วิวัฒนาการรถเกราะ

8
วิวัฒนาการ รถเกราะของ ทบ.ไทย เปนที่ทราบกันดีแลววา คุณลักษณะที่สําคัญ ๓ ประการของยานเกราะก็คือ ...ความ คลองแคลวในการเคลื่อนที(MOBILITY)...ฮํานาจการยิง(FIRE POWER) ...และ อํานาจทําลายและ ขมขวัญ (SHOCK ACTION OR SHOCK EFFECT) จากคุณลักษณะประการแรก คือ...ความคลองแคลวในการเคลื่อนที่ นี่เอง ทหาร มา ไดมีการพัฒนา ขา หรือ ยานที่จะนําตน หรือ ชุดรบของตนให เคลื่อนทีไปไดอยาง คลองแคลวในเกือบทุกลักษณะภูมิประเทศ และทุกมิติ ไมวาลมฟาอากาศจะเปนเชนใด นับตั้งแต ชาง , มา , ลา , ลอ , จักรยาน , จักรยานยนต , รถเกราะ , รถถัง หรือ แมกระทั่ง ... แมลงปอเหล็ก หรือเฮลิคอปเตอร เปนใชไดทั้งนั้น ในฐานะทีรถเกราะ ก็มีสวนเปน ยานรบ ชนิดหนึ่งของเหลาทหารมา เปน เรื่องที่ทหารทุกเหลาในกองทัพไทย ควรจะไดทราบวา รถเกราะที่ ทบ. ไทยเคยมีเคยใชในอดึต และยังมีใชอยูจนกระทั่งทุกวันนี้ มีความเปนมาอยางไร และมีวิวัฒนาการมาอยางไร กอนที่จะวาถึงความเปนมาของ รถเกราะของ ทบ. ไทย ก็อยากจะแยกแยะให ทราบเสียกอนวารถชนิดใหนจึงเรียกวา รถเกราะชนิดใหนจึงเรียกวา รถถังเพราะเคยมีคนเรียก ผิดเรียกถูกสับสนกันมาก แมแตผูที่แตงเครื่องแบบทหารเองก็ยังเรียกไมคอยถุก ขอเริ่มตั้งแต คําวา ... ยานเกราะ (ARMOERD VEHICLE) ไดแก บรรดายานรบ ทั้งหลายที่มีกําลังขับเคลื่อนไดดวยตนเอง มีเกราะหอหุมรอบตัว หรือบางสวนติดอาวุธเขาไป เรียกวา ยานเกราะไดทั้งนั้นไมวาจะเปน รถถัง รถเกราะ รถสายพานแบบตางๆ แมกระทั่งรถปน ใหญ,รถสายพานทหารชางสนาม,รถสะพานกรรไกร ฯลฯ เปนตน ยานเกราะ จําแนกออกเปนประเภทใหญๆ ได ๒ ประเภท คือ.- .ประเภทสายพาน (TRACKED VEHICLE) แยกเปน - รถสานพานลวน (FULL-TRACKED VEHICLE) - รถกึ่งสายพาน (HALF-TRACKED VEHICLE) .ประเภทลอ (WHEELED VEHICLE) - รถเกราะ (ARMORED CAR) - รถศึก (WAR CART OR CHARIOT) ทั้งหมดที่กลาวมานี้จัดอยูในประเภท รถรบ” (COMBAT VEHICLE) รถถัง (TANK) , รถสายพานลําเลียงพล (ARMOURED PERSONNEL CARIER ) หรือ รสพ.(APC.) รถสายพานที่บังคับการ, รถสายพานบรรทุกเครื่องยิงลูกระเบิด, รถสายพานกูซอม, รถ สายพานทหารชางสนาม, ตลอดจนปนใหญอัตตาจรแบบตาง ๆ จัดอยูในประเภท รถสายพาน ลวน

Upload: wanmai-niyom

Post on 25-Oct-2015

55 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

This document is about evolution of Thai Army's armoured fighting vihicles from 1930s to present days.

