54101 unit10

19
หนวยที10 ไฟฟาและวงจรไฟฟา ทฤษฏีไฟฟาเบื้องตน 1. ระบบสงจายไฟฟา ในการผลิตไฟฟาแบงตามลักษณะการแปรรูปพลังงานได 2 แบบ - โรงไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานที่ที่สามารถนํากลับมาใชไดอีก เชน พลังน้ํา แสงอาทิตย ลม พลังงานไฟฟาใตพิภพ - โรงไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานที่ใชแลวหมดไป เชน โรงไฟฟาถานหิน น้ํามันเตา กาซ พลังงานนิวเคลียร ในการสงจายพลังงานไฟฟาจะมีการลดทอนแรงดันต่ ําจนมีคาเหมาะกับผูใช ระดับแรงดันที่ใชในประเทศไทย 1.1 ระดับแรงดันสําหรับสายสงแรงสูง สงจากโรงไฟฟา ระหวางสถานีไฟฟา 69kv 115kv 230kv 500kv อยูในความรับผิดชอบ ของ การไฟฟาฝายผลิต 1.2 ระดับแรงดันสําหรับระบบจําหนายแรงสูง สถานีไฟฟายอยระบบจําหนาย ไปยังหมอแปลงระบบจําหนาย 11kv 22kv 33kv 22kv 24kv 1.3 ระดับแรงดันสําหรับระบบจําหนายแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ความถี50 เฮิรตซ และ ระบบแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต 50 เฮิรตซ 2 ประจุไฟฟา มี 2 ชนิดคือ ประจุบวก ถูกพาเคลื่อนที่ดวยโปรตอน และประจุลบถูกพาเคลื่อนที่ดวยอิเลคตรอน ประจุเหมือนกัน จะผลักกันประจุตางกันจะดูดกัน เมื่อประจุลบหรืออิเลคตรอนเคลื่อนที่ภายในตัวนําไฟฟาจะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น กระแสไฟฟาแบงไดเปน 2 ประเภทคือ 2.1 ไฟฟากระแสตรง (direct current : DC) คือการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางการไหลในทิศทางเดียวจากขั้วลบไปยัง ขั้วบวก เชนแบตเตอรี่รถยนต 24 volt ถานไฟฉาย 1.5 volt 2.2 ไฟฟากระแสสลับ (alternating current: AC) เปนการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางไหลกลับไปกลับมาตลอดเวลา โดย การเคลื่อนที่ประจุไฟฟาบวกและลบสลับกันในตัวนําสาย เชน ไฟฟาตามบาน220 โวลต 50 เฮิรตซ 3. หลักการเบื้องตนของการกําเนิดไฟฟา เมื่อเสนแรงแมเหล็กเคลื่อนที่ตัดขดลวด หรือขดลวดเคลื่อนที่ตัดเสนแรงแมเหล็ก จะ ทําใหเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในขดลวด ขนาดของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ ขนาดของสนามแมเหล็ก จํานวนรอบของขดลวด ความเร็วของการเคลื่อนที และตําแหนงขดลวดในสนามไฟฟา แบงออกเปน 2 แบบ คือ 1 เฟส และ 3 เฟส

Upload: -

Post on 21-Feb-2017

272 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: 54101 unit10

หนวยท่ี 10 ไฟฟาและวงจรไฟฟา ทฤษฏีไฟฟาเบื้องตน 1. ระบบสงจายไฟฟา ในการผลิตไฟฟาแบงตามลักษณะการแปรรูปพลังงานได 2 แบบ - โรงไฟฟาทีผ่ลิตจากพลังงานที่ที่สามารถนํากลับมาใชไดอีก เชน พลังน้ํา แสงอาทิตย ลม พลังงานไฟฟาใตพิภพ - โรงไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานที่ใชแลวหมดไป เชน โรงไฟฟาถานหนิ น้ํามันเตา กาซ พลังงานนิวเคลียร ในการสงจายพลังงานไฟฟาจะมีการลดทอนแรงดันต่ําจนมีคาเหมาะกบัผูใช ระดับแรงดันที่ใชในประเทศไทย 1.1 ระดับแรงดันสําหรับสายสงแรงสูง สงจากโรงไฟฟา ระหวางสถานีไฟฟา 69kv 115kv 230kv 500kv อยูในความรับผิดชอบของ การไฟฟาฝายผลิต 1.2 ระดับแรงดันสําหรับระบบจําหนายแรงสูง สถานีไฟฟายอยระบบจาํหนาย ไปยังหมอแปลงระบบจําหนาย 11kv 22kv 33kv 22kv 24kv 1.3 ระดับแรงดันสําหรับระบบจําหนายแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ความถี่ 50 เฮิรตซ

