ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลส าคัญที่สะท้อนคุณภาพการด าเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจ าเป็นต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ ไปเตรียมความพร้อมของผู้เรียน และเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในภาพรวม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการก าหนดนโยบาย ก าหนดยุทธศาสตร์ แผนการศึกษาของชาติ ระดับส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุดในตน มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสม เป็นพ้ืนฐานส าคัญในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการด ารงชีวิตในอนาคต และเพ่ือเป็นการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเพ่ือเตรียมการให้ผู้เรียน มีความพร้อมส าหรับรองรับการประเมินภายนอกของสถานศึกษา ทั้งการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุ่งประเมินให้ทัดเทียมกับนานาชาติ เช่น การประเมินระดับนานาชาติ (PISA, TIMSS, …) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย มุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพ้ืนฐานที่ส าคัญจ าเป็น ผลการประเมินของโรงเรียนและเขตพ้ืนที่การศึกษา จะเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในภาพรวม และใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการก าหนดนโยบาย วางแผน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับสถานศกึษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส่วนผลการประเมินนักเรียนทุกคน จะเป็นข้อมูลส าคัญในการปรับปรุงเพ่ือการพัฒนา

Page 2: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

2 วัตถุประสงค์

1) เพ่ือให้ครูและโรงเรียนได้เห็นตัวอย่างของเครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2) เพ่ือให้โรงเรียนใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมิน และน าผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัดส าคัญในหลักสูตร และเน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดขั้นสูง

3) เพ่ือให้เขตพ้ืนที่การศึกษาใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตรในการประเมิน และน าผลการประเมินมาใช้ในการนิเทศ ติดตาม และสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนให้บรรลุมาตรฐาน ตัวชี้วัดส าคัญในหลักสูตร และเน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดขั้นสูง

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2557 ทุกคน ทุกโรงเรียน ซึ่งอยู่ในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน แสดงรายละเอียด ดังตาราง

ระดับชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ จ านวนข้อ คะแนนเต็ม เวลา (นาที) ป.2 ภาษาไทย 25 30 50 ป.4 ภาษาไทย 30 35 60

คณิตศาสตร์ 30 40 90 วิทยาศาสตร์ 30 35 60

ป.5 ภาษาไทย 30 40 50 คณิตศาสตร์ 30 40 90 วิทยาศาสตร์ 30 35 60

ม.1 ภาษาไทย 35 40 60 คณิตศาสตร์ 30 40 90 วิทยาศาสตร์ 30 40 60 อังกฤษ 30 40 50 สังคมศึกษาฯ 30 35 40

ม.2 ภาษาไทย 35 50 50 คณิตศาสตร์ 30 40 90 วิทยาศาสตร์ 30 40 60 อังกฤษ 30 40 50 สังคมศึกษาฯ 35 40 50

Page 3: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

3 แนวทางการใช้ข้อสอบกลางของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ในการด าเนินการส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้สร้างและพัฒนาข้อสอบกลางในแต่ละระดับชั้นและแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก เพ่ือส่งให้เขตพ้ืนที่การศึกษา ด าเนินการใช้ข้อสอบกลาง ดังนี้

1. เขตพ้ืนที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ตามความจ าเป็นในการด าเนินการใช้ข้อสอบกลาง อาทิ คณะกรรมการจัดฉบับแบบทดสอบ คณะกรรมการจัดพิมพ์และท าส าเนาแบบทดสอบ คณะกรรมการก ากับการสอบ คณะกรรมการรับส่งข้อสอบ เป็นต้น

2. ก าหนดสอบตามความพร้อมของเขตพ้ืนที่การศึกษาและโรงเรียน โดยโรงเรียน ในเขตพ้ืนที่การศึกษาเดียวกันต้องสอบพร้อมกันในเวลาเดียวกัน

3. เขตพ้ืนที่การศึกษา จัดฉบับข้อสอบกลางตามกรอบโครงสร้างของข้อสอบแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามทีส่ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานก าหนด

4. เขตพ้ืนที่การศึกษาจัดส่ง CD ข้อสอบให้โรงเรียน/สนามสอบด าเนินการจัดท าส าเนาข้อสอบเอง 5. โรงเรียนด าเนินการจัดสอบข้อสอบกลาง โดยต้องด าเนินการสอบพร้อมกันด้วยข้อสอบฉบับ

เดียวกันทั้งเขต โดยอาจให้การด าเนินการสอบเป็นเนื้อเดียวไปกับการจัดสอบปลายภาคเรียนที่สองของโรงเรียน 6. ก ากับ ติดตาม การสอบในวันสอบตามที่ก าหนด เพ่ืออ านวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาที่อาจ

