1. animal-locomotion7_7_3.ppt

22
TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system) 2. Gas exchange: breathing system (Respiratory system) 3. Internal transport (Circulatory system) 4. Immune system 5. The control of internal environment 6. Chemical control (Endocrine system)

Upload: ledat

Post on 29-Jan-2017

231 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

TOPICS1. Obtaining and

digesting of food (Digestive system)2. Gas exchange:

breathing system (Respiratory system) 3. Internal transport (Circulatory system)4. Immune system5. The control of

internal environment6. Chemical control (Endocrine system)7. Nervous system and

the sense8. Animal locomotion

Page 2: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

8. ANIMAL LOCOMOTIONโครงรา่งสตัว(์animal skeleton) แบง่ออกเป็น 2 ประเภท คือ1. Hydroskeleton or hydrostatic skeleton2. Hard skeleton 2.1 Exoskeleton 2.2 Endoskeleton

Page 3: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Hydrostatic skeleton-พบใน cnidarians, หนอนตัวแบน , หนอนตัวกลม และไสเ้ดือนดิน-มกีารเก็บของเหลวไวใ้นสว่นของ ทางเดินอาหาร (gastrovascular cavity or gut), pseudocoelom, coelom, vascular system, water vascular system-มกีารหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อ (circular and longitudinal muscle) ทำา ให้เกิดการเคลื่อนของของเหลวและ เกิดการเคลื่อนท่ี

Page 4: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Exoskeleton-พบในพวก mollusk และแมลง-เป็นโครงรา่งเปลือกแขง็หุ้มอยูภ่ายนอกรา่งกาย โดยสว่นประกอบของเปลือกเป็น พวก crystallized mineral salt และไมม่เีซลล์ (acellular) เชน่ แคลเซยีมคารบ์อเนต ใน mollusk, chitin ในแมลง-exoskeleton นอกจากจะทำาหน้าท่ีคำ้าจุนรา่งกายแล้ว ยงัชว่ยป้องกันการสญูเสยี/ ได้รบัความชื้นอีกด้วย-การเคลื่อนไหวเกิดขึน้โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อท่ียดึติดกับ exoskeleton-กล้ามเนื้อท่ีทำาให้เกิดการเคลื่อนไหวม ี2 ชุด คือ 1. Flexors ทำาให้เกิดการโค้งงอของขอ้ต่อเมื่อหดตัว 2. Extensors ทำาให้เกิดการยดืตัวของขอ้ต่อเมื่อหดตัว-กล้ามเนื้อท้ังสองชุดน้ีจะทำางานตรงขา้มกัน เมื่อกล้ามเนื้อชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนิด หนึ่งจะคลายตัว (agonist-antagonist)

Page 5: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments

Flexor = งอExtensor = คลาย

Page 6: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Endoskeleton-พบในสตัวม์กีระดกูสนัหลังทกุชนิด -เป็นโครงรา่งแขง็ท่ีแทรกตัวอยูใ่นเนื้อเยื่อ (soft tissues) หรอืภายในรา่งกาย -endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบง่เป็น 1. cartilage เป็นสว่นประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide 2. bone ประกอบด้วย collagen ปนอยูกั่บ apatite (calcium and phosphate salt)-นักกายวภิาคศาสตรแ์บง่กระดกูออกเป็น 2 สว่น 1. Axial skeleton: กระดกูกะโหลก (skull) , กระดกูสนัหลัง (vertebral column) , กระดกูซีโ่ครง (rib) 2. Appendicular skeleton: เป็นกระดกูท่ีต่อออกมาจาก axial skeleton แบง่เป็น 2.1 Fore-limb bone (กระดกูแขน ) ยดึติดกับ axial skeleton โดยกระดกู pectoral girdle (clavicle, scapula) 2.2 Hind-limb bone (กระดกูขา ) ยดึติดกับ axial skeleton โดยกระดกู pelvic girdle (ilium, sacrum, pubis, ischium)

Page 7: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

(pectoral girdle)

iliumsacrumpubis

ischium

Page 8: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

ขอ้ต่อ (Joint)-ขอ้ต่อ: เป็นบรเิวณท่ีกระดกูมาต่อกับ กระดกู ม ีsynovial memebranes มาหุ้มบรเิวณขอ้ต่อ เพื่อป้องกันการ เสยีดสรีะหวา่งกระดกู จะมีกระดกู อ่อนมาทำาหน้าท่ีเป็นหมอนรอง และ ม ีsynovial fluid ทำาหน้าท่ีเป็นสาร หล่อล่ืน-Ligament: เป็นเอ็นท่ียดึระหวา่ง กระดกูกับกระดกู-Tendon: เป็นเอ็นท่ียดึระหวา่ง กล้ามเนื้อกับกระดกู