TRANSCRIPT

Page 1: วิวัฒนาการรถเกราะ

วิวัฒนาการ “รถเกราะ” ของ ทบ.ไทย

เปนที่ทราบกันดีแลววา คุณลักษณะที่สําคัญ ๓ ประการของยานเกราะก็คือ ...ความ

คลองแคลวในการเคลื่อนที่ (MOBILITY)...ฮํานาจการยิง(FIRE POWER) ...และ อํานาจทําลายและ

ขมขวัญ (SHOCK ACTION OR SHOCK EFFECT)

จากคุณลักษณะประการแรก คือ...ความคลองแคลวในการเคลื่อนที่ น่ีเอง “ทหาร

มา”ไดมีการพัฒนา”ขา” หรือ “ยาน” ที่จะนําตน หรือ ชุดรบของตนให “เคลื่อนที่”ไปไดอยาง”

คลองแคลว”ในเกือบทุกลักษณะภูมิประเทศ และทุกมิติ ไมวาลมฟาอากาศจะเปนเชนใด นับต้ังแต

ชาง ,มา ,ลา ,ลอ , จักรยาน , จักรยานยนต ,รถเกราะ ,รถถัง หรือ แมกระทั่ง . . .แมลงปอเหล็ก

หรือเฮลิคอปเตอร เปนใชไดทั้งน้ัน

ในฐานะที่ “รถเกราะ” ก็มีสวนเปน “ยานรบ” ชนิดหน่ึงของเหลาทหารมา เปน

เร่ืองที่ทหารทุกเหลาในกองทัพไทย ควรจะไดทราบวา “รถเกราะ” ที่ ทบ.ไทยเคยมีเคยใชในอดึต

และยังมีใชอยูจนกระทั่งทุกวันน้ี มีความเปนมาอยางไร และมีวิวัฒนาการมาอยางไร

กอนที่จะวาถึงความเปนมาของ “รถเกราะของ ทบ.ไทย” ก็อยากจะแยกแยะให

ทราบเสียกอนวารถชนิดใหนจึงเรียกวา “รถเกราะ” ชนิดใหนจึงเรียกวา “รถถัง” เพราะเคยมีคนเรียก

ผิดเรียกถูกสับสนกันมาก แมแตผูที่แตงเคร่ืองแบบทหารเองก็ยังเรียกไมคอยถุก

ขอเร่ิมต้ังแต คําวา...ยานเกราะ (ARMOERD VEHICLE) ไดแก บรรดายานรบ

ทั้งหลายที่มีกําลังขับเคลื่อนไดดวยตนเอง มีเกราะหอหุมรอบตัว หรือบางสวนติดอาวุธเขาไป

เรียกวา ยานเกราะไดทั้งน้ันไมวาจะเปน รถถัง รถเกราะ รถสายพานแบบตางๆ แมกระทั่งรถปน

ใหญ,รถสายพานทหารชางสนาม,รถสะพานกรรไกร ฯลฯ เปนตน

ยานเกราะ จําแนกออกเปนประเภทใหญๆ ได ๒ ประเภท คือ.-

๑.ประเภทสายพาน (TRACKED VEHICLE) แยกเปน

- รถสานพานลวน (FULL-TRACKED VEHICLE)

- รถกึ่งสายพาน (HALF-TRACKED VEHICLE)

๒.ประเภทลอ (WHEELED VEHICLE)

- รถเกราะ (ARMORED CAR)

- รถศึก (WAR CART OR CHARIOT)

ทั้งหมดที่กลาวมาน้ีจัดอยูในประเภท “รถรบ” (COMBAT VEHICLE)

รถถัง (TANK) , รถสายพานลําเลียงพล (ARMOURED PERSONNEL CARIER ) หรือ

รสพ.(APC.) รถสายพานที่บังคับการ, รถสายพานบรรทุกเคร่ืองยิงลูกระเบิด, รถสายพานกูซอม, รถ

สายพานทหารชางสนาม, ตลอดจนปนใหญอัตตาจรแบบตาง ๆ จัดอยูในประเภท “รถสายพาน

ลวน”