เกิดข้ึน พร้อมทั้งเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ปัญหาในการจัดสอบ และรายงานผลการก ากับ ติดตาม การสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง

7. ผลสอบของนักเรียนแต่ละคนคิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ตามตาราง

7.1 กรณีข้อสอบกลาง 30 ข้อ คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน

(70 %) คะแนนสอบปลายภาคเรียน

(30 %) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ

ฯลฯ

ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของ คะแนนสอบปลายภาคเรียน

30100

20 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 6

ข้อสอบโรงเรียนร้อยละ 80 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน

30100

80 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 24

7.2 กรณีข้อสอบกลาง 25 ข้อ

คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (71 %)

คะแนนสอบปลายภาคเรียน (29 %)

- คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ

ฯลฯ

ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของ คะแนนสอบปลายภาคเรียน

25100

20 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 5

ข้อสอบโรงเรียนร้อยละ 80 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน

30100

80 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 24

Page 4: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

4

7.3 กรณีข้อสอบกลาง 35 ข้อ คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน

(69 %) คะแนนสอบปลายภาคเรียน

(31 %) - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ

ฯลฯ

ข้อสอบกลางร้อยละ 20 ของ คะแนนสอบปลายภาคเรียน

35100

20 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 7

ข้อสอบโรงเรียนร้อยละ 80 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน

30100

80 ข้อ

คิดเป็นร้อยละ 24

โครงสร้างข้อสอบ

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

4 เลือก 1 เชิงซ้อน เขียนตอบ รวม

ท 1.1 ป.2/2 1 - - 1 ป.2/3 1 1 1 3 ป.2/4 2 - - 2 ป.2/5 1 - - 1 ป.2/7 1 1 1

ท 2.1 ป.2/2 1 - 1 2 ป.2/3 1 - - 1

ท 3.1 ป.2/2 1 - - 1 ป.2/3 1 - - 1 ป.2/4 1 - - 1 ป.2/6 2 - - 2

ท 4.1 ป.2/1 1 - - 1 ป.2/2 3 - - 3 ป.2/3 1 - - 1 ป.2/4 1 - - 1

ท 5.1 ป.2/1 1 - 1 2 รวม 20 2 3 25

Page 5: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

5

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ 1 ตัวเลือก

เลือกตอบเชิงซ้อน

เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ท 1.1 ป 4/2 3 3 ป 4/3 2 2 ป 4/5 1 1 2 ป 4/6 2 1 3

ท 2.1 ป 4/2 1 1 ป 4/3 2 2

ท 3.1 ป 4/1 2 2 ป 4/4 3 1 4

ท 4.1 ป 4/1 2 2 ป 4/2 2 2 ป 4/3 1 1 ป 4/4 2 2 ป 4/6 2 2 ป 4/7 1 1

ท 5.1 ป 4/1 1 1 รวม 23 2 2 3 30

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5

สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

4 เลือก 1 เชิงซ้อน เขียนตอบ รวม ท 1.1 ป.5/2 2 - 2 4

ป.5/5 1 - 1 2 ป.5/6 1 1 - 2

ท 2.1 ป.5/2 2 - 2 4 ท 3.1 ป.5/3 3 - - 3 ท 4.1 ป.5/1 5 - - 5

ป.5/2 1 - - 1 ป.5/3 1 - - 1 ป.5/6 - - 1 1 ป.5/7 1 - 1 2

ท 5.1 ป.5/3 3 1 1 5 รวม 20 2 8 30

Page 6: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

6

โครงสรา้งข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ 1 ตัวเลือก

เลือกตอบเชิงซ้อน

เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ท 1.1 ม 1/2 3 3 ม 1/3 3 3 ม 1/4 3 3 ม 1/6 3 1 4 ม 1/7 1 1 2 ม 1/8 3 1 4

