ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2...

36

Upload: others

Post on 27-Oct-2019

23 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ
Page 2: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

ค าน า

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4 ชุดที่ 1 เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 2 จัดท าขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปรับปรุงการเรียน และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยได้รวบรวม เนื้อหาที่เป็นข้อความรู้จากต าราเรียน เอกสารทางวิชาการจ านวนหลายเล่ม และเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมตามล าดับขั้นตอนแล้ว นักเรียนจะได้รับการทดสอบประมวลผลการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีจ านวน 5 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 ระบบและการเปลี่ยนแปลง ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ าวัน ชุดที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชุดที่ 5 ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง จะเป็นประโยชน์ส าหรับนักเรียน ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจศึกษา ที่จะน าไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง การเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา รุ้งตะวัน จิตรีมิตร์

Page 3: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

สารบัญ

หน้า คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ค าชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 บทบาทของครู 5 บทบาทของนักเรียน 6 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 7 ส่วนประกอบในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ บัตรค าสั่ง 8 แบบทดสอบก่อนเรียน 9 กระดาษค าตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 12 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 13 บัตรกิจกรรมที่ 1 14 บัตรบันทึกกิจกรรมที่ 1 18 เฉลยบัตรบันทึกกิจกรรมที่ 1 20 บัตรความรู้ 22 บัตรใบงานที่ 1 25 เฉลยบัตรใบงานที่ 1 26 แบบทดสอบหลังเรียน 27 กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน 30 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 31 บรรณานุกรม 32

Page 4: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

คู่มือการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นเอกสารชี้แจงรูปแบบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการใช้ชุด

กิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งมีส่วนประกอบดังนี้

1. องค์ประกอบของเนื้อหา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง ตรงตามเนื้อหาในหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 รหัสวิชา ว22101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ใช้เวลา 3 ชั่วโมง

2. เอกสารชุดนี้ประกอบด้วย

2.1 คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.2 ค าชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.3 ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.4 บทบาทของครู 2.5 บทบาทของนักเรียน 2.6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

3. สิ่งที่ครูจะต้องเตรียม ครูจะต้องเตรียมสื่อการเรียนรู้ให้ครบตามขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้

3.1 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 แบบสรุปการเรียน 3.4 แบบทดสอบหลังเรียน

4. การจัดชั้นเรียน การจัดการชั้นเรียนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ในขณะจัดกิจกรรม ให้นักเรียนท าแบบทดสอบ

ก่อนเรียนเพ่ือวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียน จากนั้นแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5–6 คน จะมีก่ีกลุ่มข้ึนอยู่กับจ านวนนักเรียนของแต่ละห้อง และเมื่อท ากิจกรรมกลุ่มเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักเรียนแต่ละกลุ่มจะแยก นั่งเดี่ยวเพ่ือท าการวัดผลการเรียนรู้ โดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน

คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ืองระบบและการเปลี่ยนแปลง

11

Page 5: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

5. การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้

5.1 วิธีวัดและประเมินผล วิธีวัดและประเมินผลด้านความรู้ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน วิธีวัดและประเมินผลด้านทักษะ - ประเมินตามสภาพจริงจากแบบฝึกหัด - ประเมินจากกิจกรรมการปฏิบัติการทดลอง 5.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ - แบบประเมินกิจกรรมการปฏิบัติการทดลอง

21

Page 6: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

ก่อนน าชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ควรปฏิบัติดังนี้

1. ศึกษาคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้และปฏิบัติตามข้ันตอนในการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ให้ถูกต้องตามล าดับ 2. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้โดยละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ครบทุกขั้นตอน 3. ศึกษาเนื้อหา วิธีการจัดกิจกรรม การวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยละเอียด 4. ควรเตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

ค าชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

31

อ่านค าชี้แจงให้เข้าใจ ก่อนเรียนนะคะ

Page 7: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

1. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง จ านวน 10 ข้อ

2. อ่านค าชี้แจง/ค าแนะน าการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

3. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยปฏิบัติดังนี้ อ่านบัตรค าสั่ง ท าแบบทดสอบก่อนเรียน ท าบัตรกิจกรรม ศึกษาบัตรความรู้ ท าบัตรใบงาน ท าแบบทดสอบหลังเรียน

4. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน บัตรกิจกรรม บัตรใบงาน จากบัตรเฉลย

5. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 2 ต่อไป

ไม่ผ่านเกณฑ์

การประเมินผล

ผ่านเกณฑ์

41

Page 8: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บทบาทของครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชุดที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน4 รหัส ว22102 ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สิ่งที่ครูควรปฏิบัติก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขณะใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และหลังใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้บรรลุตามตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ ผู้สอนควร เตรียมความพร้อมและปฏิบัติตามค าแนะน า ดังนี้

1. ศึกษารายละเอียดและท าความเข้าใจวิธีการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการด าเนิน กิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ชัดเจน

2. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับแผนจัดการเรียนรู้ เนื้อหาที่สอน เนื้อหาที่เก่ียวข้องเพ่ิมเติม จากหนังสือเรียน คู่มือครู และหนังสือเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ

3. เตรียมสื่ออุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้พร้อมและครบจ านวนนักเรียน ในชั้นเรียนแต่ละกลุ่ม

4. ก่อนจัดกิจกรรมครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง และน าข้ันตอนการ ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวปฏิบัติในระหว่างด าเนินกิจกรรม แล้วจึงให้ท า แบบทดสอบก่อนเรียน

5. ขณะนักเรียนท ากิจกรรมครูคอยให้ความช่วยเหลือ แนะน า กระตุ้นให้นักเรียน ท ากิจกรรมอย่างกระตือรือร้นและตอบข้อสงสัยต่าง ๆ ระหว่างกิจกรรม พร้อมทั้งสังเกตและประเมินพฤติกรรมการท างานของนักเรียน

6. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วน ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แล้วน าผลทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน แจ้งให้นักเรียนทราบถึงความก้าวหน้า ทางการเรียน

7. เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมกาเรียนรู้ ครูให้นักเรียนร่วมตรวจสอบ เก็บชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วัสดุสิ่งของ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย เพ่ือสะดวกในการ ใช้ครั้งต่อไป

51

Page 9: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วย การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชุดที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน4 รหัส ว22102 ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 สิ่งที่นักเรียนควรปฏิบัติก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขณะใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และหลังใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้บรรลุตามตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนควรปฏิบัติตามข้ันตอน ด้วยความซื่อสัตย์และตั้งใจ ดังนี้

1. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน โดยคละความสามารถนักเรียนในกลุ่มเป็น เก่ง ปานกลาง และอ่อน 2. อ่านคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ค าชี้แจง ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ

ก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ 4. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน จ านวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพ่ือตรวจสอบความรู้พื้นฐาน

บันทึกผลที่ได้ลงในแบบบันทึกคะแนน 5. ปฏิบัติตามข้ันตอนในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามบัตรกิจกรรมและบัตรแบบฝึกหัด เสร็จเรียบร้อยแล้ว

ให้ตรวจสอบค าตอบได้จากบัตรเฉลยกิจกรรมและบัตรเฉลยแบบฝึกหัด 7. ท าแบบทดสอบหลังเรียน จ านวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพ่ือทราบความก้าวหน้า

ในการเรียนของนักเรียนหลังจากท ากิจกรรมเสร็จเรียบร้อย 8. ตรวจค าตอบจากบัตรเฉลยหลังเรียน และแจ้งคะแนนให้ครูทราบเพื่อบันทึกลง

แบบบันทึกผลการประเมินด้านความรู้และตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องท าแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าหากนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่ก าหนดให้ทบทวนเนื้อหาอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ ให้ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 2 ต่อไป 9. ในการท ากิจกรรมจากชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนท าด้วยความตั้งใจ ซื่อสัตย์ต่อตนเอง

ไม่เปิดดูเฉลยจนกว่านักเรียนจะท ากิจกรรมและแบบทดสอบเสร็จเรียบร้อย 10. หากนักเรียนมีข้อสงสัยในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอบถามครูผู้สอนเพ่ือ

ร่วมกันสรุปข้อสงสัยนั้น ๆ

บทบาทของนักเรียน

61

Page 10: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ืองระบบและการเปลี่ยนแปลง

สาระท่ี 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และน าความรู ไปใชประโยชน ตัวช้ีวัด ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติมวล และพลังงาน เมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมี จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายความหมายของระบบและสิ่งแวดล้อมได้ 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการเปลี่ยนแปลงได้ 3. จ าแนกประเภทของระบบได้