และ ระบบแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต 50 เฮิรตซ

2 ประจุไฟฟา มี 2 ชนิดคือ ประจุบวก ถูกพาเคลื่อนที่ดวยโปรตอน และประจุลบถูกพาเคลื่อนที่ดวยอิเลคตรอน ประจุเหมือนกันจะผลักกันประจุตางกนัจะดดูกัน เมื่อประจุลบหรืออิเลคตรอนเคลื่อนที่ภายในตวันําไฟฟาจะทําใหเกิดกระแสไฟฟาขึ้น กระแสไฟฟาแบงไดเปน 2 ประเภทคือ 2.1 ไฟฟากระแสตรง (direct current : DC) คือการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางการไหลในทศิทางเดียวจากขั้วลบไปยังขั้วบวก เชนแบตเตอรี่รถยนต 24 volt ถานไฟฉาย 1.5 volt 2.2 ไฟฟากระแสสลับ (alternating current: AC) เปนการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางไหลกลบัไปกลับมาตลอดเวลา โดยการเคลื่อนที่ประจุไฟฟาบวกและลบสลับกันในตวันําสาย เชน ไฟฟาตามบาน220 โวลต 50 เฮิรตซ 3. หลักการเบือ้งตนของการกําเนิดไฟฟา เมื่อเสนแรงแมเหล็กเคลื่อนทีต่ัดขดลวด หรือขดลวดเคลื่อนที่ตัดเสนแรงแมเหล็ก จะทําใหเกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในขดลวด ขนาดของแรงเคลื่อนเหนีย่วนําจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับ ขนาดของสนามแมเหล็ก จํานวนรอบของขดลวด ความเร็วของการเคลื่อนที่ และตําแหนงขดลวดในสนามไฟฟา แบงออกเปน 2 แบบ คือ 1 เฟส และ 3 เฟส

Page 2: 54101 unit10

3.1 การกําเนิดไฟฟา 1 เฟส แรงเคลื่อนไฟฟา 1 เฟส เกิดจากการเคลื่อนที่ของขดลวด 1 ขด ตัดสนามแมเหล็กคงที่ ทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนีย่วนําทีเ่ปนกระแสสลับ ที่มีการเปลี่ยนขนาดทิศทางเปนรูปคลื่นไซน

การกําเนดิไฟฟา 1 เฟส ที่เวลาตางๆ 3.2 การกําเนิดไฟฟา 3 เฟส แรงเคลื่อนไฟฟา 3 เฟสเกิดจากการเคลื่อนที่ของแกนแมเหล็ก ตักขดลวดตัวนํา 3 ชุด มีมุมองศาตางกัน 120 องศาทางไฟฟา