ท 2.1 ม 1/6 1 1 2 ท 3.1 ม 1/4 1 2 3 ท 4.1 ม 1/4 3 3

ม 1/6 2 2 ท 5.1 ม 1/2 3 3

ม 1/4 3 3 รวม 29 4 1 1 35

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

4 เลือก 1 เชิงซ้อน เขียนตอบ รวม

ท 1.1 ม.2/2 3 1 3 7 ม.2/5 1 - - 1 ม.2/7 1 - - 1

ท 2.1 ม.2/7 2 - 3 5 ท 3.1 ม.2/3 3 1 - 4 ท 4.1 ม.2/2 4 - - 4

ม.2/3 - - 2 1 ม.2/4 - - 1 1 ม.2/5 - - 1 1

ท 5.1 ม.2/1 1 - - 1 ม.2/2 5 - 1 7 ม.2/3 1 - - 1 ม.2/4 1 - - 1

รวม 22 2 11 35

Page 7: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

7

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ เชิงซ้อน เติมค าตอบ รวม

ค 1.1 ป 4/2 1 1 2 ค 1.2 ป 4/1 1 1 2

ป 4/2 4 1 2 7 ป 4/3 1 1

ค 2.1 ป 4/1 1 1 ป 4/4 0 ป 4/2 1 2 3 ป 4/3 1 1 2

ค 2.2 ป 4/1 1 1 ป 4/2 1 1 ป 4/3 0

ค 3.1 ป 4/1 1 1 ป 4/2 1 1 ป 4/3 1 1 ป 4/4 0 ป 4/5 0

ค 4.1 ป 4/1 2 2 ป 4/2 1 1

ค 5.1 ป 4/2 2 1 3 ป 4/3 1 1

รวม 20 5 5 30

Page 8: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

8

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5

สาระ/มาตรฐาน ตัวชี้วัด จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ เชิงซ้อน เติมค าตอบ รวม

ค 1.1 ป 5/1 1 1 ป 5/2 1 1 ป 5/3 1 1 ค 1.2 ป 5/1 1 1 ป 5/2 1 1 ป 5/3 3 1 3 7 ค 1.3 ป 5/1 1 1 ค 2.1 ป 5/1 - - - 0 ป 5/2 1 1 2 ป 5/3 1 1 2 ป 5/5 1 1 1 3 ค 2.2 ป 5/1 3 3 ค 3.1 ป 5/1 1 1 ป 5/2 1 1 ป 5/3 1 1 ค 4.1 ป 5/1 2 2 ค 5.1 ป 5/1 1 1 ป 5/2 1 1 ค 5.2 ป 5/1 1 1

รวม 20 5 5 30

Page 9: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

9

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ 1 ตัวเลือก

เลือกตอบเชิงซ้อน

เขียนตอบสั้น/เติม

ค าตอบแบบปิด/ระบาย

ตัวเลข

เขียนตอบอิสระ

รวม

ค 1.1 ม1/2 2 - 1 - 3 ค 1.2 ม1/2 1 1 1 - 3

ม1/4 2 1 - 3 ค 1.3 ม1/1 1 1 - - 2 ค 1.4 ม1/1 2 - 1 - 3 ค 3.1 ม1/2 2 - - - 2

ม1/6 1 1 - - 2 ค 4.1 ม1/1 2 - 1 - 3 ค 4.2 ม1/2 1 - 1 - 2

ม1/3 2 1 1 - 4 ค 5.2 ม1/1 1 - 1 - 2 ค 6.1 ม1/2 - - - 1 1

รวม 17 4 8 1 30

Page 10: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

10

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ 1 ตัวเลือก

เลือกตอบเชิงซ้อน

เขียนตอบสั้น/เติมค าตอบแบบปิด/ระบายตัวเลข

เขียนตอบอิสระ

รวม

ค 1.1 ม2/2 2 - - - 2 ม2/4 - 2 1 - 3 ค 1.2 ม2/1 1 1 - 2 ค 1.3 ม2/1 3 - - - 3 ค 2.1 ม2/2. 2 - - - 2 ค 2.2 ม2/1 1 - 2 - 3 ค 3.2 ม2/1 1 1 1 - 3 ม2/2 2 - 1 - 3 ค 4.2 ม2/1 2 - - - 2 ม2/2 1 - 1 - 2 ค 5.1 ม2/1 1 1 - - 2 ค 5.2 ม2/2 2 - - - 2 ค 6.1 ม2/3 - - - 1 1

รวม 18 4 7 1 30

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบยาว

รวม

ว 1.1 ป 4/2 2 1 1 4 ป 4/3 2 1 3 ป 4/4 2 1 3

ว 5.1 ป 4/3 4 1 1 6 ป 4/4 2 1 3 ป 4/5 1 1 1 3 ป 4/6 3 3

ว 6.1 ป 4/2 1 1 2 ว 7.1 ป 4/1 3 1 4

รวม 20 6 2 2 30

Page 11: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

11

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบยาว

รวม

ว 1.1 ป 5/2 3 3 ป 5/5 1 1

ว 1.2 ป 5/2 1 1 ว 3.1 ป 5/1 3 2 1 6

ป 5/2 2 1 3 ว 4.1 ป 5/2 1 1 1 3

ป 5/4 2 2 ว 4.2 ป 5/1 2 1 1 4 ว 5.1 ป 5/1 2 2

ป 5/4 1 1 2 ว 6.1 ป 5/1 1 1

ป 5/3 1 1 ว 7.1 ป 5/1 1 1

รวม 20 6 2 2 30

Page 12: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

12

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบยาว

รวม

ว 1.1 ม 1/4 1 1 ม 1/5 1 1 ม 1/6 1 1 ม 1/7 1 1 ม 1/9 1

1 ม 1/11 ม 1/12 1 1 ม 1/13 1 1

ว 3.1 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1 ม 1/3 1 1 ม 1/4 1 1 2