ด้านทักษะกระบวนการ (Process) 4. ทดลอง สังเกต บันทึกข้อมูลและสรุปผลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิด

ปฏิกิริยาเคมีได้

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) 5. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ันในการท างาน

สาระส าคัญ สสารต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจ าวันมีสมบัติเฉพาะหลายประการ อาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการกระท าอย่างใดอย่างหนึ่ง แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง

71

Page 11: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บัตรค าสั่ง

1. ให้ประธานกลุ่มอ่านบัตรค าและมอบหมายหน้าที่ให้แก่สมาชิก ดังนี้ (ใช้เวลา 10 นาที) 1.1 ผู้ควบคุมเวลา ท าหน้าที่รักษาเวลาในการท ากิจกรรมเพ่ือให้เสร็จทันทุกกิจกรรม 1.2 ผู้อ่าน ท าหน้าที่ อ่านข้อความในบัตรความรู้ บัตรกิจกรรม และบัตรใบงาน

2. อ่านค าถามให้สมาชิกในกลุ่มฟัง ประธานกลุ่มชี้น าให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ฟังและ ร่วมอภิปราย ผู้จดบันทึก ท าหน้าที่จดบันทึกผลการท ากิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มให้นักเรียนท า แบบทดสอบก่อนเรียน ประจ าชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง (ใช้เวลา 10 นาที)

3. ประธานกลุ่มน าบัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี มอบให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มอ่าน ผู้จับเวลาท าหน้าที่จับเวลาไปด้วย ให้การท ากิจกรรมเป็นไปตามเวลา ที่ก าหนด จดบันทึกเนื้อหาในประเด็นที่ส าคัญๆ ไว้เพ่ือการอภิปราย ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรกิจกรรมที่ 1 บันทึกผลลงในบัตรบันทึกกิจกรรมที่ 1 อภิปรายผลและ สรุปผลการด าเนินกิจกรรมที่ 1 น าเสนอ หน้าชั้นเรียน

4. ประธานกลุ่มมอบบัตรความรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง (อธิบายปัญหา) ให้สมาชิกทุกคนอ่านรายละเอียดจากบัตรความรู้ ให้สมาชิกทุกคนได้ร่วมอภิปรายแล้วตรวจสอบ ความถูกต้องของบัตรกิจกรรมที่บันทึกไว้ว่าถูกต้องตามเนื้อหาในบัตรความรู้หรือไม่ ถ้าผิดให้แก้ไข ให้ถูกต้องโดยตรวจสอบความถูกต้องจากบัตรเฉลยกิจกรรม ประธานกลุ่มตรวจสอบดูว่าสมาชิก ด าเนินการเสร็จแล้วเป็นไปตามเวลาที่ก าหนด ให้น าบัตรใบงานที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง ให้สมาชิกทุกคนท าบัตรใบงาน เสร็จแล้วตรวจกับบัตรเฉลยใบงาน อภิปรายผลร่วมกันเกี่ยวกับ เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

5. เมื่อหมดเวลาเลขานุการกลุ่มรวบรวมเอกสารต่าง ๆ และอุปกรณ์ส่งคืนครูให้เรียบร้อย และให้นักเรียนทุกคนท าแบบทดสอบหลังเรียน ประจ าชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระบบและการเปลี่ยนแปลง (ใช้เวลา 10 นาที)

81

Page 12: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

จ านวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกที่สุดเพียงค าตอบเดียว แล้วท าเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษค าตอบ ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบค าถามข้อ 1-3

โซดาไฟ (NaOH) น้ า (H2O) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์

ภาพที่ 1 ภาพแสดงสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย ์ การ์ตูน&source

สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559. ในการศึกษาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า พบว่าระบบมีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 30 องศาเซลเซียส เป็น 40 องศาเซลเซียส

1. จากการศึกษาดังกล่าว ข้อใดจัดเป็นระบบ ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้ า ค. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์ ง. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์

2. จากการศึกษา สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า ข้อใดจัดเป็นสิ่งแวดล้อม ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้ า ค. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์ ง. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์

91

Page 13: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบแบบใด ก. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อน ข. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน ค. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบโดดเดี่ยว ง. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบลดอุณหภูมิ

4. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ เรียกว่าอะไร ก. ปฏิกิริยาดูดความร้อน ข. ปฏิกิริยาคายความร้อน ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ง. ปฏิกิริยาการเผาไหม้

5. ระบบที่มีการถ่ายเทมวลและพลังงานความร้อน จัดเป็นระบบแบบใด ก. ระบบปิด ข. ระบบเปิด ค. ระบบโดดเดี่ยว ง. ระบบปิดและเปิด

6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบปิด ก. การหายใจ ข. การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ค. การใส่โลหะลงในสารละลายกรดแล้วเกิดแก๊ส ง. การละลายเกลือในน้ า

7. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบเปิด ก. การเผากระดาษ ข. การละลายเหลือในน้ า ค. การละลายน้ าตาลในน้ า ง. การเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริกกับหินปูน

8. การเปลี่ยนแปลงแบบใด เป็นไปตามกฎทรงมวล ก. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาไม่เท่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ข. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาเท่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ค. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาน้อยกว่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ง. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยามากกว่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา

1000

Page 14: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

9. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน เป็นแบบใด ก. ไม่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบสู่สิ่งแวดล้อม ข. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ ค. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม ง. เป็นการถ่ายเทพลังงานภายในระบบ

10. ข้อความใดเกี่ยวกับปฏิกิริยาดูดความร้อน ก. ระบบหลังการเปลี่ยนแปลงมีอุณหภูมิต่ าลง ข. ต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ค. ตอนเริ่มปฏิกิริยาไมต่้องให้พลังงานเข้าไป ง. สารตั้งต้นมีพลังงานมากกว่ากว่าสารผลิตภัณฑ์

1100

Page 15: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

กระดาษค าตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

ชื่อ.............................................................ชั้น..................เลขท่ี.............. .

คะแนนเต็ม 10

คะแนนที่ได ้

ข้อ ก ข ค ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

1200

Page 16: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

ข้อ เฉลย 1 ข 2 ง 3 ข 4 ก 5 ข 6 ง 7 ก 8 ข 9 ค 10 ข

1300

Page 17: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บัตรกิจกรรมที่ 1

เร่ืองการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิดปฏกิิริยาเคมี จุดประสงค์การทดลอง

1. เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อนและคายความร้อน

อุปกรณ์และสารเคมี (ต่อ 1 กลุ่ม)

1. บีกเกอร์ขาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2 ใบ 2. แท่งแก้วคนสาร 2 แท่ง 3. ช้อนตักสารเบอร์ 2 1 อัน 4. หลอดหยด 1 อัน 5. กระดาษลิตมัสสีแดง 1 แผ่น 6. แอมโมเนียมคลอไรด์ 3 ช้อนเบอร์ 2 7. แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (ปูนขาว) 3 ช้อนเบอร์ 2 8. น้ าตาลทราย 3 ช้อนเบอร์ 2 9. โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (ด่างทับทิม) 3 ช้อนเบอร์ 2 10. น้ ากลั่น 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร

1400

Page 18: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

วิธีการทดลอง

1. ผสมน้ าตาลทราย 3 ช้อนโต๊ะเบอร์ 2 และโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) 3 ช้อน เบอร์ 2 ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใช้แท่งแก้วคนให้ผสมกัน

โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4)

น้ าตาลทราย

บีกเกอร์ใบที่ 1

ภาพที่ 2 ภาพแสดงการผสมสารระหว่างน้ าตาลทรายกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย ์

การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

2. หยดน้ ากลั่น 10-15 หยด ลงในของผสมจากข้อ 1 สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล ลงในสมุด

หยดน้ ากลั่น 10-15 หยด

บีกเกอร์ใบที่ 1

ภาพที่ 3 ภาพแสดงการเกดิปฏิกริยิาน้ าตาลทรายกับโพแทสเซยีมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) และน้ ากลั่น

ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์ วิทย์การ์ตูน&source.

สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

1500

Page 19: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

3. ผสมแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) 3 ช้อนเบอร์ 2 และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) 3 ช้อนเบอร์ 2 ลงในบีกเกอร์ขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2)

แอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl)

บีกเกอร์ ใบที่ 2

ภาพที่ 4 ภาพแสดงการผสมสารระหว่างแอมโมเนยีมคลอไรด์ (NH4Cl) และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2)

ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

4. หยดน้ ากลั่น 10-15 หยด จากนั้นใช้แท่งแก้วคนผสมให้เข้ากัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึก

ผลลงในสมุด หยดน้ ากลั่น 10-15 หยด

บีกเกอร์ใบที่ 2

ภาพที่ 5 ภาพแสดงการเกดิปฏิกริยิาระหว่างแอมโมเนยีมคลอไรด์ (NH4Cl) กับแคลเซียมไฮดรอกไซด์(Ca(OH)2) และน้ ากลั่น

ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การต์ูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน&source.

สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

1600

Page 20: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

5. น ากระดาษลิตมัสสีแดงที่ชื้นอังบริเวณเหนือบีกเกอร์ใบที่ 2 สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงและบันทึกผลลงในสมุด

กระดาษลิตมัสสีแดง

บีกเกอร์ใบที่ 2

ภาพที่ 6 ภาพแสดงการน ากระดาษลิตมัสสีแดงท่ีช้ืนอังบริเวณเหนือบีกเกอร์ ที่ผสมสารระหว่างแอมโมเนยีมคลอไรด์ (NH4Cl) กับแคลเซียมไฮดรอกไซด ์ (Ca(OH)2) และน้ ากลั่น

ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์ การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

1700

Page 21: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บัตรบันทึกกิจกรรมที่ 1 เร่ืองการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิดปฏกิิริยาเคมี

สมาชิกกลุ่ม 1. ...................................................................................................เลขที่................. ........ 2. ....................................................................................................เลขที่................... ...... 3. ....................................................................................................เลขที่............... .......... 4. ....................................................................................................เลขที่................ ......... 5. ....................................................................................................เลขที่. ........................ 6. ....................................................................................................เลขที่................ .........

ตารางบันทึกผลการทดลอง

บีกเกอร์ใบที่ การทดลอง ผลการสังเกต

1 น้ าตาลทราย + โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต + น้ ากลั่น

2 แอมโมเนียมคลอไรด์ + แคลเซียมไฮดรอกไซด์ + น้ ากลั่น

ค าถามท้ายการทดลอง

1. การเปลี่ยนแปลงของสารทั้ง 2 บีกเกอร์ เกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ ทราบได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. การเปลี่ยนแปลงของสารในกิจกรรมนี้ มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานหรือไม่ อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ปฏิกิริยาระหว่างน้ าตาลทรายกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน แบบใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ปฏิกิริยาระหว่างแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) กับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด

………………………………………………………………………………………………………………………………………

1800

Page 22: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

สรุปผลการทดลอง ..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

1900

Page 23: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

เฉลย บัตรบันทึกกิจกรรมที่ 1 เร่ืองการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อเกิดปฏกิิริยาเคมี

สมาชิกกลุ่ม 1. ...................................................................................................เลขที่................. ........ 2. ....................................................................................................เลขที่................... ...... 3. ....................................................................................................เลขที่............... .......... 4. ....................................................................................................เลขที่................ ......... 5. ....................................................................................................เลขที่. ........................ 6. ....................................................................................................เลขที่................ ......... ตารางบันทึกผลการทดลอง บีกเกอร์ใบที่ การทดลอง ผลการสังเกต

1 น้ าตาลทราย + โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต + น้ ากลั่น

เปลี่ยนเป็นสารสีด า และเม่ือสัมผัสด้านข้างบีกเกอร์จะรู้สึกร้อน

2 แอมโมเนียมคลอไรด์ + แคลเซียมไฮดรอกไซด์ + น้ ากลั่น

เมื่อใช้มือแตะด้านข้างบีกเกอร์จะรู้สึกเย็น น ากระดาษลิตมัสมาอังด้านบน จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ าเงิน และมีกลิ่นคล้ายกลิ่นแอมโมเนีย

ค าถามท้ายการทดลอง

1. การเปลี่ยนแปลงของสารทั้ง 2 บีกเกอร์ เกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ ทราบได้อย่างไร การเปลี่ยนแปลงทั้งทั้ง 2 บีกเกอร์ เกิดปฏิกิริยาเคมี เพราะสังเกตได้จากมีสารใหม่เกิดข้ึน คือ สารสีด า (บีกเกอร์ใบที่ 1) …และมีแก๊สแอมโมเนีย (บีกเกอร์ใบที่ 2) เกิดข้ึน

