321 102 general mathematics - kku web hosting ·...

32
321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006 1 321 102 General Mathematics ( สาหรับนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ ประจาภาคเรียนที1/2549 ) ผู้สอน: ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ 1 เรขาคณิตวิเคราะห็ในระนาบ (Plane Analytic Geometry) บทนา: การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส (Calculus) และ เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ที่สาคัญทีสามารถอธิบายได้ชัดเจน และภาคตัดกวย (Conic sections) เป็นลักษณะหนึ่งของการ เคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ดาวเทียม อิเลคตรอน โมเลกุล และอื่น ที่มีความสาคัญใน การศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ เนื้อหา : 1.1 ภาคตัดกรวย (Conic Sections) 1.2 การย้ายแกน (Translation of axis) 1.3 การหมุนแกน (Rotation of axis) วงกลม (Circle) วงรี (Ellipse) พาราโบลา(Parabola) ไฮเพอโบลา(Hyperbola)

Upload: others

Post on 18-Oct-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

1

321 102 General Mathematics

( ส าหรับนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ ประจ าภาคเรียนที ่ 1/2549 )

ผู้สอน: ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์

1 เรขาคณิตวิเคราะห็ในระนาบ

(Plane Analytic Geometry)

บทน า: การศึกษาเกีย่วกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส (Calculus) และ เรขาคณิตวิเคราะห ์ (Analytic Geometry) เป็นเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ที่ส าคญัที่สามารถอธิบายได้ชัดเจน และภาคตัดกวย(Conic sections) เป็นลักษณะหนึ่งของการเคลื่อนทีข่องดาวเคราะห์ ดาวเทียม อิเลคตรอน โมเลกุล และอื่น ที่มีความส าคัญในการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ

เนื้อหา :

1.1 ภาคตัดกรวย (Conic Sections)

1.2 การย้ายแกน (Translation of axis)

1.3 การหมุนแกน (Rotation of axis)

วงกลม (Circle) วงรี (Ellipse)

พาราโบลา(Parabola) ไฮเพอโบลา(Hyperbola)

Page 2: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

2

1.1 ภาคตัดกรวย (Conic Sections)

วงกลม (Circles)

นิยาม :

วงกลม (Circle) คือเซตของจุดในระนาบ ที่ระยะห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งมีค่าคงตัว เรียกจุดคงที่นั้นว่า จุดศูนย์กลาง (Center) และเรียกระยะคงที่ว่า รัศม ี(Radius)

■ การเขียนรูปวงกลม

- ใช้วงเวียน (Compass)

- ใช้เส้นเชือก (String)

■ การวิเคราะห์ หาสมการของวงกลม จากนิยาม

■ สมการในรูปมาตรฐานของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดก าเนิด รัศมี a คือ

2 2 2x y a

Center

Radius

Page 3: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

3

Example 1 จงเขียนกราฟ พร้อม ระบุจุดศูนย์กลาง และรัศมีของวงกลมที่มีสมการเป็น 2 2 9x y

Solution

พาราโบลา (Parabolas )

นิยาม

พาราโบลา ( parabola) คือเซตของจุดในระนาบ ที่อยู่ห่างจากเส้นตรงคงที่เส้นหนึ่ง และจุดคงที่จุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน จุดคงที่นั้นเรียกว่า โฟกัส (focus) และเส้นตรงคงที่นั้นเรียกว่า ไดเรกตริกซ์ (directrix)

Page 4: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

4

■ การเขียนรูปพาราโบลา จากนิยาม

■ การวิเคราะห์ หาสมการของพาราโบลา จากนิยาม

Directrix

Focus

Vertex

Page 5: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

5

■ สมการในรูปมาตรฐาน ของพาราโบลา ที่มีจุดยอดอยู่ที่จุดก าเนิด เมื่อ 0p

สมการ Focus Directrix แกนสมมาตร ลักษณะเปิด

2 4x py (0, )p y p y-axis บน 2 4x py (0, )p y p y-axis ล่าง 2 4y px ( ,0)p x p x-axis ขวา 2 4y px ( ,0)p x p x-axis ล่าง

Example 2 จงหาโฟกัส และ ไดเรกตริกซ์ของพาราโบลา 2 10y x พร้อมทั้งเขียนกราฟประกอบ Solution

Page 6: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

6

วงรี (Ellipses)