Page 2: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๔

รถกึ่งสายพาน ไมมีปญหา ชื่อก็บอกอยูแลว ลอหนา ๒ ลอ เปนลอยาง สวนลอหลังจะเปน

สายพาน หรือตีนตะขาบ สวนมากใชในการลําเลียงพล และติดต้ังอาวุธตอสูอากาศยาน

“รถเกราะ” สวนใหญมักจะเรียกกันผิด ๆ วา “รถหุมเกราะ” บาง “รถยนตหุมเกราะ” บาง,

“รถยนตเกราะ” บาง แลวแตใครจะถนัดเรียกไหน

มีหลักจํางาย ๆ วา ถาเปนยานรบที่มีเกราะรอบตัว ติดต้ังอาวุธเพื่อทําการรบมาต้ังแตเดิม

แลวเรียกวา “รถเกราะ” แตถาเปนรถธุรการทั่ว ๆ ไป เชน รถจ๊ิป,รถแลนดโรเวอร หรือ รถยนต

บรรทุกทหารธรรมดา แลวนํามาดัดแปลงติดแผนเกราะกันกระสุนและสะเก็ดระเบิดในภายหลังเพื่อ

นําไปใชในความมุงหมายหลายประการ (ไมมีอาวุธในตัวเอง) จึงจะเรียก “รถหุมเกราะ” หรือ

“รถยนตหุมเกราะ”

ปูพื้นมาพอสมควรแลว เห็นจะตองวกเขาเร่ืองเสียที

“รถเกราะของ ทบ.ไทย” เร่ิมมีใชคร้ังแรกในสมัยรัตนโกสินทรน่ีเอง ถาจะวาไปแลว “รถ

เกราะคันแรก” ที่จุติขึ้นในกองทัพไทย เปนรถเกราะที่จัดสรางขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ โดยที่ในขณะน้ันมีการจัดต้ัง “กองรถยานเกราะ กองเสนา

หลวงรักษาพระองค(เสือปา)” ขึ้น พระองคไดพระราชทานทรัพยสวนพระองค จัดสรางรถเกราะขึ้น

๑ คัน เปนตนแบบ เมื่อ ธ.ค. ๒๔๖๒ ซึ่งนับเปนรถเกราะคันแรกของประเทศไทย (ราชกิจจา

นุเบกษาเลม ๓๖ หนา ๓๐๒๖) แตยังไมมีบทบาทอะไรมาก เพราะมีเพียงคันเดียว และไมทราบวา

จนปานน้ี ซากรถเกราะคันน้ีไปอยูที่ใด และมีรูปรางหนาตาเปนอยางไร เพราะไมมีผูใดถายรูปไว คง

ไดแตจารึกไวเปนประวัติศาสตร

ตอมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ จึงไดมีการริเร่ิม

สั่งซื้อรถเกราะจากตางประเทศเขามาใชในกองทัพไทย ใน พ.ศ. ๒๔๗๔ เมื่อนับจนถึงปจจุบัน ทบ.

ไทยเคยมี “รถเกราะ” ใชมาแลวถึง ๕ แบบดวยกัน คือ

(๑) รถเกราะแบบ ๗๔ (MORRIS)

(๒) รถเกราะแบบ ๙๒ (STAGHOUND)

(๓) รถเกราะ แบบ เอ็ม ๘ (GREYHOUND)

(๔) รถเกราะ แบบ เอ็ม ๗๐๖ (COMMANDO V-100)

(๕) รถเกราะ แบบ เอ็ม ๗๐๖ เอ ๑ (COMMANDO V- 150)

“รถเกราะแบบ ๗๔” เปนรถเกราะแบบแรกที่ ทบ.ไทยสั่งซื้อจากตางประเทศ หลังจากที่สั่งซื้อรถถัง

รุนแรก (รถถังแบบ ๗๓) ไดเพียงปเดียว โดยสั่งซื้อมาจากประเทศอังกฤษ เมื่อป พ.ศ.๒๔๗๔ มี

จํานวน ๖ คัน เปนรถเกราะประเภท ๔ ลอ มีฉายาที่เปนที่รูจักในบรรดาทหารรบสมัยน้ันวา “ไอ