ว 3.2 ม 1/1 1 1 ม 1/3 1 1 2

ว 4.1 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1 2

ว 5.1 ม 1/2 1 1 2 ม 1/3 1 1 ม 1/4 1 1

ว 6.1 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1 ม 1/3 1 1 2 ม 1/4 1 1 ม 1/5 1 1 ม 1/6 1 1 ม 1/7 1 1

รวม 14 7 6 3 30

Page 13: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

13

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบยาว

รวม

ว 1.1 ม2/1 1 1 2 ม2/2 1 1 2 ม2/3 1 1 ม2/4 1 1 ม2/5 1 1 1 3

1 ม2/6 1 ว 3.1 ม2/2 1 1

ม2/3 1 1 2 ว 3.2 ม2/1 1 1 2

ม2/3 1 1 2 ม 2/4 1 1

ว 4.1 ม 2/2 1 1 ว 5.1 ม 2/1 1 1 2

ม 2/2 1

ม 2/3 1 ว 6.1 ม 2/1 1 1

ม 2/2 1 1 ม 2/5 1 1 ม 2/6 1 1 ม 2/7 1 1 ม 2/8 1 1 ม 2/9 1 1 ม 2/10 1 1

รวม 14 7 6 3 30

Page 14: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

14

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ส 1.1 ม 1/2 1 1 ม 1/5 1 1 ม 1/6 1 1 ม 1/8 1 1

ส 1.2 ม 1/2 1 1 ส 2.1 ม 1/1 1 1

ม 1/3 1 1 2 ม 1/4 1 1

ส 2.2 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1

ส 3.1 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1 ม 1/3 1 1 2

ส 3.2 ม 1/1 1 1 ม 1/3 1 1 ม 1/4 1 1

ส 4.1 ม 1/2 1 1 ส 4.2 ม 1/1 1 1

ม 1/2 1 1 ส 4.3 ม 1/2 1 1

ม 1/3 1 1 2 ส 5.1 ม 1/1 1 1

ม 1/2 1 1 ม 1/3 1 1 2

ส 5.2 ม 1/2 1 1 ม 1/4 1 1

รวม 26 2 1 1 30

Page 15: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

15

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ส 1.1 ม 2/2 1 1 ม 2/4 1 1 ม 2/6 1 1 ม 2/8 1 1 2 ม 2/11 1 1

ส 1.2 ม 2/4 1 1 ท 2/5 1 1

ส 2.1 ม 2/1 1 1 ม 2/3 1 1 ม 2/4 1 1 2

ส 2.2 ม 2/2 1 1 ส 3.1 ม 2/1 1 1

ม 2/2 2 2 ม 2/3 1 1 2 ม 2/4 1 1

ส 3.2 ม 2/1 1 1 ม 2/4 1 1

ส 4.1 ม 2/1 1 1 ม 2/2 2 2 ม 2/3 1 1

ส 4.2 ม 2/1 1 1 ม 2/2 1 1 2

ส 4.3 ม 2/2 1 1 ม 2/3 1 1

ส 5.1 ม 2/2 1 1 2 ส 5.2 ม 2/1 1 1

ม 2/2 1 1 ม 2/4 1 1

รวม 30 2 2 1 35

Page 16: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

16

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ต 1.1 ม 1/1 2 2 ม 1/2 1 1 ม 1/3 2 2 ม 1/4 2 1 2 5

ต 1.2 ม 1/1 2 2 ม 1/2 2 2 ม 1/3 2 2 ม 1/4 2 2 ม 1/5 2 2

ต 1.3 ม 1/1 - 2 2 ม 1/2 - 1 1 ม 1/3 - 1 1

ต 2.1 ม 1/1 1 1 ม 1/2 1 1

ต 2.2 ม 1/1 2 2 ม 1/2 1 1

ต 4.1 ม 1/1 1 1 รวม 23 2 4 1 30

Page 17: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

17

โครงสร้างข้อสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

สาระ/มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

จ านวนข้อสอบตามโครงสร้าง (ขอ้)

เลือกตอบ

เชิงซ้อน เขียนตอบสั้น

เขียนตอบอิสระ

รวม

ต 1.1 ม 2/1 2 2 ม 2/3 1 1 2 ม 2/4 2 1 3

ต 1.2 ม 2/1 2 2 ม 2/2 2 2 ม 2/3 2 2 ม 2/4 2 2 ม 2/5 1 1 2

ต 1.3 ม 2/1 2 2 ม 2/2 1 1 2 ม 2/3 1 1 2

ต 2.1 ม 2/1 1 1 ม 2/2 1 1

ต 2.2 ม 2/1 2 2 ม 2/2 2 2

ต 4.1 ม 2/1 1 1 รวม 25 2 2 1 30

ตารางสอบ

การประเมินด้วยข้อสอบกลาง ปีการศึกษา 2557 ส าหรับเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ก าหนดสอบวันที่ 5 มีนาคม 2557 รายละเอียดก าหนดสอบ ตามตารางสอบ ดังนี้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา

วันสอบ 09.00 – 09.50 น.