2. การเปลี่ยนแปลงของสารในกิจกรรมนี้ มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานหรือไม่ อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงพลังาน เพราะหลังเกิดปฏิกิริยาอุณหภูมิเปลี่ยนไป

3. ปฏิกิริยาระหว่างน้ าตาลทรายกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน แบบใด

เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน 4. ปฏิกิริยาระหว่างแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) กับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน

2000

Page 24: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

สรุปผลการทดลอง ปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้ าตาลทรายกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) หลังเกิดปฏิกิริยามี อุณหภูมิสูงขึ้น จัดเป็นปฏิกิริยาแบบคายพลังงาน ส่วนปฏิกิริยาระหว่างแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) กับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)2) หลังเกิดปฏิกิริยามีอุณหภูมิต่ าลง จัดเป็นปฏิกิริยาแบบดูดพลังงาน

2100

Page 25: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บัตรความรู้ เร่ืองระบบและการเปลี่ยนแปลง

1. ระบบและการเปลี่ยนแปลงของสาร

สารต่างๆ ที่พบในชีวิตประจ าวันมีสมบัติหลายประการ การที่สมบัติสารแตกต่างไปจากเดิม ซึ่งอาจเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติหรืออาจเกิดจากการกระท าอย่างใดอย่างหนึ่ง แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ในการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสาร จะต้องมีการก าหนดขอบเขตสิ่งที่ต้องการศึกษา เพ่ือให้เกิดความชัดเจนในการศึกษา ดังนี้ ระบบ (system) หมายถึง สิ่งที่อยู่ภายในขอบเขตท่ีต้องการศึกษา การก าหนดองค์ประกอบของ ระบบ ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการศึกษา ซึ่งต้องก าหนดหรือระบุให้ชัดเจน สิ่งแวดล้อม (environment) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกขอบเขตที่ต้องการศึกษา ตัวอย่าง การก าหนดองค์ประกอบของระบบ เช่น การศึกษาการละลายของน้ าตาลทรายในน้ า โดยสารละลาย น้ าตาลทรายจะเป็นระบบ ส่วนบีกเกอร์ ภาชนะ และแท่งแก้วจัดเป็นสิ่งแวดล้อม 1.1 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบเป็นการถ่ายเทพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม เมื่อระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะใดลักษณะหนึ่งจะมีพลังงานเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ซึ่งระบบ อาจมีพลังงานเพิ่มขึ้นหรือลดลง เพ่ือให้ระบบมีพลังงานสมดุลกับสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงพลังงาน ของระบบมี 2 ประเภทดังนี้

1.1.1. ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน คือ ระบบที่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว ระบบจะถ่ายเทความร้อนให้แก่สิ่งแวดล้อม ท าให้สิ่งแวดล้อมร้อนขึ้น 1.1.2. ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน คือ ระบบที่เมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงแล้ว ระบบจะดูดความร้อนจะสิ่งแวดล้อมท าให้สิ่งแวดล้อมนั้นเย็นลง 1.2 ประเภทของระบบ การเปลี่ยนแปลงพลังงานระหว่างระบบและสิ่งแวดล้อม จะใช้การถ่ายเทมวลของสารเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภทของระบบ ดังนี้

2200

Page 26: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

1.2.1 ระบบเปิด (open system) หมายถึง ระบบที่มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอน ทั้งพลังงานและมวลให้กับสิ่งแวดล้อม หรือมวลของระบบไม่คงท่ีเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น การต้มน้ า ในภาชนะเปิดบนเตาไฟ ระบบคือ ภาชนะเปิดท่ีมีน้ าบรรจุอยู่เตาไฟและอากาศท่ีล้อมรอบทั้งหมด คือ สิ่งแวดล้อม ระบบที่มีการรับความร้อนจากเตาไฟและคายความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม (มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนพลังงาน) เมื่อชั่งน้ าหนักของภาชนะกับน้ าก่อนการต้มและหลังการต้มจะไม่เท่ากัน (มวลของระบบไม่คงที่)

ภาพที่ 7 ภาพแสดงของระบบเปดิ (open system) ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตนู. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย ์

การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

1.2.2 ระบบปิด (close system) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม

แต่มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนพลังงานกับสิ่งแวดล้อม หรือมวลของระบบคงท่ีเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น การต้มน้ าในภาชนะปิดบนเตาไฟ ระบบคือภาชนะท่ีมีน้ าบรรจุอยู่ภายใน ส่วนเตาไฟและอากาศที่ ล้อมรอบทัง้หมดเป็นสิ่งแวดล้อม ระบบจะรับความร้อนจากเตาไฟแล้วกลายเป็นไอคายพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม (มีการแลกเปลี่ยนหรือถ่ายโอนพลังงาน) เมื่อชั่งน้ าหนักของภาชนะท่ีบรรจุน้ าก่อนการต้ม และหลังการต้มในภาชนะปิดจะเท่ากัน (มวลของระบบคงที่)

ภาพที่ 8 ภาพแสดงของระบบปิด (close system) ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย ์

การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

2300

Page 27: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

หากมวลสารท าปฏิกิริยาในระบบปิดจะท าให้ปริมาณสารก่อนท าปฏิกิริยา และหลังท า ปฏิกิริยามีปริมาณเท่ากัน สมมติฐานนี้ถูกอธิบายด้วยกฎของอองตวน-โลรอง ในปี พ.ศ. 2317 ที่ได้ท าการทดลองเผาสารในหลอดที่ปิดสนิท ซึ่งพบว่า มวลรวมของสารก่อนการเกิดปฏิกิริยา และหลังการเกิดปฏิกิริยามีปริมาณเท่ากัน จึงตั้งกฎนี้ว่า “กฎทรงมวล”

1.2.3 ระบบโดดเดี่ยว (Isolate system) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลและ พลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม เช่นน้ าร้อนในกระติกน้ าร้อน

ภาพที่ 9 ภาพแสดงของระบบโดดเดี่ยว (Isolate system) ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตนู. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย ์ การ์ตูน&source. สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559.

24

Page 28: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บัตรใบงานที่ 1 เร่ืองระบบและการเปลี่ยนแปลง

1. การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานหรือไม่ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. เมื่อจุ่มมือลงในน้ าเย็น นักเรียนจะรู้สึกเช่นไร เพราะเหตุใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแบบดูดพลังงานและคายพลังงาน มาอย่างละ 2 ตัวอย่าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. จงอธิบายว่าเหตุใดการระเหยของเหงื่อจึงท าให้นักเรียนรู้สึกเย็น …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. “กฎทรงมวล” ได้กล่าวไว้ว่าอย่างไร จงอธิบาย …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2500

Page 29: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

เฉลย บัตรใบงานที่ 1

เร่ืองระบบและการเปลี่ยนแปลง

1. การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานหรือไม่ อย่างไร การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน และอุณหภูมิหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี เปลี่ยนแปลงจากเดิม

2. เมื่อจุ่มมือลงในน้ าเย็น นักเรียนจะรู้สึกเช่นไร เพราะเหตุใด รู้สึกเย็น เพราะความร้อนจากมือถ่ายโอนให้น้ า

3. จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแบบดูดพลังงานและคายพลังงาน มาอย่างละ 2 ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อน เช่น การเติมแอมโมเนียมคลอไรด์ ลงในน้ า แล้วมีอุณหภูมิต่ าลง การใช้ส าลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบนผิวหนังจะรู้สึกเย็น การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน เช่น การหย่อนสังกะสีในกรด จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น การเติมโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้ า แล้วอุณหภูมิสูงขึ้น

4. จงอธิบายว่าเหตุใดการระเหยของเหงื่อจึงท าให้นักเรียนรู้สึกเย็น เพราะการระเหยของเหงื่อต้องดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตัวเราด้วย เพ่ือน าความร้อนไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงสถานะแก๊ส จึงท าให้รู้สึกเย็น

5. “กฎทรงมวล” ได้กล่าวไว้ว่าอย่างไร จงอธิบาย การเปลี่ยนแปลงใดๆ ของสารที่อยู่ในระบบปิด มวลของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ มวลรวมของสารหลังเกิดปฏิกิริยา

2600

Page 30: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

แบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เรื่องระบบและการเปลี่ยนแปลง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

จ านวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกที่สุดเพียงค าตอบเดียว แล้วท าเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษค าตอบ ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบค าถามข้อ 1-3

โซดาไฟ (NaOH) น้ า (H2O) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์

ภาพที่ 10 ภาพแสดงสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า ที่มา: อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน&source.