โกรง” มีรูปรางหนาตาดังภาพในหนาตอไป

Page 3: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๕

รถเกราะแบบ ๗๔ ย ังไมเคยมีบทบาทอะไรในสงคราม ไมวาจะเปนสงครามอินโดจีน หรือ

สงครามมหาเอเชียบูรพา จะมีอยูบางก็ในป ๒๔๗๖ ซึ่งมีการจัดกําลังออกปฏิบัติการในการปราบ

กบฏวรเดช ณ บริเวณทุงบางเขน และไดขับไลพวกกบฏใหออกไปพนเขตพระนคร นับเปนผลงาน

เกี่ยวกับ INTERNAL SECURITY หรือ STABILITY OPERATIONS อยางหน่ึงเหมือนกัน

“ไอโกรง” ผูเคยผานการปราบกบฏบวรเดชมาแลวที่ทุงบางเขน

เจา “สแตกฮาวด” น่ีเอง ที่เคยเปนเขี้ยวเล็บของตํารวจไทยสมัยหน่ึง

Page 4: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๖

“รถเกราะแบบ ๙๒” นับเปนรถเกราะแบบที่ ๒ ที่สั่งซื้อจากตางประเทศ และ มีใชใน ทบ.

ไทย ผลิตในสหรัฐอเมริกา มีชื่อเปนภาษาอังกฤษวา “ARMOURED CAR, MARK I

STAGHOUND” หรือจะเรียกแบบไทย ๆ ก็คงจะเรียกไดวา “เจาสุนัขไลกวาง” หรือ “หมาไลเน้ือ”

ชนิดหน่ึง มีใชอยู ๒ รุนดวยกัน

- รุนที่แรก ทบ.จัดซื้อมาใชเองในป ๒๔๙๒ จํานวน ๒๕ คัน (เพราะเลขทายป พ.ศ. ที่จัดซื้อ

เขามาน่ีเองจึงไดชื่อวาเปนรถเกราะแบบ ๙๒)

- รุนที่ ๒ ไดมาโดยไมตองซื้อหา แตตองออกแรงกันนิดหนอย คือไปยึดมาจาก “ตํารวจ

รถถัง” ที่วังปารุสกวัน เมื่อคราวเกิดรัฐประหารในป ๒๕๐๐ จํานวน ๒๓ คัน รวมกับที่มีอยูเดิม เปน

๔๘ คัน

รถเกราะแบบ ๙๒ น้ี ไดนํามาเขาประจําการอยูในอัตราของ ม.๑ รอ.พัน.๒ และ ม.๑ รอ.

พัน.๓ ตอมาไดมีบางสวนถูกจัดสรรใหไปอยูกับ รอย.ม. ยานเกราะ ผส.๕ ร.พัน.๒ (รอย.ม.ปตตานี)

จํานวนหน่ึง และอยูที่ น้ันจนกระทั้งกองรอยน้ีได รับ “รถสายพานโจมตี” หรือ ACAV

(ARMOURED CAVALRY ASSAULT VEHICLE) ไปทดแทนในระยะที่เสร็จสิ้นสงคราม

เวียดนามใหม ๆ รถเกราะสวนน้ีจึงได “ปลดระวาง” ไปโดยปริยาย คันไหนที่ยังพอใชไดก็สงกลับ

กรุงเทพฯ คันที่ DEADLINED เพราะไปไมไหวจริง ๆ ก็เก็บไวประดับหนากองรอย, ประตูคาย

หรือไมก็สงเขา “พิพิธภัณฑทหารมา” ที่สระบุรี

รถเกราะแบบ ๙๒ เปนรถเกราะประเภท ๔ ลอ สวนใหญไดใชราชการมาจนกระทั้งป

๒๕๐๒ จึงไดเลิกใช และปลดประจําการไป เพราะมียานรบชนิดอ่ืนมาทดแทนบางสวนที่ยังพอ

“ไปไหว” อยู สพ.ทบ. เคยนํามาดัดแปลงเคร่ืองยนตอยูระยะหน่ึง ก็ใชไปไดอีกพักใหญ ๆ ราว ๑๐ ป