5 มี.ค. 58 ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เวลา วันสอบ

09.00 – 10.00 น. พัก 10 นาท ี

10.10 – 11.40 น. พัก

กลางวัน 13.00 – 14.00 น.

5 มี.ค. 58 ภาษาไทย คณิตศาสตร ์ วิทยาศาสตร ์

Page 18: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

18 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เวลา วันสอบ

09.00 – 09.50 น. พัก 10 นาท ี

10.00 – 11.30 น. พัก

กลางวัน 13.00 – 14.00 น.

5 มี.ค. 58 ภาษาไทย คณิตศาสตร ์ วิทยาศาสตร ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เวลา วันสอบ

08.30 – 09.30 น.

พัก 10 นาท ี

09.40 – 11.10 น.

11.10 -12.10 น.

พัก กลางวัน

13.00 – 13.50 น.

พัก 10 นาท ี

14.00 – 14.40 น.

5 มี.ค.58 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เวลา วันสอบ

08.30 – 09.20 น.

พัก 10 นาท ี

09.30 – 11.00 น.

11.00 -12.00 น.

พัก กลางวัน

13.00 – 13.50 น.

พัก 10 นาท ี

14.00 – 14.50 น.

5 มี.ค.58 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมฯ รูปแบบของแบบทดสอบ แบบทดสอบที่เป็นข้อสอบกลางในปีการศึกษา 2557 มี 4 รูปแบบ ซึ่งมีรายละเอียดของลักษณะข้อสอบแต่ละแบบ ดังนี้

1. แบบเลือกตอบ (Multiple choice) ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่มีค าตอบ 4 ตัวเลือก ให้เลือกค าตอบที่ถูกที่สุด 1 ค าตอบ

2. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) เป็นลักษณะข้อสอบที่มีประเด็นค าถามรวมอยู่และมีข้อค าถามย่อยๆ ในข้อเดียวกัน ซึ่งถามในประเด็นของข้อค าถามรวม โดยข้อค าถามแต่ละข้อ จะถามให้พิจารณาหรือประเมินว่าเป็นข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริงจากเรื่องที่อ่าน

3. แบบสร้างค าตอบแบบปิด/สร้างค าตอบสั้นๆ (Closed construct/Short answer) เป็นข้อสอบที่ถามที่ให้คิดหาค าตอบจากสถานการณ์ที่ก าหนด โดยมีค าตอบที่ชัดเจน หรือให้เขียนอธิบาย ภายใต้ข้อมูล หรือเงื่อนไขที่ก าหนด และมีขอบข่ายของค าตอบที่ชัดเจน

4. แบบขยายค าตอบ/ไม่จ ากัดค าตอบ /สร้างค าตอบอิสระ (extended-response question) เป็นข้อสอบที่ถามให้แสดงความคิด ความเห็นที่สอดคล้อง หรือโต้แย้ง หรืออภิปรายข้อมูล/สถานการณ์ที่ก าหนดโดยให้อิสระในการคิดหรือเปิดโอกาสให้คิดภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ซึ่งข้อสอบรูปแบบนี้ต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนและมีแนวค าตอบ เพ่ือใช้ในการตรวจให้คะแนน

Page 19: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

19

ชาวนา ชาวสวน และชาวไร่ ต้องใช้น้้าในการเพาะปลูก โดยใช้น้้าท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อฝนตกน้้าซึมลงใต้ดิน อยู่ในล้าคลอง และในบ่อต่างๆ เราตักน้้ามาใช้ โดยการท้าน้้าให้สะอาด หรือโดยใช้น้้าประปา ต่อท่อประปาเข้าบ้าน และเราต้องใช้น้้าเพื่ออุปโภคและบริโภค

ตัวอย่างของแบบทดสอบและวิธีการตอบแบบทดสอบ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วตอบค าถามข้อ ก – ง

ตัวอย่างค าถาม แบบเลือกตอบ(Multiple choice) ข้อ ก. จากข้อความที่นักเรียนอ่าน กล่าวถึงเรื่องใดเป็นส าคัญ

1) วิธีการใช้น้ า 2) ลักษณะของน้ า 3) ความส าคัญของน้ า 4) กระบวนการท าน้ าสะอาด

วิธีการตอบ ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวโดยระบายทับหมายเลข ที่ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษค าตอบถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือกที่ 3 ดังนี้