นิยาม

วงรี (ellipse) คือเซตของจุดในระนาบที่ ผลบวกของระยะห่างจากจุดคงที่สองจุดมีค่าคงตัว จุดคงที่สองจุดนั้นเรียกว่า โฟกัส (Foci)

■ การเขียนรูปวงรี จากนิยาม

■ การวิเคราะห์หาสมการของวงรี จากนิยาม

1F 2F

Page 7: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

7

■ สมการในรูปมาตรฐานของวงรีที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดก าเนิด เมื่อ

0a b และ 2 2c a b

Equation Foci Vertices Major axis

2 2

2 21

x y

a b ,0c ,0a x-axis

2 2

2 21

x y

b a 0, c 0, a y-axis

Example 3 จงหาโฟกัส และ จุดยอดของวงรี 2 2

116 9

x y พร้อมทั้งเขียน

กราฟประกอบ Solution

หมายเหตุ : พิจารณาวงรี 2 2

2 21

x y

a b เมื่อ

2 2c a b

1. ถ้า 0c ( ท าให ้ )a b แล้ว วงรีจะกลายเป็นวงกลม

2. ถ้า c a (ท าให้ 0b ) แล้ว วงรีจะกลายเป็นส่วนของเส้นตรง

Page 8: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

8

ไฮเพอโบลา ( Hyperbolas) นิยาม

ไฮเพอโบลา ( hyperbola) คือเซตของจุดในระนาบ ที่ผลต่างของระยะห่างจากจุดคงที่สองจุด มีค่าคงตัว จุดคงที่ทั้งสองนั้นเรียกว่า โฟกัส (Foci)

■ การเขียนรูปไฮเพอโบลา จากนิยาม

■ การวิเคราะห์หาสมการไฮเพอโบลา จากนิยาม

Page 9: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

9

■ ส่วนประกอบที่ส าคัญของ ไฮเพอโบลา

■ สมการในรูปมาตรฐานของไฮเพอโบลาเมื่อ 0, 0a b และ 2 2c a b

Equation Foci Vertices Asymptote

2 2

2 21

x y

a b ,0c ,0a

by x

a

2 2

2 21

y x

a b 0, c 0, a

ay x

b

Page 10: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

10

Example 4 จงหาโฟกัส และ เส้น ก ากับ ของไฮเพอโบลา 2 2

116 9

x y .

แล้วเขียนกราฟประกอบพร้อมระบุ จุดโฟกัส จุดยอด และ เส้นก ากับให้ชัดเจน

Solution

■■ การจ าแนกชนิดของภาคตัดกรวยโดยใช้ ค่า Eccentricity. ■■

ค่าความเยื้องศูนย์กลาง (Eccentricity)

นิยาม

ค่า ความเยื้องศูนย์กลาง ( eccentricity) ของภาคตัดกรวย หมายถึงอัตราส่วนของระยะจากจุดบนภาคตัดกรวยนั้นมายังจุดโฟกัส กับระยะมายังเส้นไดเรกตริกซ์

Page 11: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

11

■ การจ าแนกชนิดของภาคตัดกรวยโดยใช้ค่า Eccentricity.

Theorem

ถ้า e เป็นค่าความเยื้องศูนย์กลาง (Eccentricity) ของรูปที่เกิดจากภาคตัดกรวยอันหนึ่ง แลว้รูปนั้นจะเป็น :

(a) พาราโบลา (Parabola) ถ้า 1e

(b) วงรี (Ellipse) ถ้า 1e

(c) ไฮเพอโบลา (Hyperbola) ถ้า 1e

พิสูจน์ (a)

พิสูจน์ (b)

Page 12: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

12

พิสูจน์ (c)

หมายเหต ุ: ในรูปวงรี และ ไฮเพอโบลา ค่าความเยื้องศูนย์กลาง จะเป็นอัตราส่วนของระยะจากจุดศูนย์กลางมายังโฟกัส (c) กับระยะจากจุดศูนย์กลางมายังจุดยอด(a) นั่นคือ

c

Eccentricitya

Page 13: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

13

Example 5 จงหาสมการ และเขียนกราฟของวงรีที่มี 1

2e และโฟกัสอยู่

ที่จุด (1,0) และ ( 1,0)

Example 6 จงเขียนกราฟของภาคตัดกรวยท่ีมี 5

3e และมีโฟกัสทั้งสอง

อยู่ที่จุด (0,3)และ (0, 3)

Page 14: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

14

1.2 การเลื่อนแกนทางขนาน (Translation of axes)

■ พิจารณากราฟของฟังก์ชัน ( )y f x ต่อไปนี ้

Example 1.2.1 ให้เขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมสังเกตความแตกต่าง ที่เกิดขึ้น :

2y x

2 1y x

2 2y x

2( 1)y x

2( 2)y x

Page 15: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

15

■ หลักของการเลื่อนแกน ทางขนาน (Translation of axes)

ในระนาบ XY ที่มีจุดก าเนิดอยู่ที ่จุด O, เราสามารถเลื่อนแกนทางขนาน ให้เป็นระนาบใหม่คือ ระนาบ X’Y’ ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด O’ as in the

figure.

ความสัมพันธ์ระหว่าง ( , )x y กับ ( , )x y คือ:

x x h

y y k

(1.1)

หรือ

x x h

y y k

(1.2)

(h, k)

O X

X’

Y Y’

O’

k

h

Page 16: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

16

■ โดยการประยุกต์สมการ (1.2) เราจะได้ข้อสรุปในการเลื่อนแกนทางขนานดังนี:้

- การเลื่อนกราฟของ ( )y f x ให้สูงขึ้น k หน่วย ให้เปลี่ยน y ในสมการเดิมเป็น y – k

- การเลื่อนกราฟของ ( )y f x ให้ต่ าลง k หน่วย ให้เปลี่ยน y ในสมการเดิมเป็น y + k

- การเลื่อนกราฟของ ( )y f x ไปทางขวา k หน่วย ให้เปลี่ยน x

ในสมการเดิมเป็น x – h

- การเลื่อนกราฟของ ( )y f x ไปทางซ้าย k หน่วย ให้เปลี่ยน x

ในสมการเดิมเป็น x + h

Example 1.2.2 ให้เปลี่ยนสมการ 2y x เพื่อให้กราฟสูงข้ึน 4 หน่วย แล้วให้เขียนกราฟของสมการใหม่เปรียบเทียบกับสมการเดิม

Example 1.2.3 ให้เปลี่ยนสมการ 2 2 4x y เพื่อให้กราฟเลื่อนต่ าลง 3 หน่วย แล้วให้เขียนกราฟของสมการใหมเ่ปรียบเทียบกับสมการเดิม

Page 17: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

17

โดยหลักการเลื่อนแกนทางขนาน เราสามารถสรุปสมการในรูป มาตรฐานของสมการของภาคตัดกรวยดังต่อไปนี ้

■ สมการของวงกลม ทีมีรัศม ี a จุดศูนย์กลาง ( , )h k อยู่ในรูป

2 2 2( ) ( )x h y k a

■ สมการของพาราโบลาที่มีจุดยอด ( , )h k และ 0p อยู่ในรูป

Equation Focus Directrix Axis

2( ) 4 ( )x h p y k ( , )h k p y k p x h 2( ) 4 ( )x h p y k ( , )h k p y k p x h 2( ) 4 ( )y k p x h ( , )h p k x h p y k 2( ) 4 ( )y k p x h ( , )h p k x h p y k

Page 18: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

18

■ สมการวงรีที่มีจุดศูนย์กลาง ( , )h k โดยที ่ 0a b และ 2 2c a b

อยู่ในรูป:

Equation Foci Vertices Major axis

2 2

2 2

( ) ( )1

x h y k

a b

,h c k ,h a k y k

2 2

2 2

( ) ( )1

x h y k

b a

,h k c ,h k a x h

■ สมการของไฮเพอโบลาทีม่ีจุดศูนย์กลาง ( , )h k โดยที ่ 0, 0a b และ

2 2c a b อยู่ในรูป : Equation Foci Vertices

2 2

2 2

( ) ( )1

x h y k

a b

,h c k ,h a k

2 2

2 2

( ) ( )1

y k x h

a b

,h k c ,h k a

Page 19: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

19

Example 1.2.4 จงหาจุดศูนย์กลาง และรัศมีของวงกลม 2 2 4 6 3 0x y x y แล้วเขียนกราฟประกอบ

Example 1.2.5 จงหาโฟกัส และ จุดยอดของพาราโบลา 2 6 8 25 0x x y แล้วเขียนกราฟประกอบ

Page 20: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

20

Example 1.2.6 จงจัดสมการภาคตัดกรวย 2 24 9 8 36 4 0x y x y ให้อยู่ในรูปมาตรฐานพร้อมทั้งเขียนกราฟประกอบ

Example 1.2.7 จงจัดสมการภาคตัดกรวย 2 29 4 18 16 29 0x y x y

ให้อยู่ในรูปมาตรฐานพร้อมทั้งเขียนกราฟประกอบ

Page 21: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

21

■ การวิเคราะห์สมการก าลังสอง (Quadratic Equations)

สมการก าลังสองในรูปทั่วไปคือ

2 2 0Ax Bxy Cy Dx Ey F (1.3)

เมื่อ A, B และ C ไม่เป็นศูนย์ทั้งหมด ในหัวข้อที่ผ่านมาเราจะเห็นว่า ถ้าแกนของภาคตัดกรวยขนานกับแกนหลัก คือแกน X หรือ แกน Y แล้วสมการจะอยู่ในรูป

2 2 0Ax Cy Dx Ey F (1.4)

โดยที่เทอม Bxy ไม่มีปรากฏในสมการ จากนั้นเราสามารถใช้การท าเป็นก าลังสองสมบูรณ์เพื่อจัดให้สมดังกล่าวอยู่ในรูปมาตรฐานได้ และยังสามารถจ าแนกได้ว่า ภาคตัดกรวยนั้นจะเป็น

a) parabola ถ้า 0AC

b) ellipse ถ้า 0AC

c) hyperbola ถ้า 0AC

ต่อไปนี้เราจะศึกษาสมการที่มีเทอม Bxy ปรากฏอยู่ โดยเริ่มจากสมการ 2 9xy

จะเห็นว่า กราฟของสมการดังกล่าว เกิดจากการหมุน ไฮเพอโบลา รอบจุดก าเนิด จากแกน X เป็นมุม 45 และในหัวข้อต่อไปนี้เราจะศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับหลักการหมุนแกน

Page 22: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

22

1.3 การหมุนแกน (Rotation of axes)

ให้ ระบบพิกัดฉาก X Y เกิดจากการหมุน ระบบพิกัดฉาก XY รอบจุดก าเนิด เป็นมุม ดังรูป

■ ความสัมพันธ์ระหว่าง ( , )x y และ ( , )x y คือ :

cos sinx x y (1.5)

sin cosy x y (1.6)

Y Y

X

X

O

Page 23: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

23

Example 1.3.1 โดยการหมุนแกนรอบจุดก าเนิดทวนเข็มนาฬิกาเป็นมุม 4

เรเดียน จงหาสมการของไฮเพอโบลา 2 9xy ในระบบพิกัดฉาก X Y

Y

Y

X

X

O

Page 24: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

24

■ จากสมการของการหมุนแกน

cos sinx x y (1.7)

sin cosy x y (1.8)

เราสามารถหาความสัมพันธใ์นทางกลับกัน คือ

cos sinx x y (1.9)

cos siny y x (1.10)

ดังต่อไปนี้ :

Page 25: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

25

Example 1.3.2 จงหาสมการของวงรีที่มีโฟกัสทั้งสองอยู่ที่ ( 6, 6) และ ( 6, 6) ที่มีผลบวกของระยะจากจุดบนวงรีมายัง โฟกัสทั้งสองเท่ากับ 2 14

ในระบบพิกัดฉาก XY

Page 26: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

26

■ ความสัมพันธ์ระหว่างสมการในระบบพิกัดฉาก XY

2 2 0Ax Bxy Cy Dx Ey F (1.11)

และสมการในระบบพิกัดฉาก X Y

2 2 0A x B x y C y D x E y F (1.12)

สามารถแสดงได้ว่า

2 2cos cos sin sinA A B C

cos2 ( )sin 2B B C A

2 2sin cos sin cosC A B C

cos sinD D E

sin cosE D E

F F

ดังต่อไปนี้

Page 27: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

27

■ จากความสัมพันธ์ดังกล่าว เราจะได้ทฤษฎีบทที่ส าคัญ เกี่ยวกับการหมุนแกน ดังรายละเอียดต่อไปนี:้

Theorem 1.3.1 ก าหนดให้ 2 2 0Ax Bxy Cy Dx Ey F เป็นสมการในระบบพิกัดฉาก XY และ 0B ถ้า ระบบพิกัดฉาก X Y เกิดจาก

การหมุนรอบจุดก าเนิดเป็นมุม และ cot 2A C

B

แล้วสมการในระบบ

พิกัดใหม่ จะอยู่ในรูป 2 2 0A x C y D x E y F

Proof

Page 28: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

28

Example 1.3.3 จงวิเคราะห์และเขียนกราฟของสมการ

2 22 3 10 0x xy y

Page 29: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

29

Example 1.3.4 จงวิเคราะห์และเขียนกราฟของสมการ

2 22 3 2 25 0x xy y

Page 30: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

30

■ เนื่องจากการหมุนแกนสามารถก าจัดเทอม Bxy ออกไปได้เสมอ ดังนั้นจึงเพียงพอที่จะวิเคราะห์เฉพาะสมการที่อยู่ในรูป

2 2 0Ax Cy Dx Ey F

โดยกราฟของสมการดังกล่าวจะเป็น

a) วงกลม ถ้า 0A C ( ในกรณีพิเศษอาจเป็นจุด หรือไม่มีกราฟ )

b) พาราโบลา ถ้า 0A และ 0C หรือไม่ก็ 0A และ 0C

c) วงรี ถ้า A และ C บวกท้ังคู ่ หรือ เป็นลบทั้งคู่ (กรณีพิเศษอาจเป็น วงกลม จุด หรือ ไม่มีกราฟ ก็ได)้

d) ไฮเพอโบลา ถ้า A และ C เครื่องหมายตรงกันข้าม ( กรณีพิเศษอาจเป็นแส้นตรงสองเส้นตัดกันก็ได)้

e) เส้นตรง ถ้า 0A C และอย่างน้อย D หรือ E ไม่เป็นศูนย์

f) เส้นตรง หนึ่ง หรอื สองเส้น ถ้าทางซ้ายมือสามารถแยกตัวประกอบ เป็น สองตัวประกอบเชิงเส้น (Two linear factors)

Page 31: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

31

■ อย่างไรก็ตาม เราสามารถจ าแนกชนิดของภาคตัดกรวย โดยไม่ต้องก าจ้ดเทอม Bxy ของสมการในรูปทั่วไป

2 2 0Ax Bxy Cy Dx Ey F

ได้โดยทฤษฎีบทต่อไปนี:้

Theorem 1.3.2 ให้ 2 4D B AC เป็น ดิสคริมินันต ์(Discriminant)

ของสมการก าลังสอง

2 2 0Ax Bxy Cy Dx Ey F

แล้วกราฟของสมการดังกล่าวมีลักษณะตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ a) ถ้า 0D เป็นพาราโบลา หรือ เส้นตรงสองเส้นขนานกัน หรือ

เส้นตรงหนึ่งเส้น หรือไม่มีกราฟ

b) ถ้า 0D เป็นวงรี หรือวงกลม หรือ จุดหนึ่งจุด หรือไม่มีกราฟ

c) ถ้า 0D เป็นไฮเพอโบลา หรือ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน

Proof

Page 32: 321 102 General Mathematics - KKU Web Hosting · การศึกษาเกี่ยวกับกาเคลื่อนที่มีมาเนิ่นนาน ในปัจจุบันวิชาแคลคูลัส

321102 General Mathematics Chapter 1: Plane Analytic Geometry

Dr Wattana Toutip Khon Kaen University 2006

32

Example 1.3.5 ให้เติมค าตอบในช่องว่างที่ก าหนดให้

(a) 2 23 6 3 2 7 0x xy y x มีกราฟเป็นรูป ………………

เพราะ ……………………………………………………

(b) 2 2 1 0x xy y มีกราฟเป็นรูป ………………

เพราะ ……………………………………………………

(c) 2 5 1 0xy y y มีกราฟเป็นรูป ………………

เพราะ ……………………………………………………

======== END ========

Chapter 2 Vectors

2.1 Review of vectors

2.2 Linear combination and linearly independent

2.3 Vectors in three dimensional space

Chapter 3 Limit and continuity of functions

Chapter 4 Derivative of functions

Chapter 5 Applications of derivative and

differentials

Chapter 6 Integration

Chapter 7 Applications of integration

Chapter 8 Differential equations

======== Absolutely End =======