บทคัดย่อ

4
หัวขอวิทยานิพนธ : การวิจัยสรางยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน โดยการจัดทําแผนชุมชน อยางมีสวนรวม กรณีตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง นักวิจัย : นายนพดล อินทรเสนา ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต : สาขายุทธศาสตรการพัฒนา คณะกรรมการที่ปรึกษา : อาจารย ดร.เกษริน วะนะวิเชียร ประธาน ผูชวยศาสตราจารย ธนากร สังเขป กรรมการ บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) สรางยุทธศาสตรการพัฒนาการจัดทําแผนชุมชน ตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง (2) ทดลองดําเนินการตามยุทธศาสตรที่สรางขึ้น (3) ประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตรการพัฒนา โดยการจัดเวทีชุมชน 6 เวที คือ เวทีที(1) เตรียม ชุมชน (2) รวบรวมขอมูลชุมชน (3) วิเคราะหขอมูลและจัดทําแผนชุมชนระดับหมูบาน (4) จัดทํา แผนชุมชนระดับตําบล (5) การศึกษาดูงาม (6) ประชาพิจารณแผนชุมชน ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยใช การสังเกต การสัมภาษณ การสํารวจบริบทชุมชน การบันทึกขอมูลรายรับรายจาย หนี้สินครอบครัว และการบันทึกบัญชีครัวเรือน 30 วัน ในการจัดการพัฒนาศักยภาพและทุนชุมชน โดยการจัดทําเปน แผนชุมชนซึ่งเปนการรวมตัวกันจัดตั้งกลุมอาชีพเพื่อสรางรายไดเสริมใหแกครัวเรือน ผลการสรางยุทธศาสตรทําใหไดกลุมอาชีพ 13 กลุมอาชีพ ดังนีคือ (1) กลุมผลิตปุยอินทรีย (2) กลุมทําขนมทองมวน (3) กลุมเลี้ยงปลาในกระชัง (4) กลุมนมถั่วเหลือง (5) กลุมเกษตรนาขาว (6) กลุมเลี้ยงวัว (7) กลุมเลี้ยงปลาบอสาธารณะ (8) กลุมดอกไมประดิษฐ (9) กลุมผลิตน้ํายาลางจาน (10) กลุมเลี้ยงไกพันธุพื้นเมือง (11) กลุมเลี้ยงหมู (12) กลุมทําดอกไมจันทน (13) กลุมทําแหนม หลังจากการนํากลุมเลี้ยงไกไปทดลองและทําการประเมินผล ปรากฏวาสมาชิกมีความพึงพอใจและ เชื่อมั่นวาเปนแนวทางที่ถูกตองในการสรางรายไดใหแกสมาชิก สามารถแกปญหารายไดไมพอกับ รายจาย ซึ่งเปนการยืนยันไดวายุทธศาสตรนี้สามารถแกปญหาและความตองการของชุมชนไดจริง ขอเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนีคือ ควรจัดชวงเวลาในการจัดเวทีชุมชนใหเหมาะสม โดยคํานึงถึงฤดูกาล ความสะดวกของประชาชน เวลาที่ใชในการจัดเวทีชุมชนแตละเวทีตองไมทิ้ง ชวงเวลานานเกินไปเพราะจะทําใหการรวมตัวกันจัดเวทีชุมชนเปนไปดวยความยากลําบาก ควรทํา การวิจัยเพิ่มเติม โดยนําแผนงานหรือโครงการที่นําไปปฏิบัติแลวประสบผลสําเร็จไปพัฒนาตอยอด เปนวิสาหกิจชุมชนและควรจัดทําแผนชุมชนทั้งทางดานสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเพราะสภาพ ปญหาและความตองการทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ลวนมีผลกระทบและเชื่อมโยงตอกัน

Upload: dstrategy2008

Post on 14-Nov-2014

361 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทคัดย่อ

หัวขอวิทยานิพนธ : การวจิยัสรางยทุธศาสตรการพฒันาชมุชน โดยการจดัทาํแผนชมุชนอยางมีสวนรวม กรณีตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง

นักวิจัย : นายนพดล อินทรเสนาปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต : สาขายุทธศาสตรการพัฒนาคณะกรรมการที่ปรึกษา : อาจารย ดร.เกษริน วะนะวิเชียร ประธาน

ผูชวยศาสตราจารย ธนากร สังเขป กรรมการ

บทคัดยอ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) สรางยุทธศาสตรการพัฒนาการจัดทําแผนชุมชนตําบลแมทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง (2) ทดลองดําเนินการตามยุทธศาสตรที่สรางขึ้น (3) ประเมนิผลการดาํเนนิงานตามยทุธศาสตรการพฒันา โดยการจดัเวทีชุมชน 6 เวท ี คอื เวททีี ่ (1) เตรยีมชุมชน (2) รวบรวมขอมลูชุมชน (3) วเิคราะหขอมลูและจดัทาํแผนชมุชนระดบัหมูบาน (4) จดัทาํแผนชมุชนระดับตําบล (5) การศึกษาดูงาม (6) ประชาพิจารณแผนชุมชน ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยใชการสังเกต การสัมภาษณ การสํารวจบริบทชุมชน การบันทึกขอมูลรายรับรายจาย หนีสิ้นครอบครวัและการบนัทกึบญัชคีรัวเรือน 30 วนั ในการจดัการพฒันาศกัยภาพและทนุชมุชน โดยการจดัทาํเปนแผนชุมชนซึ่งเปนการรวมตัวกันจัดตั้งกลุมอาชีพเพื่อสรางรายไดเสริมใหแกครัวเรือน

ผลการสรางยทุธศาสตรทาํใหไดกลุมอาชพี 13 กลุมอาชพี ดงันี ้ คอื (1) กลุมผลิตปุยอินทรยี (2) กลุมทาํขนมทองมวน (3) กลุมเลีย้งปลาในกระชงั (4) กลุมนมถัว่เหลือง (5) กลุมเกษตรนาขาว (6) กลุมเลีย้งววั (7) กลุมเลีย้งปลาบอสาธารณะ (8) กลุมดอกไมประดษิฐ (9) กลุมผลิตน้าํยาลางจาน (10) กลุมเลี้ยงไกพันธุพื้นเมือง (11) กลุมเลี้ยงหมู (12) กลุมทําดอกไมจันทน (13) กลุมทําแหนม หลังจากการนํากลุมเลี้ยงไกไปทดลองและทําการประเมินผล ปรากฏวาสมาชิกมีความพึงพอใจและเชื่อมั่นวาเปนแนวทางที่ถูกตองในการสรางรายไดใหแกสมาชิก สามารถแกปญหารายไดไมพอกับรายจาย ซ่ึงเปนการยืนยันไดวายุทธศาสตรนี้สามารถแกปญหาและความตองการของชุมชนไดจริง

ขอเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ คือ ควรจัดชวงเวลาในการจัดเวทีชุมชนใหเหมาะสมโดยคํานึงถึงฤดูกาล ความสะดวกของประชาชน เวลาที่ใชในการจัดเวทีชุมชนแตละเวทีตองไมทิ้งชวงเวลานานเกินไปเพราะจะทําใหการรวมตัวกันจัดเวทีชุมชนเปนไปดวยความยากลําบาก ควรทําการวิจัยเพิ่มเติม โดยนําแผนงานหรือโครงการที่นําไปปฏิบัติแลวประสบผลสําเร็จไปพัฒนาตอยอดเปนวิสาหกิจชุมชนและควรจัดทําแผนชุมชนทั้งทางดานสังคม เศรษฐกิจและการเมืองเพราะสภาพปญหาและความตองการทัง้ทางสงัคม เศรษฐกจิและการเมอืง ลวนมผีลกระทบและเชือ่มโยงตอกนั

Page 2: บทคัดย่อ

ตลอดจนควรนาํแผนชมุชนระดบัตาํบลไปเชือ่มโยงกบัแผนยทุธศาสตรของอาํเภอ และแผนยทุธศาสตรของจงัหวดั เพือ่การสนบัสนนุจากหนวยงานทัง้ระดบัอาํเภอและระดบัจงัหวดั ทัง้ทางวชิาการและงบประมาณ แตควรระวงัไมใหชุมชนเกดิความรูสึกวาควรไดรับการสนบัสนนุและเกดิการรองขอจากหนวยงานภาครฐัมากกวาการคดิทีจ่ะพึง่ตนเอง

Page 3: บทคัดย่อ

Thesis Title : A Research on the Creation of the Community DevelopmentStrategy by Participant Community Planning : The Case of Tambon Maetha, Amphoe Maetha, Changwat Lampang

Author: Mr.Nopphadon IndrasenaMaster of Art: Development StrategyThesis Committee : Dr.Kaesarin Vanavichial Chairman

Assistant Professor Tanakorn Sungkep Member

Abstract

The objectives of this research were (1) to create the development strategy in order to design community plan for Tambon Maetha, Amphoe Maetha, Changwat Lampang, (2) to experiment of the plan design, (3) to evaluate the experiment of the plan design with the six community forums to (1) get the community ready, (2) collect data from the community, (3) analysis the data and create a village community plan, (4) design a tambon community plan, (5) arrange a field activity, and (6) launch a public hearing on the community plans created. Data collecting has been done by means of observation, interview, context survey, making record of household income, expenses and debts, and initiating a monthly book-keeping activity of each household in and attempt to improve the capacity as well as the community capacity by creating the community plans which involved the gathering of the villages in order to set up the career groups to get more household income.

The result in the 13 career groups for a variety of products and activities, namely (1) making organic fertilizer, (2) making Thong Muan (a kind of Thai dessert made from rice), (3) raising fishing in net containers, (4) making soy bean milk, (5) cultivating rice, (6) raising cows, (7) raising fishing in public ponds, (8) making artificial flowers, (9) making dishwashing liquid, (10) raising native chickens, (11) raising pigs, (12) making Dorkmie Jun (flower – look – alike design used in the ritual of a Thai way of cramation), and (13) making pickled pork.After experimenting and evaluating the career group which produced native chickens, it was found that every member of the group was satisfied and believed that it was the right way to increase their income and this could solve the problem of an unbalance between the income

Page 4: บทคัดย่อ

and the expenses. This could confirm that the strategy was practically able to solve the community,s problems and needs as a whole.

It was recommended in this research that one should schedule the proper time for the community forums by putting factors related to the seasons and the people,s convenience in to consideration. Moreover, the duration between each forum should not be left too far apart from one another, since it was hard for the gatherings of the people involved. This research should be extended by making use of plans or projects which had been implemented successfully and improved until each of them became a Small and Micro Community Enterprise(SMCE). Furthermore, we should make a community plan by putting social, economic and political perspectives into account because these in turn would affect and connect with another. And we should also connect a tambon community plan with the amphoe strategic plan and changwat strategic plan one, respectively in order for the tambon to gain a strong support in the forms of academics and budgets from both the amphoe and the changwat offices. However, one should be well aware that he/she should not initiate the feeling among the villagers that they should have been officially supported by the government sector and consequently requested for the assistance from it rather than relied on themselves in a subsistent way.