ข้อ ข. ① ② ❸ ④

ตัวอย่างค าถาม แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (Complex Multiple Choices) ข้อ ข. จากข้อความให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อมูลที่ก าหนดต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่ โดยให้วงกลมล้อมรอบค าว่า "จริง" หรือ "ไม่จริง"

ข้อมูลที่ก าหนด จริง ไม่จริง 1. ชาวสวนใช้น้ าประปาในการเพาะปลูก จริง ไม่จริง 2. ชาวนาสามารถใช้น้ าในล าคลองอุปโภคบริโภคได้เมื่อผ่านกระบวนการกรองหรือต้ม จริง ไม่จริง 3. เกษตรกรทุกคนใช้น้ าสะอาดในการอุปโภคบริโภค จริง ไม่จริง วิธีการตอบ ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องว่าข้อมูลที่ก าหนดนั้นเป็นจริงหรือไม่ โดยให้วงกลมล้อมรอบค าว่า "จริง" หรือ "ไม่จริง" ที่ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษค าตอบ

Page 20: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

20

ข้อมูลที่ก าหนด จริง ไม่จริง 1. ชาวสวนใช้น้ าประปาในการเพาะปลูก จริง ไม่จริง 2. ชาวนาสามารถใช้น้ าในล าคลองอุปโภคบริโภคได้เมื่อผ่านกระบวนการกรองหรือต้ม จริง ไม่จริง 3. เกษตรกรทุกคนใช้น้ าสะอาดในการอุปโภคบริโภค จริง ไม่จริง

ตัวอย่างค าถาม แบบสร้างค าตอบแบบปิด/สร้างค าตอบสั้นๆ (Closed construct/Short answer)

ข้อ ค. จากข้อมูลกล่าวถึงความส าคัญของน้ าที่มีต่อการด ารงชีพอย่างไร ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................

วิธีการตอบ นักเรียนเขียนค าตอบที่บ่งบอกถึงความส าคัญของน้ า ที่มีต่อการด ารงชีพ และการประกอบอาชีพ

เช่น ใช้ท านา / ท าสวน /ท าไร่ /ท าอาชีพเกษตรกรรม/ ใช้อุปโภค บริโภค ฯลฯ เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน

ให้คะแนนเต็ม (1 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนค าตอบที่บ่งบอกถึงความส าคัญของน้ า ที่มีต่อการด ารงชีพ และการประกอบอาชีพตามข้อมูลที่ก าหนดได้ถูกต้อง สมเหตุสมผล

ไม่ให้คะแนน (0 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนค าตอบอ่ืนที่ไม่เกี่ยวข้องกับความส าคัญของน้ า ที่มีต่อการด ารงชีพ หรือไม่เขียน

ตัวอย่างค าถาม แบบขยายค าตอบ/ไม่จ ากัดค าตอบ /สร้างค าตอบอิสระ (extended-response question)

ข้อ ง. น้ าจากแหล่งใดเหมาะส าหรับการใช้ในการอุปโภคบริโภคมากท่ีสุด เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ............................................................................................................................... .................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................................................................................................

วิธีการตอบ นักเรียนเขียนค าตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ าในการอุปโภคบริโภค โดยที่ใช้หลักการทาง

วิทยาศาสตร์อธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเต็ม (2 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนค าตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ าในการอุปโภค

บริโภค ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์อธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล แนวค าตอบ

- เช่น น้ าบ่อ เพราะเป็นน้ าที่ผ่านกระบวนการกรองจากชั้นของ ดิน หิน กรวด ทราย

Page 21: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

21

- น้ าฝน เพราะเป็นน้ าที่ผ่านกระบวนการกลั่น โดยน้ าฝนเกิดจากการที่น้ าระเหยเป็นไอน้ า เกิดการกลั่นตัวเป็นหยดน้ า

ฯลฯ ให้คะแนนบางส่วน (1 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนค าตอบที่บ่งบอกถึงการเลือกวิธีการใช้น้ าในการ

อุปโภคบริโภคโดยไม่มีเหตุผลอธิบาย หรือตอบเฉพาะเหตุผลอธิบายการใช้ประโยชน์ที่สมเหตุสมผล แนวค าตอบ - น้ าบ่อ /น้ าฝน - น้ าที่ผ่านกระบวนการกรองจากชั้นของ ดิน หิน กรวด ทราย - น้ าที่ผ่านกระบวนการกลั่น - โดยน้ าฝนเกิดจากการที่น้ าระเหยเป็นไอน้ า เกิดการกลั่นตัวเป็นหยดน้ า ไม่ให้คะแนน (0 คะแนน) เมื่อนักเรียนเขียนค าตอบอ่ืนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเลือกวิธีการใช้น้ าในการ