สืบค้นวันท่ี 1 มิถุนายน 2559. ในการศึกษาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า พบว่าระบบมีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 30 องศาเซลเซียส เป็น 40 องศาเซลเซียส

1. จากการศึกษาดังกล่าว ข้อใดจัดเป็นระบบ ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์ ค. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์ ง. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้ า

2. จากการศึกษา สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ า ข้อใดจัดเป็นสิ่งแวดล้อม ก. โซเดียมไฮดรอกไซด์ ข. โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้ า ค. บีกเกอร์และเทอร์โมมิเตอร์ ง. ถ้วยกระเบื้องและโซเดียมไฮดรอกไซด์

2700

Page 31: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

3. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบแบบใด ก. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน ข. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อน ค. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบโดดเดี่ยว ง. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบลดอุณหภูมิ

4. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ เรียกว่าอะไร ก. ปฏิกิริยาคายความร้อน ข. ปฏิกิริยาดูดความร้อน ค. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ง. ปฏิกิริยาการเผาไหม้

5. ระบบที่มีการถ่ายเทมวลและพลังงานความร้อน จัดเป็นระบบแบบใด ก. ระบบเปิด ข. ระบบปิด ค. ระบบโดดเดี่ยว ง. ระบบปิดและเปิด

6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบปิด ก. การหายใจ ข. การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ค. การละลายเกลือในน้ า ง. การใส่โลหะลงในสารละลายกรดแล้วเกิดแก๊ส

7. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงในระบบเปิด ก. การเผากระดาษ ข. การละลายเหลือในน้ า ค. การละลายน้ าตาลในน้ า ง. การเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริกกับหินปูน

8. การเปลี่ยนแปลงแบบใด เป็นไปตามกฎทรงมวล ก. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาน้อยกว่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ข. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยามากกว่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ค. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาไม่เท่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา ง. มวลของสารก่อนท าปฏิกิริยาเท่ามวลของสารหลังท าปฏิกิริยา

28

Page 32: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

9. การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบคายความร้อน เป็นแบบใด

ก. ไม่มีการถ่ายเทพลังงานจากระบบสู่สิ่งแวดล้อม ข. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบสิ่งแวดล้อมสู่ระบบ ค. เป็นการถ่ายเทพลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม ง. เป็นการถ่ายเทพลังงานภายในระบบ

10. ข้อความใดเกี่ยวกับปฏิกิริยาดูดความร้อน ก. ต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ข. ระบบหลังการเปลี่ยนแปลงมีอุณหภูมิต่ าลง ค. ตอนเริ่มปฏิกิริยาไมต่้องให้พลังงานเข้าไป ง. สารตั้งต้นมีพลังงานมากกว่ากว่าสารผลิตภัณฑ์

29

Page 33: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

ชื่อ.............................................................ชั้น..................เลขท่ี...............

ข้อ ก ข ค ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนนที่ได้

3000

Page 34: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 เร่ือง ระบบและการเปลี่ยนแปลง

ข้อ เฉลย

1 ง 2 ค 3 ก 4 ข 5 ก 6 ค 7 ก 8 ง 9 ค 10 ก

31

Page 35: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพร้าว.

ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2555. วิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพมหานคร: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. 2559. คู่มือครูหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2.

กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). ยุพา วรยศ และคณะ. 2551. วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: อักษร

เจริญทัศน์ อจท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). 2557. วิทยาศาสตร์3. พิมพ์ครั้งที่ 6.

กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพร้าว. กฎทรงมวล. (Online). https://33503duangsuda.wordpress.com. สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2559.

ระบบกับการเปลี่ยนแปลง. (Online). https://sites.google.com/site/lamaiyodpho/bth-thi-1-sar-laea-kar-peliyn-plng/2-rabb-laea-sing-waedlxm-kab-kar-peliynpaelng-khxng-v. สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2559.

อุปกรณ์วิทย์การ์ตูน. (Online). https://www.google.co.th/search?q=อุปกรณ์วิทย์+การ์ตูน&source. สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2559.

32

Page 36: ค าน า - kroobannok.com · ชุดที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี ชุดที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