19 . 220-2545 (embankment :...

4
19 มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง (Embankment : Construction) 1. ขอบข่าย งานถมคันทาง หมายถึง การก่อสร้างถมคันทาง การถมขยายคันทาง รวมทั ้งการกลบแต่งหลุมบ่อต่าง ๆ ด้วยวัสดุคันทางที่มีคุณภาพและถูกต้องตามข้อกาหนด จากแหล่งที่ได้รับการเห็นชอบแล้ว มาถมเป็นคัน ทาง โดยการเกลี่ยแต่งและบดอัดให้ได้แนว ระดับ และรูปร่าง ตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง 2. วัสดุ 2.1 กรณีแบบก่อสร้างไม่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ให้ใช้วัสดุถมคันทางประเภทดินทั่วไป ตาม มทช . 201 : มาตรฐานวัสดุถมคันทาง 2.2 กรณีบริเวณก่อสร้างคันทางมีลักษณะเป็นหนองน ้า คูน้า ที่มีเลนและซากวั สดุตกตะกอนอยู ่ ให้ใช้วัสดุ ถมคันทางประเภทวัสดุมวลรวม หรือวัสดุถมคันทางประเภททราย ตาม มทช . 201 : มาตรฐานวัสดุถม คันทาง 2.3 กรณีบริเวณก่อสร้างคันทางมีลักษณะเป็นดินอ่อน มีค่า ซี .บี .อาร์ (C.B.R.) น้อยกว่าร้อยละ 2 ที่มีเลน และซากวัสดุตกตะกอนอยู ่หรือแบบก่อสร้างระบุให้ใช้ทรายเป็นวัสดุถมคันทาง (Sand Embankment) ให้ใช้วัสดุถมคันทางประเภททราย ตาม มทช . 201 : มาตรฐานวัสดุถมคันทาง 3. วิธีการก่อสร้าง 3.1 การถมคันทางด้วยวัสดุตามข้อ 2.1 3.1.1 ก่อนถมดินคันทาง ถ้ามีหลุม แอ่ง หรือโพรงที่เกิดขึ้นจากการถางป ่ า ขุดตอ ต้องใช้วัสดุทีเหมาะสม กลบแล้วบดอัดให้แน่นสม่าเสมอเสียก่อน 3.1.2 การถมคันทาง จะต้องถมให้ได้แนว ระดับ และรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง 3.1.3 ดินเดิมหรือลาดคันทางของถนนเดิม ซึ่งอยู ่ต่ากว่าระดับคันทางที่จะทาการก่อสร้างใหม่ น้อยกว่า 1 เมตร ตามแบบก่อสร้าง หลังจากกาจัดสิ่งไม่ พึงประสงค์ต่าง ๆ ออกหมดแ ล้ว หรือหลังจากการ ถางป่า และขุดตอแล้ว จะต้องทาการบดอัดชั ้น 15 เซนติเมตรสุดท้าย วัดจากระดับดินเดิมหรือผิว ถนนเดิมลงไปให้ได้ความแน่นแห้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของค่าความแน่นแห้งสูงสุด (Maximum Dry Density) ตาม มทช.() 501.1 : วิธีการทดสอบความแน่นแบบมาตรฐาน 3.1.4 ก่อนการถมวัสดุชั้นแรกให ้ราดน ้าชั้นดินเดิม หรือชั้นคันทางเดิมที่ได้เตรียมไว้แล้วให้เปียกชื ้นอย่าง สม่าเสมอโดยตลอด วัสดุที่จะใช้ทาการถมและบดอัดในแต่ละชั้นต ้องนามาเกลี่ย คลุกเคล้าให้เข้า กันก่อน แล้วพรมน ้าตามจานวนที่ต้องการ ใช้รถเกรด (Motor Grader) ปาดเกลี่ยให้วัสดุมี ความชื้นสม่าเสมอก่อนทาการบดอัดแน่น

Upload: lehuong

Post on 20-Jul-2018

226 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 19 . 220-2545 (Embankment : Construction)research.drr.go.th/sites/research.drr.go.th/files/mthch.220-2545_0.pdf · 19 มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง

19

มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง (Embankment : Construction)

1. ขอบข่าย งานถมคนัทาง หมายถึง การก่อสร้างถมคนัทาง การถมขยายคนัทาง รวมทัง้การกลบแตง่หลมุบอ่ตา่ง ๆ ด้วยวสัดคุนัทางท่ีมีคณุภาพและถกูต้องตามข้อก าหนด จากแหลง่ท่ีได้รับการเห็นชอบแล้ว มาถมเป็นคนัทาง โดยการเกล่ียแตง่และบดอดัให้ได้แนว ระดบั และรูปร่าง ตามท่ีแสดงไว้ในแบบก่อสร้าง

2. วัสดุ 2.1 กรณีแบบก่อสร้างไมร่ะบไุว้เป็นอยา่งอ่ืน ให้ใช้วสัดถุมคนัทางประเภทดนิทัว่ไป ตาม มทช . 201 :

มาตรฐานวสัดถุมคนัทาง 2.2 กรณีบริเวณก่อสร้างคนัทางมีลกัษณะเป็นหนองน า้ คนู า้ ท่ีมีเลนและซากวั สดตุกตะกอนอยู ่ให้ใช้วสัดุ

ถมคนัทางประเภทวสัดมุวลรวม หรือวสัดถุมคนัทางประเภททราย ตาม มทช . 201 : มาตรฐานวสัดถุมคนัทาง

2.3 กรณีบริเวณก่อสร้างคนัทางมีลกัษณะเป็นดนิออ่น มีคา่ ซี .บี.อาร์ (C.B.R.) น้อยกวา่ร้อยละ 2 ท่ีมีเลนและซากวสัดตุกตะกอนอยูห่รือแบบก่อสร้างระบใุห้ใช้ทรายเป็นวสัดถุมคนัทาง (Sand Embankment) ให้ใช้วสัดถุมคนัทางประเภททราย ตาม มทช. 201 : มาตรฐานวสัดถุมคนัทาง

3. วิธีการก่อสร้าง 3.1 การถมคนัทางด้วยวสัดตุามข้อ 2.1

3.1.1 ก่อนถมดนิคนัทาง ถ้ามีหลมุ แอง่ หรือโพรงท่ีเกิดขึน้จากการถางป่า ขดุตอ ต้องใช้วสัดท่ีุเหมาะสม กลบแล้วบดอดัให้แนน่สม ่าเสมอเสียก่อน

3.1.2 การถมคนัทาง จะต้องถมให้ได้แนว ระดบั และรูปร่างตามท่ีแสดงไว้ในแบบก่อสร้าง 3.1.3 ดนิเดมิหรือลาดคนัทางของถนนเดมิ ซึง่อยูต่ ่ากวา่ระดบัคนัทางท่ีจะท าการก่อสร้างใหม ่น้อยกวา่

1 เมตร ตามแบบก่อสร้าง หลงัจากก าจดัสิ่งไม่ พงึประสงค์ตา่ง ๆ ออกหมดแ ล้ว หรือหลงัจากการถางป่า และขดุตอแล้ว จะต้องท าการบดอดัชัน้ 15 เซนตเิมตรสดุท้าย วดัจากระดบัดนิเดมิหรือผิวถนนเดมิลงไปให้ได้ความแนน่แห้ง ไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ (Maximum Dry Density) ตาม มทช.(ท) 501.1 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบมาตรฐาน

3.1.4 ก่อนการถมวสัดชุัน้แรกให้ราดน า้ชัน้ดนิเดมิ หรือชัน้คนัทางเดมิท่ีได้เตรียมไว้แล้วให้เปียกชืน้อยา่งสม ่าเสมอโดยตลอด วสัดท่ีุจะใช้ท าการถมและบดอดัในแตล่ะชัน้ต้องน ามาเกล่ีย คลกุเคล้าให้เข้ากนัก่อน แล้วพรมน า้ตามจ านวนท่ีต้องการ ใช้รถเกรด (Motor Grader) ปาดเกล่ียให้วสัดมีุความชืน้สม ่าเสมอก่อนท าการบดอดัแนน่

Page 2: 19 . 220-2545 (Embankment : Construction)research.drr.go.th/sites/research.drr.go.th/files/mthch.220-2545_0.pdf · 19 มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง

20

3.1.5 การถมคนัทางให้ถมเป็นชัน้ ๆ เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช .(ท) 501.1 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบมาตรฐาน

3.1.6 ในกรณีท่ีจะขยายคนัทางเดมิ ให้ตดัลาดคนัทางเดมิเป็นแบบขัน้บนัได (Benching) จากปลายเชิงลาดถึงขอบไหลท่าง มีความกว้างพอท่ีเคร่ืองมือบดอดัท่ีเหมาะสมลงไปท างานได้ วสัดท่ีุตดันีใ้ห้เกล่ียแผว่สัดอุยา่งสม ่าเสมอในแนวราบ โดยให้ด าเนินการก่อสร้างเป็นชัน้ ๆ เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช.(ท) 501.1 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบมาตรฐาน

3.1.7 วสัดท่ีุใช้ท าคนัทางท่ีอยูต่ดิกบัทอ่ หรือคอสะพาน หรือบริเวณอ่ืนใดก็ตาม ท่ีไมส่ามารถบดอดัด้วยเคร่ืองจกัรขนาดใหญ่ได้ทัว่ถึง ให้ใช้เคร่ืองมือบดอดัขนาดเล็กท าการบดอดัได้ ทัง้นีเ้คร่ืองมือและวิธีการบดอดัจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคมุงานก่อน และให้ด าเนินการก่อสร้างเป็นชัน้ ๆ เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช .(ท) 501.1 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบมาตรฐาน

3.1.8 ในกรณีท่ีแบบก่อสร้างไมไ่ด้ระบไุว้เป็นอยา่งอ่ืน ทางเดมิท่ียงัไมมี่ผิวถาวรและต้องการจะถมคนัทางให้สงูขึน้อีกไมเ่กิน 30 เซนตเิมตร จากระดบัเดมิ จะต้องคราดไถผิวทางเดมิให้ลกึไมน้่ อยกวา่ 15 เซนตเิมตร แล้วท าการบดอดัรวมไปกบัชัน้ใหม ่ท่ีถมของวสัดถุมคนัทางนัน้ ความหนาของชัน้ท่ีคราดไถรวมกบัวสัดใุหมจ่ะต้องมีความหนาของแตล่ะชัน้ไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว

3.1.9 ในกรณีท่ีงานชัน้ดนิเดมิเป็นบริเวณ ไหลเ่ขา หรือทางลาด หรือง านดนิตดั ก่อนท าการถมดนิชัน้แรกในบริเวณดงักลา่ว ให้ท าการคราดไถชัน้ดนิเดมิลกึไมน้่อยกวา่ 20 เซนตเิมตร เพ่ือการยดึเกาะท่ีดีระหวา่งชัน้ดนิเดมิและวสัดถุมคนัทาง

3.1.10 เม่ือถมวสัดจุนเสร็จถึงชัน้สดุท้ายแล้ว ให้เกล่ียวสัดจุนได้แนว ระดบั ความลาด ขนาดและรูปตดัตามท่ีแสดงในแบบก่อสร้าง บดทบัจนได้ความแนน่ตามข้อก าหนด ไมมี่หลมุบอ่ หรือวสัดท่ีุหลมุหลวม ไมแ่นน่อยูบ่นผิว แล้วก่อสร้างชัน้ทางชัน้ถดัไปปิดทบัทนัที

3.2 การถมคนัทางด้วยวสัดตุามข้อ 2.2 3.2.1 ให้ท าการถางป่า ขดุตอ และก าจดัวสัดอ่ืุน ๆ ท่ีไมพ่งึประสงค์ออกจากบริเวณท่ีจะก่อสร้างคนัทาง 3.2.2 ในบริเวณพืน้ท่ีท่ีจะก่อสร้างคนัทางท่ีเป็น คนู า้ ซึง่มีเลนหรือวสัดอ่ืุนท่ีไมต้่องการตกตะกอนทบัถม

อยูจ่ะต้องท าการก าจดัวสัดดุงักลา่วออกจากบริเวณท่ีจะเป็นฐานรองรับคนัทาง (Working

Page 3: 19 . 220-2545 (Embankment : Construction)research.drr.go.th/sites/research.drr.go.th/files/mthch.220-2545_0.pdf · 19 มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง

21

Platform) โดยสบูน า้ออก และใช้เคร่ืองจกัรตกัหรือปาดเลนออกให้มากท่ีสดุ แล้วใช้วสัด ุตาม ข้อ 2.2 ถมไลเ่ลน

3.2.3 การถมวสัดไุลเ่ลนให้เร่ิมถมจากแนวกึ่งกลางทางหรือจากเชิงลาดคนัทางเดมิออกไปทางด้านข้างจนพืน้บริเวณท่ีต้องการโดยไมมี่เลนเหลือตกค้าง อนัอาจท าให้เกิดความเสียหายแก่คนัทางได้

3.2.4 การถมวสัดเุพ่ือท าเป็นฐานรองรับคนัทางชัน้แรก โดยให้ถมวสัดอุยูเ่หนือระดบัน า้ ไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร แล้วท าการบดอดัให้ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช.(ท) 501.2 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบสงูกวา่มาตรฐาน

3.2.5 ในกรณีท่ีจะขยายคนัทางเดมิ เม่ือด าเนินงานตามข้อ 3.2.2 เรียบร้อยแล้ว ให้ท าการก่อสร้างคนัทางโดยตดัลาดคนัทางเดมิออกไปเป็นแบบขัน้บนัไดจากปลายเชิงลาดถึงขอบไหลท่าง มีความกว้างพอท่ีเคร่ืองมือบดอดัท่ีเหมาะสมลงไปท างานได้ แล้วถมวสัดเุป็นชัน้ ๆ เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสูงสดุ ตาม มทช .(ท) 501.2 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบสงูกวา่มาตรฐาน

3.2.6 เม่ือถมวสัดจุนเสร็จถึงชัน้สดุท้ายแล้ว ให้เกล่ียวสัดจุนได้แนว ระดบั ความลาด ขนาดและรูปตดัตามท่ีแสดงในแบบก่อสร้าง บดทบัจนได้ความแนน่ตามข้อก าหนด ไมมี่หลมุบอ่ หรือวสัดท่ีุหลดุหลวม ไมแ่นน่อยูบ่นผิว แล้วก่อสร้างชัน้ทางชัน้ถดัไปปิดทบัทนัที

3.2.7 ให้ท าการป้องกนัลาดคนัทาง (Slope Protection) เพ่ือป้องกนัน า้เซาะ ด้วยวสัด ุและวิธีการท่ีเหมาะสมหรือตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง

3.3 การถมคนัทางด้วยวสัดตุามข้อ 2.3 3.3.1 ให้ท าการถางป่า ขดุตอ และก าจดัวสัดอ่ืุน ๆ ท่ีไมพ่งึประสงค์ออกจากบริเวณท่ีจะก่อสร้างคนัทาง 3.3.2 ในบริเวณพืน้ท่ีท่ีจะก่อสร้างคนัทางท่ีเป็น คนู า้ ซึง่มีเลนหรือวสัดอ่ืุนท่ีไมต้่องการตกตะกอนทบัถม

อยู ่จะต้องท าการก าจดัวสัดดุงักลา่วออกจากบริเวณท่ีจะเป็นฐานรองรับคนัทาง (Working Platform) โดยสบูน า้ออก และใช้เคร่ืองจกัรตกัหรือปา ดเลนออกให้มากท่ีสดุ แล้วใช้วสัด ุ 2.3 ถมไลเ่ลน

3.3.3 การถมทรายไลเ่ลนให้เร่ิมถมจากแนวกึ่งกลางทางหรือจากเชิงคนัทางเดมิออกไปทางด้านข้างจนพ้นบริเวณท่ีต้องการ โดยไมมี่เลนเหลือตกค้าง อนัอาจท าให้เกิดความเสียหายแก่คนัทางได้

3.3.4 การถมทรายเพ่ือท าเป็นฐานรองรับคนัทางชัน้แรก โดยใ ห้ถมวสัดอุยูเ่หนือระดบัน า้ไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร แล้วท าการบดอดัให้ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช.(ท) 501.2 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบสงูกวา่มาตรฐาน

Page 4: 19 . 220-2545 (Embankment : Construction)research.drr.go.th/sites/research.drr.go.th/files/mthch.220-2545_0.pdf · 19 มทช. 220-2545 มาตรฐานงานถมคันทาง

22

3.3.5 ในกรณีท่ีดนิเดมิเป็นดนิออ่นท่ีมีอตัราการทรุดตวัสงู การด าเนินงานตามข้อ 3.3.4 ถ้าไมไ่ด้ระบไุว้เป็นอยา่งอ่ืน จะต้องทิง้ฐานรองรับคนัทาง ไว้อยา่งน้อย 45 วนั ก่อนท่ีจะท าการบดอดัให้ได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช .(ท) 501.2 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบสงูกวา่มาตรฐาน

3.3.6 เม่ือได้ก่อสร้างถมคนัทางจนเสร็จชัน้สุดท้ายแล้ว ถ้าไมต้่องทิง้ไว้ในชว่งระยะเวลาถมทิง้ไว้ (Waiting Period) ตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง ให้เกล่ียทรายจนได้แนว ระดบั ความลาด ขนาด และรูปตดัตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง บดอดัจนได้ความแนน่ตามข้อก าหนด ให้ก่อสร้างชัน้ทางชัน้ถดัไปปิดทบัทนัที ในกรณีท่ีต้อ งทิง้ไว้ในชว่งระยะเวลาถมทิง้ไว้ ตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง เม่ือครบระยะเวลาถมทิง้ไว้ ให้ตรวจสอบระดบัผิวชัน้ทรายถมคนัทางและท าการปรับระดบั เสริมด้วยทรายท่ีมีคณุภาพถกูต้องก่อสร้างขึน้มาเป็นชัน้ ๆ ตามวิธีการข้างต้นจนเสร็จชัน้สดุท้าย เกล่ียแตง่จนได้แนวระดบัควา มลาด ขนาด และรูปตดั ตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง บดอดัจนได้ความแนน่ตามข้อก าหนดและต้องก่อสร้างชัน้ทางชัน้ถดัไปปิดทบัทนัที

3.3.7 ในกรณีท่ีจะขยายคนัทางเดมิ เม่ือด าเนินงานตามข้อ 3.3.4 หรือ 3.3.5 เรียบร้อยแล้วให้ท าการก่อสร้างคนัทางสว่นท่ีขยายโดยท าการตดัเชิงลาดคนัทางเดิมออกไปเป็นแบบขัน้บนัได แล้วถมทรายเป็นชัน้ ๆ เม่ือท าการบดอดัแนน่ตามมาตรฐานแล้ว มีความหนาไมเ่กิน 20 เซนตเิมตร และได้ความแนน่แห้งไมน้่อยกวา่ร้อยละ 95 ของคา่ความแนน่แห้งสงูสดุ ตาม มทช .(ท) 501.2 : วิธีการทดสอบความแนน่แบบสงูกวา่มาตรฐาน

3.3.8 ให้ท าการป้องกนัลาดคนัทาง เพ่ือป้องกนัน า้เซาะตามท่ีก าหนดโดยเร็วท่ีสดุ โดยปิดทบัลาดคนัทางด้วยดนิเหนียวหนา 20 เซนตเิมตร และปลกูหญ้าโดยชนิดปแูผน่เตม็พืน้ท่ีลาดคนัทาง หรือตามท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง

3.3.9 เคร่ืองจกัรท่ีใช้ในการก่อสร้างคนัทางต้องเป็นเคร่ืองจกัรท่ีมีขนาดเบา เชน่ รถแทรคเตอร์ (Bull Dozer Tractor) ขนาด D-4 และห้ามบดอดั โดยใช้การสัน่สะเทือนเป็นอนัขาด

3.3.10 ในระหวา่งก่อสร้างไมค่วรกองวสัด ุหรือจอดเคร่ืองจกัร หรือจอดรถบรรทกุใด ๆ บนคนัทางสว่นท่ีขยายใหม่

4. ความคลาดเคล่ือนท่ียอมให้ (Tolerance) 4.1 งานถมคนัทางท่ีก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องมีรู ปร่างตามแบบก่อสร้าง และต้องมีคา่ระดบัชว่ง

3.00 เมตร ตามแนวขนาน และตัง้ฉากกบัศนูย์กลางทาง ตา่งกนัไมเ่กิน 1 เซนตเิมตร การตรวจสอบคา่ระดบัให้ท าทกุระยะ 25 เมตร

4.2 คา่ระดบัก่อสร้างของงานถมคนัทาง ต้องไมต่ ่ากวา่ท่ีก าหนดไว้แบบก่อสร้าง เกิน 1.5 เซนตเิมตร และต้องไมส่งูกวา่ท่ีก าหนดไว้ในแบบก่อสร้าง