อุปโภคบริโภค หรือไม่เขียน ก าหนดการด าเนินงาน

จากแนวการใช้ข้อสอบกลางก าหนดเป็นแผนด าเนินงานการใช้ข้อสอบกลาง ซึ่งเป็นความร่วมมือกันทั้งระบบ ตั้งแต่ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และโรงเรียนโดยแต่ละส่วนมีบทบาท หน้าที่ ดังนี้

สพฐ. โดย สทศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา โรงเรียน ประชุมเขตพื้นที่การศึกษา ช้ีแจงท าความเข้าใจเกี่ยวกับ การใช้ขอ้สอบกลาง (๘-๑๑ ก.ย. ๕๗)

ร่วมประชุมท าความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวทางการใช้ข้อสอบกลางและ เขียนแผนการด าเนินงานของเขต (๘-๑๑ ก.ย. ๕๗)

สร้างและพัฒนาข้อสอบกลาง (เม.ย. – ธ.ค. ๕๗)

แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ รับผิดชอบการใช้ข้อสอบกลาง (ต.ค. ๕๗)

เตรียมความพร้อมนักเรียน/จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตวัช้ีวัดหลักสตูร (พ.ย. ๕๗ – ก.พ. ๕๘)

ก าหนดวันสอบให้โรงเรียน (ก.พ. ๕๘)

จัดส่งโครงสร้างข้อสอบ และข้อสอบให้เขต (ก.พ. ๕๘)

จัดฉบับข้อสอบ โดยเลือกข้อสอบ แต่ละตัวช้ีวัดให้ครบตามโครงสร้าง (ก.พ. ๕๘)

จัดท า CD ข้อสอบ (ก.พ. ๕๘)

จัดพิมพ์ข้อสอบ (ก.พ. ๕๘)

ก ากับ ติดตาม การสอบ (ก.พ. - มี.ค. ๕๘)

ก ากับ ติดตาม การสอบ (ก.พ. - มี.ค. ๕๘)

จัดสอบ (ก.พ. - มี.ค. ๕๘)

สรุปผลการใช้ข้อสอบกลาง (เม.ย. ๕๘)

รายงานผลการด าเนินงาน (มี.ค. ๕๘)

น าผลสอบไปคิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน (มี.ค. ๕๘)

Page 22: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

22

สพฐ. โดย สทศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา โรงเรียน ติดตามการน าผลประเมิน ไปใช้ของเขตและโรงเรียน (เม.ย. – มิ.ย. ๕๘)

น าผลประเมินไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ (เม.ย. – มิ.ย. ๕๘)

หาจุดเด่น จุดด้อยของนักเรียน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาผูเ้รียน และการเรียนการสอน น าผลประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนาและยกระดับคณุภาพของโรงเรียน (เม.ย. – มิ.ย. ๕๘)

บทบาท หน้าที่ของโรงเรียน/สนามสอบ 1. ส ารวจจ านวนนักเรียนในระดับชัน้ประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 โดยให้โรงเรียนจัดท าบัญชีรายชื่อนักเรียนเพ่ือเตรียมให้นักเรียนลงลายมือชื่อเป็นหลักฐานในการเข้าสอบในวันสอบของนักเรียนให้พร้อม 2. โรงเรียน/สนามสอบด าเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ เช่น 2.1 คณะกรรมการกลางสนามสอบ ประกอบด้วย ผู้อ านวยการโรงเรียนเป็นประธานสนามสอบ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาเป็นกรรมการกลาง 2.2 คณะกรรมการรับ C D ข้อสอบ จัดท าแบบทดสอบ และเก็บรักษาแบบทดสอบในรูปแบบเอกสารลับ 2.3 คณะกรรมการคุมสอบ 2.4 คณะกรรมการตรวจให้คะแนนข้อสอบ 2.5 คณะกรรมการอ่ืนๆ ตามความจ าเป็น 3. ศึกษาคู่มือการจัดสอบ เพ่ือเตรียมความพร้อมของคณะกรรมการต่างๆ ที่โรงเรียนแต่งตั้งขึ้นให้พร้อมในการด าเนินการจัดสอบข้อสอบกลาง 4. รับ C D ข้อสอบจากส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ตามก าหนดเวลา คือ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ และ 2 มีนาคม 2558 และจัดท าแบบทดสอบ พร้อมทั้งเก็บรักษา C D ข้อสอบ และแบบทดสอบในรูปแบบเอกสารลับ 5. คณะกรรมการเก็บรักษาแบบทดสอบ ส่งแบบทดสอบให้คณะกรรมการกลางสนามสอบ เช้าวันที่ 5 มีนาคม 2558 โดยคณะกรรมการกลางสนามสอบตรวจสอบความเรียบร้อยของแบบทดสอบการปิดผลึกของซองแบบทดสอบต้องไม่มีร่องรอยการเปิดส่งต่อให้กรรมการคุมสอบต่อไป 6. กรรมการคุมสอบ ตรวจสอบความเรียบร้อยของการปิดผนึกซองข้อสอบต้องไม่มีร่องรอยการเปิด (หากพบความผิดปกติให้รีบแจ้ง และบันทึกเหตุการณ์ต่อประธานสนามสอบเพ่ือแจ้ง กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา สพป. ปทุมธานี เขต 2 ) หากเรียบร้อยให้กรรมการคุมสอบด าเนินการสอบตามเวลาในตารางสอบที่ก าหนด ก่อนเวลาเริ่มการสอบไม่เกิน 15 นาที ให้เปิดซองแบบทดสอบ และแจกกระดาษค าตอบและแบบทดสอบโดยคว่ าหน้าแบบทดสอบไว้บนโต๊ะที่นั่งสอบของนักเรียนจนครบ 7. เมื่อถึงเวลาสอบแจ้งให้นักเรียนเริ่มท าแบบทดสอบพร้อมกัน 8. เมื่อการสอบผ่านไป 10 นาที กรรมการคุมสอบน าบัญชีรายชื่อนักเรียนไปให้นักเรียนแต่ละคนลงลายมือ เพ่ือเป็นหลักฐานการเข้าสอบของนักเรียน