Page 3: 54101 unit10

หนวยวัดและสมการทางไฟฟา 1. หนวยวัดทางไฟฟา 1.1 ความตานทานไฟฟา (resistance) เปนคุณสมบัติของสสารที่ตอตานการไหลของกระแสไฟฟา สสารที่มีความตานทานไฟฟานอยกวาเรียกวา ตัวนําไฟฟา สวนสสารที่มีความตานทานไฟฟามากกวาเรียกวา ฉนวนไฟฟา ความตานทานมีหนวยเปนโอหม 1.2 แรงดันไฟฟา (voltage) เปนแรงที่ทําใหอิเลคตรอนเกิดการเคลื่อนที่ หรือแรงที่ทาํใหเกิดการไหลของไฟฟา มีหนวยเปน โวลท V 1.3 กระแสไฟฟา (current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนจากจดุหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ภายในตัวนําไฟฟา หนวยเปน แอมแปร A 1.4 กําลังงานไฟฟา (power) อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรืออัดตราการทํางาน มหีนวยเปน วัตต watt W 1.5 พลังงานไฟฟา (energy) คือ กําลังไฟฟาที่ใชไประยะหนึ่ง มหีนวยเปน วัตต-ช่ัวโมง (watt-hour) หรือ ยูนติ(unit) 1.6 ความถี่ (frequency) คือจํานวนรอบของกระแสไฟฟาสลบั มีหนวยเปน เฮิรตซ Hz 1.7 รอบ (cycle) คือการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟาครบ 360 องศาซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงไฟฟาคาบวกและคาลบไดสมบูรณ 1.8 แรงมา (horse power) หรือกําลังมา เปนหนวยวัดกําลังหรืออัตราการทํางาน 1 แรงมา = 550 ฟุต-ปอนด หรือ 745.7 วัตต ประมาณ 746 วัตต 2. สมการไฟฟา 2.1 กฎของโอหม (ohm’s low) ค.ศ. 1862 นักฟสิกสชาวเยอรมัน George Simon Ohm กลาววากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจรจะแปรผนัตรงกบัแรงดันไฟฟาและแปรผกผนักับคาความตานทาน E = IR 2.2 สมการคากําลังไฟฟา มหีนวยเปนวัตต P=EI 2.3 สมการคาพลังงานไฟฟา W = Pt กิโลวัตตตอช่ัวโมง หรือยูนิต(unit)

Page 4: 54101 unit10

อุปกรณไฟฟาพื้นฐานและวงจรไฟฟาเบื้องตน 1. อุปกรณไฟฟาพื้นฐาน - ตัวตานทาน (resistor) เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ตอตานการไหลของกระแสไฟฟา ความตานทานมีหนวยเปนโอหม มีชนิดคงที่ ปรับคาได ชนดิเปลื่ยนคาได - ตัวเก็บประจ ุ(capacitor) เปนอุปกรณทําหนาที่ปองกันการไหลของกระแสไฟฟา สามารถเก็บประจุไฟไวได มีชนิด คาคงที่ ปรับคาได และชนิดเลือกคาได - ตัวเหนีย่วนาํ (inductor) เปนอุปกรณนาํมาใชในวงจรไฟฟาอิเลคทรอนิกลสเกี่ยวของกับสนามแมเหล็กไฟฟานํามาใชเกีย่วกบัความถี่วิทยุ หนวยเปนเฮนรี่ H มีชนิด ตัวเหนี่ยวนําแบบโชกแกนเหล็กในยานความถีต่่ําๆ แบบโชกแกนอากาศใชในยานความถี่วิทยุ แบบโชกแกนเฟอรไรท ใชในยานความถี่สูง 2. วงจรไฟฟาเบื้องตน - วงจรอนกุรม กระแสไฟฟาตลอดวงจรมีคาเดียวกันตลอด แรงเคลื่อนไฟฟาเทากับแรงดันที่ตกครอมอุปกรณแตละตัว

- วงจรขนาน(parallel circuit) กระแสไฟฟาไหลผานอุปกรณแตละตัว รวมกันจะเทากับกระแสไฟฟาที่ไหลออกจาก

แหลงจาย แรงดันตกครอมอปุกรณแตละตวั มีคาเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของแหลงจาย

Page 5: 54101 unit10

- วงจรผสม เปนการตอทั้งอนุกรมและขนานในวงจรเดยีวกัน

- สายไฟฟาและอุปกรณปองกันระบบไฟฟา 1. สวนประกอบของสายไฟฟา ประกอบดวย 2 สวนคือตวันําและฉนวน - ตัวนํา (conduction) ทําจากโลหะที่มีความนําไฟฟาสูง อาจเปนสายเดีย่ว หรือสายตีเกลียว นิยม ทองแดงและอลูมิเนียม ทองแดง นําไฟฟาไดดี น้ําหนักมาก ราคาแพง เหมาะกับการใชในอาคารทั่วไป อลูมิเนียม นําไฟฟารองจากทองแดง น้ําหนักเบา ราคาถูกกวา เหมาะกับอาคารและแรงดันสูง - ฉนวน (insulator) ทําหนาทีห่อหุมตวันํา นิยมใช PVC (polyvinyl chloride) ไมซับน้ําเหนยีวทนทาน ทนตอการกดักรอน ไมมี ปฏิกิริยากับกรดดาง และ XLPE (cross link polyethylene) มีความแข็งแรงทนความรอนและถายเทความรอนไดดีกวา 2. ประเภทของสายไฟฟา แบงเปน 2 ประเภทคือ สายไฟฟาแรงดันสูง และสายไฟฟาแรงดันต่ํา - สายไฟฟาแรงดันสูง มีสายเปลือย และสายหุมฉนวน - สายไฟฟาแรงดันต่ํา ใชกบัแรงดันไมเกนิ 750 โวลท

Page 6: 54101 unit10

การเลือกสายไฟฟาท่ีเหมาะสม 1. ขอพิจารณาในการเลือกสายไฟฟา - พิกัดแรงดัน มอก. 11-2531 ไดกําหนดแรงดัน 2 ระดับ คือ 300 โวลต และ 750 โวลต การใชงานตองคํานึงพิกัดแรงดันใหเหมาะสม - พิกัดกระแส ความสามารถของสายไฟฟาในการนํากระแส มีตัวแปรไดแก ขนาดสายไฟฟา ชนิดของฉนวน อุณหภ฿มโดยรอบ ลักษณะการติดตั้ง - สายควบ สายหลายเสนตอขนาน

- แรงดนัตก (voltage drop) ความแตดตางระหวางแรงดนัตนทางและปลายทาง 2. การเลือกสายไฟฟาใหเหมาะสมกับวงจรตางๆ แบงเปนสามวงจร ไดแก วงจรยอย วงจรสายปอน และวงจรประธาน

Page 7: 54101 unit10

2.1 วงจรยอย (branch circuit) เปนสวนของวงจรไฟฟาทีต่อมาจากบริภณัฑปองกนัตัวสุดทายกับจดุตอโหลด เชนวงจรยอยแสงสวาง วงจรยอยมอเตอร

2.2 วงจรสายปอน (feeder circuit) วงจรทีรั่บไฟจากสายประธานไปจนบริภัณฑปองกันวงจรยอย 2.3 วงจรประธาน ( main circuit) หมายถึง ตัวนํา และอุปกรณไฟฟาตางๆ ที่รับไฟจากการไฟฟา มีตวันําประธานอากาศ และตัวนําประธานใตดิน

Page 8: 54101 unit10

อุปกรณ ปองกันระบบไฟฟา และการเลือกใชอุปกรณปองกันระบบไฟฟาท่ีเหมาะสม 1. อุปกรณปองกันระบบไฟฟา - ฟวส (fuse) อุปกรณปองกนักระแสเกิน ทํามาจากโลหะผสมสามารถนําไฟฟาไดดี มีจุดหลอมละลายต่ํา ฟวสทีด่ี เมื่อกระแสไหลเกิน 2.5 ของขนาดทนกระแสของฟวส ฟวสตองขาด - เซอรกิตเบรกเกอน (circuit breaker :CB) อุปกรณทําหนาที่ตัดกระแสไฟฟา เมื่อกระแสเกินหรือลัดวงจร สามารถกลับมาใชใหมไดไมเปลีย่นใหมเหมือนฟวส การทํางานมี 2 แบบคอื เชิงความรอน และเชิงแมเหล็ก 2. การเลือกขนาดของอุปกรณปองกันระบบไฟฟาที่เหมาะสม - อุปกรณปองกันวงจรยอย ตองมีอุปกรณปองกันกระแสเกิน สอดคลองกับโหลดสูงสุดที่คํานวณได นยิมใชเซรกิตเบรกเกอร ตามมาตรฐาน IEC (International Electrotechnical Commission)