เศษ จึงไดปลดประจําการ ประมาณป ๒๕๑๕ น้ี

เจา “เกรยฮาวด” ตัวน้ีก็เคยเฟองในวังปารุสกมากอนเชนกัน

Page 5: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๗

“รถเกราะ เอ็ม ๘” เปนรถเกราะอีกแบบหน่ึงที่ ทบ. ไทย มีใชโดยไมตองซื้อหาแตเพราะ

ความผันผวนทางการเมืองในยุคน้ันจึงใชวิธี “ยึด” เอามาใชโดยพลการ กลาวคือในปเดียวกับที่ฝาย

ทหาร ยึด “รถเกราะ แบบ ๙๒” หรือ แสต็กฮาวด มาจากตํารวจไดยึด “รถเกราะ เอ็ม ๘” มาดวย

จํานวน ๒๕ คัน

“รถเกราะแบบ เอ็ม ๘” มีชื่อสามัญเรียกกันวา “เกรยฮาวด” (GREY HOUND)ซึ่งเปนชื่อ

ของ “สุนัขไลเน้ือ” อีกพันธุหน่ึง, มีชวงตัวยาว, ขายาว, ว่ิงเร็ว (บริษัทรถประจําทางที่มีชื่อเสียงมาก

บริษัทหน่ึงของสหรัฐฯ ไดนําเอาชื่อน้ีมาต้ังชื่อบริษัท ซึ่งรูจักในนามบริษัทรถบัส “เกรยฮาวด) ถาจะ

เรียกเปนภาษาอังกฤษใหเต็มยศก็เรียกวา “ARMOURED CAR M 8, GREYHOUND”

รถเกราะแบบน้ี เคยประจําการอยูที่ ม.๑ พัน.๑ รอ. จํานวน ๑๐ คัน โดย สพ.ทบ. ได

ดัดแปลงเคร่ืองยนตจากเดิมที่เคยใชเคร่ืองยนตของ รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน แบบ เอ็ม ๖๐๒ ซึ่งมีใชอยูตาม

หนวยตาง ๆ ขณะน้ัน

รถเกราะคอมมานโด วี ๑๐๐ ติดต้ัง ปก. ขนาด ๗.๖๒ มม. ๒ กระบอกคู

“รถเกราะแบบ เอ็ม ๗๐๖” หรือ “รถเกราะ คอมมานโด วี ๑๐๐” ความเปนมาที่ ทบ.ไทย จะ

มีรถเกราะแบบน้ีใชสืบเน่ืองมาจากสงครามเวียดนามอีกน้ันแหละ

เดิมที่การรบในเวียดนามไมเคยคิดจะนํา “รถเกราะ” มาใชเลย มีแต “รถถัง” เทาน้ันที่ใชเปน

หลักแตจากประสบประการณที่ไดรับวันแลววันเลา ทําใหทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติการรบ,

การสงกําลังบํารุง และ การฝกไดเปลี่ยนแปลงไป หลักนิยมบางอยางก็ตองลมเลิกไป เน่ืองจาก

ลาสมัยและไมเหมาะกับสถานการณและสิ่งแวดลอม

ทามกลางสิ่งตาง ๆ

Page 6: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๘

ที่เปลี่ยนแปลงไปน้ี “รถเกราะ”จึงไดมีผูนึกถึงความสําคัญและถูกนํามาใชงานอีกคร้ังหน่ึง

ทั้ง ๆ ที่ไดเลิกใชไปแลวต้ังแตสงครามโลกคร้ังที่ ๒

เพราะความตองการยานยนตหุมเกราะขนาดกลาง เพื่อใชปฏิบัติภารกิจลาดตระเวนคุมกัน

ขบวนลําเลียงและระวังปองกันพื้นที่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ถูกนําขึ้นมาพิจารณาใหม

อยางรวดเร็ว

ในป ๒๕๐๘ ทบ.สหรัฐฯ ไดซื้อ รถเกราะคอมมานโด วี-๑๐๐ ใหกับกองทัพเวียดนามใต

และอีก ๒ ปตอมา (๒๕๑๐) เมื่อรถเกราะ วี- ๑๐๐ ไดรับการทดสอบในสนามรบเรียบรอยแลว ทบ.