Page 23: › nites2 › images › Data › 17-2-58.2... · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง ปี ...2015-02-17 · คู่มือการจัดสอบข้อสอบกลาง

23 9. การเตือนเวลาการสอบในแต่ละฉบับ ให้ด าเนินการ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อนักเรียนสอบได้ครึ่งเวลาที่ก าหนดให้ ครั้งที่ 2 เมื่อเหลือเวลาอีก 5 นาที 10. เมื่อสอบเสร็จแต่ละวิชาให้กรรมการคุมสอบเก็บกระดาษค าตอบเรียงตามเลขที่นั่งสอบบรรจุซองส่งกองกลางพร้อมแบบทดสอบ 11. เมื่อสอบเสร็จทุกวิชาแล้ว คณะกรรมการกลางสนามสอบรวบรวมซองกระดาษค าตอบส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจให้คะแนนต่อไป 12. คณะกรรมการตรวจให้คะแนน ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบ และด าเนินการตรวจให้คะแนนเสร็จแล้วกรอกคะแนนของนักเรียนแต่ละคนในแบบกรอกคะแนน 13. คณะกรรมการตรวจให้คะแนน บรรจุกระดาษค าตอบที่ตรวจให้คะแนนแล้วลงซองพร้อมบัญชีรายชื่อนักเรียน และแบบกรอกคะแนนของนักเรียน ส่งมอบให้ผู้อ านวยการโรงเรียน และครูวิชาการด าเนินการน าผลสอบของนักเรียนแต่ละคนคิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน และรายงานคะแนนผลการสอบส่ง สพป.ปทุมธานี เขต 2 ตามก าหนด คือ ภายในวันที่ 13 มีนาคม 2558 ต่อไป 14. แบบทดสอบ และกระดาษค าตอบเก็บไว้ที่โรงเรียน/สนามสอบ ในลักษณะเอกสารลับของทางราชการ

การน าผลการประเมินไปใช ้ผลการสอบด้วยข้อสอบกลาง มีวัตถุประสงค์เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานหลักสูตรดังนั้นผล

ประเมิน จึงสามารถน าไปใช้ในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยแต่ละระดับสามารถน าไปใช้ ดังนี้ ระดับผู้เรียนรายบุคคล

ให้โรงเรียนวิเคราะห์ผลรายบุคคล ที่สะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียนในแต่ละมาตรฐาน/ตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้ประเมินและแจ้งให้นักเรียนทราบถึงจุดเด่น–ด้อยที่ต้องเร่งพัฒนาและปรับปรุงเป็นรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนใช้ปรับปรุงและพัฒนาตนได้อย่างถูกทิศทาง

ระดับการเรียนการสอนของครู ครผูู้สอนน าผลการวิเคราะห์รายบุคคลและภาพรวมของโรงเรียน เปรียบเทียบผลการประเมินของ

ตนในปีการศึกษาที่ผ่านมา ของแต่ละตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือทราบถึงจุดที่ต้องเร่งด าเนินการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนของตน จัดท าเป็นแผนยกระดับ ก าหนดเป้าหมายในการพัฒนา

ระดับสถานศึกษา โรงเรียนวิเคราะห์ผลภาพรวมของแต่ละโรงเรียน ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา ติดตาม นิเทศ เพ่ือ

ส่งเสริม ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในการยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาวิเคราะห์ผลภาพรวมของแต่ละโรงเรียน และภาพรวม ของเขตพ้ืนที่

การศึกษา ใช้เป็นสารสนทศในการก ากับ ติดตาม เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอน เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา