09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง...

25
1 http://www.thaigov.go.th วันนี้ (17 มีนาคม 2558) เวลา 09.00 น. ณ หองประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1 ทําเนียบรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม รอยเอก ยงยุทธ มัยลาภ โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี พรอมดวย พลตรี สรรเสริญ แกวกําเนิด รองโฆษกประจํา สํานักนายกรัฐมนตรี ไดแถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญดังนีกฎหมาย 1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แกไข เพิ่มเติมเกี่ยวกับความผิดทางอาญา) 2. เรื่อง รางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... 3. เรื่อง รางพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยเพื่อสรางทางพิเศษสาย บางพลี -สุขสวัสดิ์ ในทองที่อําเภอบางพลี อําเภอเมืองสมุทรปราการ และอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... 4. เรื่อง รางพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติการซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 พ.ศ. .... 5. เรื่อง รางพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... 6. เรื่อง รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก การกอการราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ 7. เรื่อง รางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. .... 8. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาที่ของสวนราชการ กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และราง กฎกระทรวงกําหนดสวนราชการที่ขึ้นตอกองทัพภาคและเขตพื้นที่ของมณฑล ทหารบก พ.ศ. .... และรางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตอํานาจศาลมณฑลทหาร พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ 9. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทํางาน (องคการมหาชน) พ.ศ. .... 10. เรื่อง รางประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง การนํามันฝรั ่ง หอมหัวใหญ กระเทียม ลําไย แหง พริกไทย และเมล็ดพันธุหอมหัวใหญ เขามาในราชอาณาจักรตามความตกลง เขตการคาเสรีอาเซียน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. .... 11. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อขยายทางหลวง แผนดินหมายเลข 1152 สายแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020-บรรจบทาง หลวงแผนดินหมายเลข 1020 (ตาตลาด) ที่บานหัวดอย บานผางาม บานรองหา บานสบเปา และเพื่อสรางทางหลวงแผนดินหมายเลข 1421 สายหัวดอย-บานใหม พัฒนา พ.ศ. ....

Upload: others

Post on 29-May-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

1

http://www.thaigov.go.th วันนี้ (17 มีนาคม 2558) เวลา 09.00 น. ณ หองประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1 ทําเนียบรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม รอยเอก ยงยุทธ มัยลาภ โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี พรอมดวย พลตรี สรรเสริญ แกวกําเนิด รองโฆษกประจํา สํานักนายกรัฐมนตรี ไดแถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญดังนี้

กฎหมาย 1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... (แกไข เพ่ิมเติมเก่ียวกับความผิดทางอาญา) 2. เรื่อง รางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... 3. เรื่อง รางพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยเพ่ือสรางทางพิเศษสาย บางพลี-สุขสวัสดิ์ ในทองท่ีอําเภอบางพลี อําเภอเมืองสมุทรปราการ และอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... 4. เรื่อง รางพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา

พ.ศ. 2542 พ.ศ. .... 5. เรื่อง รางพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... 6. เรื่อง รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก การกอการราย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รวม 3 ฉบบั 7. เรื่อง รางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. .... 8. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาท่ีของสวนราชการ กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... และราง กฎกระทรวงกําหนดสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคและเขตพ้ืนท่ีของมณฑล ทหารบก พ.ศ. .... และรางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตอํานาจศาลมณฑลทหาร พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ 9. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดลอมในการทํางาน (องคการมหาชน) พ.ศ. .... 10. เรื่อง รางประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง การนํามันฝรั่ง หอมหัวใหญ กระเทียม ลําไย แหง พริกไทย และเมล็ดพันธุหอมหัวใหญ เขามาในราชอาณาจักรตามความตกลง เขตการคาเสรีอาเซียน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. .... 11. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตท่ีดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืน เพ่ือขยายทางหลวง แผนดินหมายเลข 1152 สายแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020-บรรจบทาง หลวงแผนดินหมายเลข 1020 (ตาตลาด) ท่ีบานหัวดอย บานผางาม บานรองหา บานสบเปา และเพ่ือสรางทางหลวงแผนดินหมายเลข 1421 สายหัวดอย-บานใหม พัฒนา พ.ศ. ....