สหรัฐฯ จึงบรรจุ รถเกราะ วี-๑๐๐ เขาประจําการในกองกําลังที่เวียดนามใต

ปประมาณปลายป ๒๕๑๕ รัฐบาลสหรัฐฯ ไดสง รถเกราะ วี-๑๐๐ (ที่ใชแลว) ใหกับ ทบ.

ไทย จํานวน ๖ คัน ตามโครงการชวยเหลือทางทหาร เพื่อทดลองใชในภูมิภาคแถบน้ีบาง และ ทบ.ก็

ไดมอบรถเกราะจํานวนน้ีใหกับ ม.๑ พัน.๑ รอ. เปนผูรับผิดชอบอีกทอดหน่ึง

รถเกราะ วี-๑๐๐ ที่ไดรับจํานวน ๖ คันน้ี พอไดรับมาก็ใชวาจะบรรจุเขาประจําการใชทําการ

รบไดเลยทีเดียว เพราะที่มิตรประเทศเขามอบใหน้ัน ใหแตตัวรถเปลา ๆ ปนผาหนาไม, เคร่ืองมือ

สารประจํารถหรือแมนแตกงลอ และยางอะไหลของรถแตละคันเขาไมไดใหมาดวย ตองเที่ยวซื้อหา

ดัดแปลงติดต้ังกันเอาเองสิ้น โดย สพ.ทบ. และ ส.ส. เปนผูดําเนินการให

ยิ่งกวาน้ัน ยังตองมีการฝกพลประจํารถกันตามขั้นตอนตาง ๆ นับต้ังแต การฝกขั้นตน ที่

จังหวัดกาญจนบุรี ฝกการใชยุทธวิธีที่จังหวัดปราจีนบุรี แลวยังตองไปทดสอบดวยการปฏิบัติจริง

ในการปราบปราม ผกค. ในพื้นที่ของ ทภ.๒ สน. จังหวัดสกลนคร อีก ๖ เดือน จึงไดผลเปนที่นา

พอใจ และยอมรับเขาบรรจุใน อจย.ของ พัน.ม. ยานยนต

Page 7: วิวัฒนาการรถเกราะ

๒๙

“รถเกราะ เอ็ม ๗๐๖” หรือ “รถเกราะ คอมมานโด วี-๑๐๐” หรือถาเรียกกันใหเต็มยศเปน

ภาษาอังกฤษก็ตองเรียกวา “ARMORED CAR,M 706,COMMANDO V-๑๐๐” วางั้นเถอะเปนรถ

เกราะประเภท ๔ ลอ,แนนอนตองขับเคลื่อนไดทั้ง ๔ ลอ จึงจะเปนยานรบของทหาร ที่มีคุณลักษณะ

ที่ควรทราบดังน้ี

“รถเกราะ เอ็ม ๗๐๖ เอ ๑” หรือ “รถเกราะ คอมมานโด วี-๑๕๐” เปนรถเกราะตระกูล

เดียวกับ “วี-๑๐๐” และสรางจากบริษัทเดียวกัน เพียงแตมีการดัดแปลงรายละเอียดปลีกยอยบางอยาง

เพื่อแกไขขอบกพรองของ “วี-๑๐๐” ใหดีขึ้น เรียกงายๆ วา เปนแบบที่พัฒนาจาก “วี-๑๐๐” ให

ทันสมัยขึ้น เวลาน้ีประเทศตางๆ ในโลกเสรีนิยมใชแบบ “วี-๑๕๐” มาก ขอแตกตางระหวาง “วี-

๑๐๐” และ “วี-๑๕๐” จะไดกลาวถึงตอไป

“รถกราะ วี-๑๕๐” เคยมีขาววา ทบ.จะจัดหาใหกับ หนวยทหารมายานยนต (ม.พัน.๑รอ.)

จํานวน ๑ กองรอย (๑๗ คัน) ต้ังแตป ๒๕๑๖ แตแลวเร่ืองก็เงียบหายไป ถาไมเกี่ยวกับการ

เปลี่ยนแปลงทางการเมืองระยะน้ันก็คงจะเกี่ยวกับงบประมาณมากกวา เพราะตองจัดซื้อดวยงบของ

ทบ.เอง

เร่ืองมาโผลอีกคร้ังเมื่อป ๒๕๒๐ ที่ผานมาน้ีเอง การที่ ทบ.จะไดรถเกราะแบบน้ีมาไวใน

ครอบครองก็รูสึกวาจะเปนเร่ืองบังเอิญเหลือเกิน เพราะเดิมที่เปนเร่ืองของ บก.ทหารสูงสุด จะสั่งซื้อ

รถเกราะ วี-๑๕๐ มาเพิ่มเติมใหกับตํารวจ แตหลังจากที่สอบถามเหลาทัพตางๆ ดูแลว แตละเหลาทัพ

ก็มีความตองการเชนเดียวกัน จึงถือโอกาสสั่งซื้อพรอมๆ กันเสียเลย

จากความตองการของเหลาทัพตางๆ (รวมทั้งตํารวจดวย) เร่ืองจึงไดเขาสูที่ประชุม

คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงกลาโหมเปนเจาของร่ือง แลคณะรัฐมนตรีก็ไดมีมติเมื่อ ๓๑ ส.ค.๒๐

อนุมัติในหลักการให กห.จัดซื้อรถเกราะ แบบ คอมมานโด วี-๑๕๐ จํานวน ๑๖๔ คน เปนของ ทบ.

๗๔ คน,ทร.๒๔ คน และทอ.๑๒ น่ีคือความเปนมาอันแทจริงของการไดมาซึ่งรถเกราะแบบน้ี

จากรถเกราะจํานวน ๗๔ คนน้ี ทบ.ไดแบงมอบมาใหกับหนวยตางๆ ในเหลา ม. โดยเฉพาะ

อยางยิ่งหนวยที่เปน พัน ม. ยายยนต (อจย.๑๗-๕๗ ก.)โดยแบงเปนรถประเภทตางๆ ดังน้ี.-

รถเกราะ วี-๑๕๐ ติดต้ังปนใหญ ขนาด ๙๐ มม. จํานวน ๓๘ คน

รถเกราะ วี-๑๕๐ ติดต้ัง ค.ขนาด ๘๑ มม. จํานวน ๑๘ คน

รถเกราะ วี-๑๕๐ ลําเลียงพล (ไมมีปอมปน) ติดต้ัง ปก.ขนาด ๗.๖๒ มม.จํานวน ๑๘ คน

รถเกราะ วี-๑๕๐ รุนแรกไดเดินทางมาถึงประเทศไทย เมื่อ พ.ค.๒๑ จํานวน ๑๐ คน เปน

ประเภทลําเลียงพลทั้งหมด และทยอยเขามาเร่ือยๆ ทุกเดือนจนถึง ต.ค.๒๒ จึงครบ ๑๖๔ คน

ดังไดกลาวมาแลววา รถเกราะ วี-๑๐๐ กับ วี-๑๕๐ เปนรถตระกูลเดียวกัน คุณลักษณะสวน

ใหญจึงคลายคลึงกัน จะมีสวนที่แตกตางกันอยูบางก็เกี่ยวกับรายละเอียดจุกจิกตางๆ ดังตาราง

เปรียบเทียบตอไปน้ี.-

Page 8: วิวัฒนาการรถเกราะ

๓๐

กลาวโดยสรุปแลว วิวัฒนาการ”รถเกราะ”ของทบ.ไทย คงจะไมหยุดยั้งเพียงแคน้ี จะตองมี

การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกันเร่ือนไป ตราบเทาที่พัฒนายานรบทางทหารของประเทศตางๆ ในโลก

ไดคนพบเทคโนโลยีแปลกๆ ใหมๆ เกิดขึ้นอยูเร่ือยๆ