- อุปกรณปองกันวงจรสายปอน ตองมีการปองกันกระแสเกิน และขนาดของอุปกรณปองกันกระแสเกินตองสอดคลองกับ

โหลอดสูงสุดที่คํานวณได - อุปกรณปองกันวงจรประธาน หมายถึงอุปกรณไฟฟาที่ทาํหนาที่ปลดวงจรบริภัณฑประธาน ประกอบดวย อุปกรณปลด

วงจร และอุปกรณปองกนักระแสเกิน

Page 9: 54101 unit10

วงจรพื้นฐานสําหรับควบคมุอุปกรณไฟฟา วงจรไฟฟาแสงสวาง - ประเภทของหลอดไฟฟา มีหลอดไส หลอดทัวสเตนฮาโลเจน หลอดเรืองแสง เชน หลอดฟลูออเรสเซนต หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต

Page 10: 54101 unit10
Page 11: 54101 unit10

ระบบควบคุมมอเตอรไฟฟา ขนาดของมอเตอรเรียกเปนแรงมา 1 Hp = 764 วัตต ในการควบคุมมอเตอร ประกอบดวยวงจรควบคุมและวงจรกําลัง 1. ประเภทของมอเตอร - มอเตอรเหนี่ยวนํา (induction motor) นิยมใชมา มี 1 เฟส และ 3 เฟส แบบกรงกระรอก และ แบบวาวดโรเตอร - มอเตอรซิงโครนัส (synchronous motor) เปนมอเตอร 3 เฟส มีขดลวดอารเมเจอร และขดลวดสนาม ความเร็วคงที่ - มอเตอรไฟฟากระแสตรง (DC motor) มีขดลวดสนามอยุบนสเตเตอรและขดลวดอารเมเจอรอยูบนสเตเตอร สามารถควบคุมความเร็วไดดี แรงบิดเริ่มเดนิเครื่องสูง 2. วงจรยอยของมอเตอร (motor branch circuit) 2.1 กรณีมอเตอรใชงานทั่วไป โหลดมอเตอรถือวาเปนโหลดตอเนื่อง ดังนั้นสายวงจรมอเตอรตองมีขนาดไมนอยกวา 125% ของพิกันกระแสมอเตอร

2.2 กรณีมอเตอรหลายตัว (multi speed motor) แตละความเร็วจะมีคาพิกัดกระแสตางกัน ใหใชคากระแสสูงสุด 2.3 กรณีมอเตอรใชงานไมตอเนื่อง เปนระยะ หรือเปนคาบ ตองไมต่ํากวาคาเปอรเซ็น คูณพิกดักระแสของมอเตอร

Page 12: 54101 unit10

3. อุปกรณท่ีสําคัญในการควบคุมมอเตอร 3.1 สวิทชปุมกด (push button) เปนอุปกรณสงสัญญาณโดยการกดจากตูควบคุม

3.2 สวิทชควบคุม (selector switch) สวิทชที่เลือกการทํางานของอุปกรณที่จะควบคมุ อาจมี 2 หรือ 3 ตําแหนง 3.3 หลอดไฟ (pilot lights) เปนอุปกรณทีใ่ชแสดงสัญญาณการทํางานหรือหยุดทํางานของอุปกรณ

3.4 อุปกรณปองกันวงจรควบคุม นิยมใชเซอรกิตเบรกเกอร 3.5 คอนแทคเตอร เปนอุปกรณีสําหรับตัดวงจรไฟฟาควบคุมโดยแมเหล็กไฟฟา 3.6 โอเวอรโหลด (overload relay) เปนอุปกรณปองกนัมอเตอรไมใหไดรับความเสยีหาย เมื่อเกดิโอเวอรโหลด

Page 13: 54101 unit10

อุปกรณที่สําคัญในการควบคุมมอเตอร

4. วงจรควบคมุพื้นฐาน 4.1 วงจรสตารทและควบคมุมอเตอรโดยตรง

4.2 วงจรกลบัทางหมุนมอเตอร

Page 14: 54101 unit10

4.3 วงจรเริ่มเดินแบบสตารเดลตา ใชกับมอเตอรที่มีกําลังแรงมาสูงๆ เพื่อลดกระแสในชวงสตารทมอเตอร กระแสเริ่มหมุนจะประมาณ 7 เทาของกระแสตอนทํางานปกติ

การตอลงดนิ หมายถึงการตอสายไฟฟาจากอุปกรณไฟฟาไปยังสายดนิ โดยสายดนิคือแทงตัวนําทองแดงที่ตอดลงไปในดนิ เพื่อปองกันไฟรั่วซอตบุคคลผูใชงาน 1. ประเภทของการตอลงดิน แบงเปน 2 ประเภท 1.1 การตอลงดินท่ีระบบไฟฟา หมายถึง การตอสวนใดสวนหนึ่งของระบบไฟฟาทีม่ีกระแสไหลผานลงดิน เชน การตอจุดนิวทรัล (neutral point) ลงดิน 1.2 การตอลงดินที่อุปกรณไฟฟา หมายถึงการตอสวนทีเ่ปนโลหะ ที่ไมมีกระแสไฟฟาไหลผานของอุปกรณตางๆ ลงดิน 2. สวนประกอบการตอลงดิน - หลักดนิ หรือระบบหลักดิน (grounding electrode) เปนหลักดนิ นยิมใชทองแดง - สายตอหลักดิน

Page 15: 54101 unit10

ความตานทานระหวางหลักดนิกับดิน ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดความตานทานหลักดินกับดินไมเกิน 5 โอหม การไฟฟานครหลวง ไมเกิน 25 โอหม หารวัดแลวเกนิตองปกเพิ่มอีก 1 แทง

ฟาผาและระบบปองกันฟาผา ปรากฏการฟาผาและอันตรายจากฟาผา 1. ฟาผา เกิดขึน้เนื่องจากการเกิดประจไุฟฟาอิสระที่ละอองน้ําในอากาศ เมื่อละอองน้ําเหลานี้รวมตัวกันหนาแนนเปนกอนเมฆ โดยเฉพาะเมฆฝนที่มีประจไุฟฟาอิสระรวมกันอยูมากมาย หากกอนเมฆที่ประจุในขัว้ที่ตางกนั เคลื่อนตัวเขาใกลกันจะทําใหจนทําใหประจไุฟฟาทั้งสองชนิดกระโดดเขาหากัน ดวยความเร็ว เสยีดสีกับอากาศ เกดิความรุนแรงและเผาไหม แสงสวางเรียกวาฟาแลบ แตถาประจไุฟฟาอิสระกระโดดไปมาระหวางกอนเมฆกับแผนดนิ เรียกวาฟาผา อาจเกิดจากประจุไฟฟาวิ่งอยางรวดเร็วไปยังแผนดิน หรือกลับกันจากแผนดินไปยังกอนเมฆไดเชนกนั

Page 16: 54101 unit10

2. อันตายจากฟาผา - ถูกฟาผาโดยตรง - ถูกฟาผาโดยออม แรงดันชวงกาว แรงดันสัมผัส

หลักการปองกันฟาผา 1. การปองกันฟาผาภายนอก ประกอบดวยการติดตั้ง ตวันําลอฟา ตัวนาํลงดิน รากสายดิน

2. การปองกันฟาผาภายใน ติดตั้งอุปกรณปองกันไฟกระชากในแผงไฟฟาตางๆ เพื่อปองกันมิใหแรงดันกระชากหรือคากระแสสูงไหลเขาไปหาอปุกรณไฟฟา

Page 17: 54101 unit10

สวนประกอบและแนวทางการออกแบบระบบปองกันฟาผาภายนอก

1. สวนประกอบระบบปองกันฟาผาภายนอก - ตัวนาํหรือลอฟา มีหลักลอฟา สายขึงตัวนํา ตวันําลงดิน

Page 18: 54101 unit10
Page 19: 54101 unit10

manasu