Page 2: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

2

เศรษฐกิจ-สังคม

12. เรื่อง รางยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เชิงบูรณาการปพ.ศ. 2557 – 2564 13. เรื่อง แผนแมบทและบรรเทาภัยแลง 14. เรื่อง การจัดการแขงขันกีฬาฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมปโลก ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2558 15. เรื่อง ขออนุมัติโครงการและการกูเงินสําหรับโครงการเงินกูเพ่ือการพัฒนาระบบบริหาร จัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน : มาตรการกระตุน เศรษฐกิจระยะท่ี 2 16. เรื่อง ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับคาครองชีพ (กุมภาพันธ พ.ศ. 2558) 17. เรื่อง โครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SME

ตางประเทศ 18. เรื่อง ขออนุมัติการจัดทําและลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการ ทองเท่ียวทางเรือระหวางไทยกับสิงคโปร 19. เรื่อง รางปฏิญญาทางการเมืองเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปของการประชุมระดับโลก วาดวยเรื่องสตรี ครั้งท่ี 4 20. เรื่อง การเขารวมเปนภาคีสมาชิกของไทยในทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหวาง ประเทศ (International Renewable Energy Agency : IRENA) 21. เรื่อง การสมัครของไทยเพ่ือเปนประเทศผูสังเกตการณของกลุมพันธมิตรแปซิฟก (Pacific Alliance) 22. เรื่อง ขอความเห็นชอบการเปนเจาภาพจัดการประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแหง เอเชียตะวันออกเฉียงใต (สภาซีเมค) ครั้งท่ี 48 23. เรื่อง การปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี 24. เรื่อง การจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือระหวางกระทรวงการตางประเทศ แหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการตางประเทศแหงสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม 25. เรื่อง ความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปร ฉบับแกไข 26. เรื่อง การลงนามรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพ่ือดําเนินการเชื่อมโยงขอมูล อิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Protocol on the Legal Framework to Implement the ASEAN Single Window)

27. เรื่อง ขออนุมัติกรอบการหารือสําหรับการประชุมคณะกรรมาธิการรวมวาดวยความ รวมมือทวิภาคีไทย – เวียดนาม (JCBC) ครั้งท่ี 2

Page 3: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

3

แตงตั้ง 28. เรื่อง การแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับ ทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข) 29. เรื่อง การแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับ ทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข) 30. เรื่อง แตงตั้งขาราชการใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ (กระทรวงศึกษาธิการ) 31. เรื่อง แตงตั้งกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการรถไฟแหงประเทศไทย 32. เรื่อง แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการปโตรเลียม 33. เรื่อง แตงตั้งกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการองคการสวนพฤกษศาสตร 34. เรื่อง การขอตอเวลาการดํารงตําแหนงเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (นัก บริหารระดับสูง) ครั้งท่ี 2 (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ) 35. เรื่อง การแตงตั้งประธานกรรมการ และกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการการไฟฟา นครหลวง