Page 9: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

The skeleton-muscle connection-การเคลื่อนไหวสว่นต่าง ๆ ของ รา่งกายเกิดจากการทำางานรว่มกัน ของ nerves, bones, muscles-การหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อ เป็นการทำางานรว่มกันของ กล้ามเนื้อ 2 ชุด ท่ีทำางานตรงขา้ม กัน เชน่ การงอแขน :กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) :กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลาย ตัว (เป็น antagonist)

Page 10: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

The power arm-load arm concept-ในการเคลื่อนของกระดกู จะมีกระดกูท่อนหนึ่ง ทำาหน้าท่ีเป็นจุดหมุน (falcum)-ความเรว็ในการเคล่ือนท่ี หรอืความสามารถใน การรองรบันำ้าหนักของกระดกูขึน้อยูกั่บ อัตราสว่นของ power arm ต่อ load arm-power arm: ระยะทางระหวา่งจุดท่ีกล้ามเนื้อยดึ กับกระดกูถึงจุดหมุน-load arm: ระยะทางระหวา่งจุดหมุนถึงบรเิวณท่ี ใชใ้นการเคลื่อนไหว เชน่ เท้า หรอืมอื-ถ้าอัตราสว่น power arm/load arm ตำ่า เชน่ ใน เสอืชต้ีา กระดกูจะเคลื่อนท่ีได้เรว็-ถ้าอัตราสว่น power arm/load arm สงู เชน่ ในตัว badger กระดกูจะรบันำ้าหนักได้มาก

Page 11: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Origin and insertion- ท่ีปลายท้ังสองขา้งของกล้ามเนื้อ แต่ละมดัจะยดึติดกับกระดกู โดย ด้านท่ียดึติดกับกระดกูเฉย ๆ (ติดกับกระดกูท่ีไม่เคลื่อนท่ี) เรยีก origin สว่นปลายท่ียดึกับ กระดกูท่ีมกีารเคลื่อนไหว เรยีก insertion-Tendon ท่ี origin มกัจะกวา้ง ท่ี insertion มกัจะแคบ เพื่อจำากัด ความแรงในการหดตัวของ กล้ามเนื้อเกิดขึน้เฉพาะจุด

Page 12: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

The structure of skeleton muscle-skeleton muscle เกิดจากมดัของ muscle fiber (cell) มารวมกัน-muscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ท่ีมหีลาย นิวเคลียส ท่ีเกิดจากหลาย ๆ เซลล์ในระยะแรก มารวมกัน-แต่ละ muscle fiber เกิดจากมดัของ myofibrils มารวมกัน-myofibrilsประกอบด้วย myofilaments 2 ชนิด คือ 1.Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพนักัน2.Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกันเป็นมดั -การจดัเรยีงตัวของ myofilaments ทำาให้เกิด light-dark band ซำ้าๆ กัน เรยีกแต่ละหน่วยท่ีซำ้า กันน้ีวา่ sarcomere (ดังรูป)

Page 13: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton-การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเขา้มาซอ้นกันของ thin filament เรยีก sliding-filament model-การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความ กวา้งของ sarcomere ลดลง , ระยะทาง ระหวา่ง Z line สัน้ลง , A band คงท่ี , I band แคบเขา้ , H zone หายไป-พลังงานท่ีใชใ้นการหดตัวของ กล้ามเนื้อหลัก ๆ อยูใ่นรูปของ creatine phosphate

Page 14: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Sliding-filament model1.สว่นหัวของ myosin จบักับ ATP, อยูใ่นรูป low-energy configuration 2.myosin

head(ATPase) สลาย ATP ได้ ADP+Pi, อยูใ่นรูป high-energy configuration

3.myosin head เกิด cross-bridge กับสาย actin

4.ปล่อย ADP+Pi, myosin กลับสู ่low-energy configuration ทำาให้เกิดแรงดึง thin filament เขา้มา5.ATPโมเลกลุใหมเ่ขา้มาจบักับ myosin head ทำาให้ myosinหลดุจาก actin, เริม่วงจรใหม ่

Page 15: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

การควบคมุการหดตัวของกล้ามเน้ือ

-skeleton muscle หดตัวเมื่อได้รบัการ กระตุ้นจาก motor neuron-ในระยะพกั บรเิวณท่ีเป็นตำาแหน่งท่ี myosin มาเขา้จบั บนสาย actin (myosin binding site) ถกูปิดด้วยสายของ tropomyosin โดยการเปิด-ปิดของ tropomyosin ถกูควบคมุด้วย troponin complex-binding site จะเปิดเมื่อ Ca2+ เขา้มาจบั กับ troponin

Page 16: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

-sarcoplasmic reticulum (SR) เป็นแหล่งเก็บ Ca2+ ในเซลล์กล้ามเนื้อ-เมื่อ action potential จาก motor neuron มาถึงบรเิวณ synaptic terminal ทำาให้มกีาร หลัง่ Ach ท่ี neuromuscular junction, เกิด depolarization ท่ีเซลล์กล้ามเนื้อ-action potential แพรไ่ปยงัเยื่อเซลล์ของ กล้ามเนื้อท่ีเรยีกวา่ T (transverse) tubules -ตำาแหน่งท่ี T tubules สมัผัสกับ SR ทำาให้มี การหลัง่ Ca2+

-การหดตัวของกล้ามเนื้อจะหยุดเมื่อ SR ป๊ัม Ca2+ จาก cytoplasm กลับเขา้มาเก็บใน SR

Motor end-plate

Page 17: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

สรุปการหดตัวของกล้ามเนื้อ1.Ach หลัง่จาก neuron จบั receptor

2.Action potential เคลื่อนไป T tubule

3.SR หลัง่ Ca2+

4.Ca2+จบัtroponin, binding silt เปิด

5.กล้ามเนื้อหดตัว6.ป๊ัมCa2+ กลับสู ่SR

7.tropomyosinปิด binding site, หยุดการหดตัวของกล้ามเน้ือ

Page 18: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

การหดตัวของมดักล้ามเน้ือ-ในมดักล้ามเนื้อแต่ละมดัประกอบด้วย muscle fiber หลายเซลล์มารวมกัน -การตอบสนองต่อแรงกระตุ้นของ muscle fiberเป็นแบบ all-or-none (เหมอืน neuron) และแต่ละ muscle fiber ม ีthreshold ในการหดตัวไมเ่ท่ากัน-การหดตัวของมดักล้ามเนื้อแต่ละครัง้ (single twitch) ขึน้อยูกั่บความแรงท่ีมากระตุ้น-ถ้ากล้ามเนื้อได้รบัการกระตุ้น 2 ครัง้ต่อเนื่องกัน&มรีะยะห่างพอเหมาะ จะทำาให้ ความแรงในการหดตัวครัง้ท่ี 2 เพิม่ขึน้ (summation)

-Tetanus เป็นการหด(เกรง็)โดยไมม่กีารคลายตัวของกล้ามเนื้อ จากการกระตุ้นถ่ีๆ และต่อเนื่อง-Fatigue (การล้า )เป็นสภาพทีกล้ามเนื้อหมดความสามารถในการหดตัว

Page 19: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

Motor unit-ในสตัวม์กีระดกูสนัหลัง muscle cell 1 เซลล์จะถกูควบคมุโดย motor neuron 1 เซลล์เท่านัน้-แต่ 1 motor neuron อาจควบคมุการทำางาน >1 muscle cell-Motor unit ประกอบด้วย 1 motor neuron และmuscle fiber ท้ังหมดท่ี neuron ควบคมุ-กล้ามเนื้อท่ีต้องการการเคลื่อนไหวท่ีละเอียดอ่อน จะมอัีตราสว่นระหวา่ง motor neuron/muscle cell ตำ่า เชน่กล้ามเนื้อลกูตา (1/3-4)

Page 20: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

การหดตัวของ smooth muscle-smooth muscle cell พบท่ีอวยัวะท่ี มลีักษณะเป็นท่อกลวง เชน่ ทางเดินอาหาร , หลอดเลือด , อวยัวะสบืพนัธุ์ , iris ของลกูตา และท่อของต่อม-มรูีปรา่งคล้ายกระสวย ม ี1 nucleus/1 cell การหดตัวเป็น involuntary

-ไมม่กีารจดัเรยีงตัวของactin-myosin ทำาให้ไมเ่ห็นเป็นลาย , ปลาย actin มกัยดึติดกับ เยื่อเซลล์ , ไมม่ ีSR ดังนัน้ Ca2+ แพรผ่่านเขา้มาทางเยื่อเซลล์ -การหดตัวจะชา้กวา่ striated muscle แต่การหดตัวนัน้จะอยูไ่ด้นานกวา่

Page 21: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt

การหดตัวของ cardiac muscle

-ม ี1 nucleus/1 cell เซลล์มกีารแตกแขนง(bifurcate)และเชื่อมกับเซลล์ขา้ง เคียงด้วย gap junction เรยีก intercalated disk-มกีารจดัเรยีงตัวของ actin-myosin ทำาให้เห็นเป็นลาย , ม ีSR

-cardiac muscle สามารถหดตัวได้เองอยา่งเป็นจงัหวะ-หัวใจสตัวม์กีระดกูสนัหลังหดตัวได้เองเรยีก myogenic heart (muscle-generated)- หัวใจของกุ้ง , ปู , แมงมุม ต้องได้รบัการกระตุ้นจาก nerve เรยีก neurogenic heart (nerve-driven)

Page 22: 1. animal-locomotion7_7_3.ppt