******************* สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี โทร. 0 2288-4396

Page 4: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

4

กฎหมาย

1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... (แกไขเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความผิดทางอาญา) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... (แกไขเพ่ิมเติมเก่ียวกับความผิดทางอาญา) ตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาตอไป กค. เสนอวา บทบัญญัติในประมวลรัษฎากรมีเนื้อหาท่ีไมสอดรับกับสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน และสรางความไมเปนธรรมเก่ียวกับสภาพบังคับทางกฎหมาย นอกจากนี้บทบัญญัติบางมาตรายังขาดความชัดเจน ทําใหเกิดปญหาความไมเปนธรรมและการใชบังคับ จึงเห็นควรแกไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติในประมวลรัษฎากร ดังนี้ 1. มาตรา 69 บัญญัติใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลยื่นแบบแสดงรายการภาษีพรอมดวยบัญชีงบดุล บัญชีทําการ บัญชีกําไรขาดทุน บัญชีรายรับ รายจาย หรือบัญชีรายรับกอนหักรายจาย ท่ีมีผูสอบบัญชีภาษีอากรตามมาตรา 3 สัตต ทําการตรวจสอบและรับรอง แตไมมีบทบัญญัติใดในประมวลรัษฎากรกําหนดมาตรการบังคับสําหรับการไมปฏิบัติตามเง่ือนไขดังกลาว จึงทําใหมาตรา 69 ขาดสภาพบังคับในทางกฎหมาย 2. มาตรา 37 ทวิ บัญญัติใหผูใดเจตนาละเลยไมยื่นแบบแสดงรายการเพ่ือหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท หรือจําคุกไมเกินหกเดือนหรือท้ังปรับท้ังจํา ซ่ึงมีบทลงโทษท่ีนอยกวาบทกําหนดโทษกรณีการหลีกเล่ียงการเสียภาษีอากรตามบทบัญญัติในมาตรา 37 ทําใหสภาพบังคับทางกฎหมายของบทบัญญัติท้ังสองนี้มีความแตกตางกันมาก กอใหเกิดความไมเปนธรรมในสวนท่ีเกี่ยวกับบทลงโทษทางอาญา 3. มาตรา 90/4 (6) บัญญัติใหบทลงโทษสําหรับผูประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลคาเพ่ิม กระทําการใด ๆ โดยความเท็จ โดยฉอโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอ่ืนใดทํานองเดียวกัน ซ่ึงคําวา “เจตนาหลีกเล่ียงหรือพยายามหลีกเล่ียงภาษีมูลคาเพ่ิม” เปนถอยคําท่ีอาจใหความหมายไดอยางกวางขวางและไมครอบคลุมถึงความผิดสําหรับการทุจริตในการขอคืนภาษีมูลคาเพ่ิมท่ีเปนเท็จ” สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. แกไขเพ่ิมเติมกรณีไมปฏิบัติตามมาตรา 69 โดยการฝาฝนหนาท่ีในการแนบเอกสารพรอมการย่ืนแบบแสดงรายการภาษี ตองระวางโทษปรับ 2. แกไขเพ่ิมเติมใหการกระทําความผิดเก่ียวกับการหลีกเล่ียงการเสียภาษีอากรตามมาตรา 37 ใหครอบคลุมถึงการขอคืนภาษีอากรอันเปนเท็จ 3. แกไขเพ่ิมเติมใหการกระทําอันเปนการหลีกเล่ียงการเสียภาษีอากรตามมาตรา 37 ทวิ มีอัตราโทษเดียวกับมาตรา 37 คือ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามเดือนถึงเจ็ดป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองแสนบาท โดยยกเลิกมาตรา 37 ทวิ 4. แกไขเพ่ิมเติมใหบทกําหนดโทษเก่ียวกับการหลีกเล่ียงภาษีมูลคาเพ่ิมใหครอบคลุมถึงการขอคืนภาษีมูลคาเพ่ิมอันเปนเท็จ 2. เรื่อง รางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป

Page 5: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

5

สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. กําหนดนิยามคําวา “ทุนหมุนเวียน” ตามรางพระราชบัญญัตินี้ หมายถึงกองทุน กองทุนหมุนเวียน เงินทุน เงินทุนหมุนเวียน ทุน หรือทุนหมุนเวียน ท่ีตั้งข้ึนเพ่ือกิจการท่ีอนุญาตใหนํารายรับสมทบทุนไวใชจายได โดยไมตองนําสงคลังเปนรายไดแผนดิน และกําหนดนิยามคําวา “หนวยงานของรัฐ” “คณะกรรมการ” “คณะกรรมการบริหาร” “ผูบริหารทุนหมุนเวียน” 2. กําหนดใหในกรณีท่ีทุนหมุนเวียนใดมีกฎหมายกําหนดบทบัญญัติในเรื่องใดไวเปนการเฉพาะ ใหการดําเนินงานของทุนหมุนเวียนนั้นเปนไปตามท่ีกฎหมายกําหนด เวนแตในกรณีท่ีกฎหมายมิไดบัญญัติไว ใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับ 3. กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียน ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปนประธานกรรมการ ปลดักระทรวงการคลัง เปนรองประธานกรรมการ กรรมการโดยตําแหนง ไดแก ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสามคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง โดยมีอธิบดีกรมบัญชีกลางเปนกรรมการและเลขานุการ 4. กําหนดบทบัญญัติเก่ียวกับทุนหมุนเวียนท่ีไมมีสถานะเปนนิติบุคคลในสวนการขอจัดตั้ง การบริหาร คณะกรรมการบรหิารทุนหมุนเวียน ผูบริหารทุนหมุนเวียน พนักงานและลูกจาง การบัญชีและการตรวจสอบ และการประเมินผล 5. กําหนดบทบัญญัติเก่ียวกับทุนหมุนเวียนท่ีไมมีสถานะเปนนิติบุคคล โดยใหนําบทบัญญัติในสวนการขอจัดตั้ง ทุนหมุนเวียนท่ีไมมีสถานะเปนนิติบุคคล มาใชบังคับ และใหนําบทบัญญัติในสวนการบริหาร คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ผูบริหาร พนักงานและลูกจาง การบัญชีและการตรวจสอบ และการประเมินผล ทุนหมุนเวียนท่ีไมมีสถานะเปนนิติบุคคล มาใชบังคับกรณีกฎหมายมิไดบัญญัติไวเปนการเฉพาะโดยอนุโลม 6. กําหนดใหคณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียนมีอํานาจรวม หรือยุบเลิกทุนหมุนเวียนท่ีไมมีสถานะเปนนิติบุคคลและทุนหมุนเวียนท่ีมีสถานะเปนนิติบุคคล ตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในรางพระราชบัญญัตินี้ โดยไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 7. กําหนดหลักเกณฑการรวมทุนหมุนเวียน เม่ือทุนหมุนเวียนท่ีจะรวมกันนั้นมีวัตถุประสงคเดียวกันหรือสามารถดําเนินการรวมกันได และจะตองไมมีผลเปนการขยายวัตถุประสงคเกินกวาวัตถุประสงคเดิมของทุนหมุนเวียนท่ีนํามารวมกันนั้น 8. กําหนดหลักเกณฑการยุบเลิกทุนหมุนเวียน กรณีหมดความจําเปนท่ีจะตองดําเนินการตามวัตถุประสงคในการจัดตั้ง กรณีหยุดการดําเนินงานทุนหมุนเวียนโดยไมมีเหตุผลอันสมควร กรณีมีผลการประเมินต่ํากวาเกณฑท่ีคณะกรรมการกําหนดเปนเวลาสามปติดตอกันและคณะกรรมการเห็นสมควรใหยุบเลิกทุนหมุนเวียนนั้น กรณีมีเหตุอ่ืนตองยุบเลิกทุนหมุนเวียนตามท่ีคณะกรรมการประกาศกําหนด 9. กําหนดบทเฉพาะกาล ใหนํากฎ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑเก่ียวกับทุนหมุนเวียนซ่ึงใชบังคับอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาใชบังคับไปพลางกอน เทาท่ีไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะไดออกขอบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑตามพระราชบัญญัตินี้ ซ่ึงตองดําเนินการภายในเวลาไมเกินสองปนับแตวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ กําหนดใหกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนซ่ึงดํารงตําแหนงอยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาท่ีในฐานะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนตามพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะครบวาระการดํารงตําแหนง และกําหนดใหผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของทุนหมุนเวียนตามสัญญาจางซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีอยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาท่ีตอไปไดจนกวาสัญญาจางจะสิ้นสุดลง 3. เรื่อง รางพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยเพ่ือสรางทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ ในทองท่ี อําเภอบางพลี อําเภอเมืองสมุทรปราการ และอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยเพ่ือสรางทางพิเศษสายบางพล-ีสุขสวัสดิ์ ในทองท่ีอําเภอบางพลี อําเภอเมืองสมุทรปราการ และอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

Page 6: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

6

พ.ศ. .... ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามท่ีกระทรวงคมนาคมเสนอ แลวใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ เวนคืนอสังหาริมทรัพย ในทองท่ีอําเภอบางพลี อําเภอเมืองสมุทรปราการ และอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ภายในแนวเขตตามแผนท่ีและบัญชีรายชื่อเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมายทายพระราชบัญญัตินี้ ใหแกการทางพิเศษแหงประเทศไทย เพ่ือสรางทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ โดยใหผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศไทยเปนเจาหนาท่ีเวนคืน 4. เรื่อง รางพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 พ.ศ. .... ตามท่ีกระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณากอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. การยุบเลิกสํานักงาน ก.ส.ล. และตลาด ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยออกเปนประกาศ โดยใหมีผลเปนการยกเลิกพระราชบัญญัติการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2550 ในวันถัดจากวันท่ีประกาศรัฐมนตรี กําหนดใหยุบเลิกสํานักงานและตลาด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2. กําหนดใหคณะกรรมการตลาด มีอํานาจกําหนดวันทําการซ้ือขายลวงหนา วันสุดทายของตลาดและวันทําการซ้ือขายลวงหนาวันสุดทาย สําหรับสินคาเกษตรประเภทหรือชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาด กําหนดราคายุติ กําหนดใหยุติฐานะการถือครองขอตกลงซ้ือขายลวงหนาของลูกคาจายเงินชดเชยคาเสียหายแกลูกคาและบุคคลท่ีไดรับความเสียหายจากการยุติฐานะการถือครองขอตกลงซ้ือขายลวงหนาของลูกคา หรือการดําเนินการอันจําเปน อ่ืน ๆ 3. ในระหวางท่ีกฎหมายวาดวยการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนายังใชบังคับอยูมิใหนําบทบัญญัติเก่ียวกับการขออนุญาตเปนผูคาลวงหนา และนายหนาซ้ือขายลวงหนา ท่ีปรึกษาการซ้ือขายลวงหนา ตัวแทนซ้ือขายลวงหนา และผูบริหารธุรกิจรวมทุนซ้ือขายลวงหนา (มาตรา 26 และมาตรา 44) บทบัญญัติหามประกอบกิจการตลาดนอกจากตลาดท่ีไดจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา (มาตรา 75) และบทบัญญัติหามมิใหซ้ือขายลวงหนานอกตลาด (มาตรา 118 (1)) มาใชบังคับกับศูนยซ้ือขายสัญญาซ้ือขายลวงหนาและผูประกอบธุรกิจสัญญาซ้ือขายลวงหนา 4. กําหนดใหการซ้ือขายสัญญาซ้ือขายลวงหนาของสินคาเกษตรภายใตกฎหมายวาดวยสัญญาซ้ือขายลวงหนาคงรักษาวัตถุประสงคตามกฎหมายวาดวยการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา เพ่ือรักษาเสถียรภาพราคาสินคาเกษรรในระยะยาว 5. กําหนดใหสํานักงาน ก.ส.ล. และตลาด ซ่ึงถูกยกเลิกไป ใหถือวายังคงตั้งอยูตราบเทาเวลาท่ีจําเปนเพ่ือการชําระบัญชี โดยใหรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการผูชําระบัญชีของสํานักงาน ก.ส.ล. และคณะกรรมการผูชําระบัญชีของตลาด ทําหนาท่ีชําระบัญชีใหแลวเสร็จแลวเสนอรัฐมนตรีเพ่ืออนุมัติและเสนอคณะรัฐมนตรีทราบ แลวประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยใหถือวาเปนวันสิ้นสุดแหงการชําระบัญชี 6. ใหบรรจุและแตงตั้งพนักงานของสํานักงาน ก.ส.ล. และตลาด ท่ีแสดงความจํานงจะไปปฏิบัติงานท่ีสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัท ตลาดสัญญาซ้ือขายลวงหนา (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน (บริษัท) เนื่องจากการยุบเลิกหนวยงาน เปนพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัท แลวแตกรณี ในตําแหนงท่ีเหมาะสมกับความรู ความสามารถและประสบการณของพนักงานแตละคน โดยใหไดรับเงินเดือนไมนอยกวาท่ีไดรับอยู รวมท้ังไดรับเงินตอบแทนอ่ืน สวัสดิการและสิทธิประโยชนไมนอยกวาพนักงานในตําแหนงลักษณะเดียวกันหรือเทียบเทาของสํานักงาน ก.ล.ต. ท้ังนี้ ใหถือวาเปนการเลิกจางพนักงานเนื่องจากยุบเลิกหนวยงาน โดยใหสํานักงาน ก.ส.ล. หรือ

Page 7: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

7

ตลาดจายเงินชวยเหลือพิเศษและสวัสดิการอ่ืนตามขอบังคับ เวนแตพนักงานมีความจํานงจะใหนับเวลาทํางานตอเนื่อง สํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาด ไมตองจายเงินชวยเหลือพิเศษ ในระหวางท่ีสํานักงาน ก.ส.ล. และตลาดยังไมไดยุบเลิก หากเห็นวาพนักงาน คนใดสมควรไปปฏบิัติงานท่ีสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัท แลวแตกรณีโดยความตกลงของทุกฝาย ใหพนักงานคนนั้นไปเปนพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัทได

7. ใหสํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาด จายเงินชวยเหลือพิเศษและสวัสดิการอ่ืนตามขอบังคับใหแกพนักงานท่ีไมแสดงความจํานงจะไปปฏิบัติงานท่ีสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัท โดยใหถือวาเปนการถูกเลิกจางเนื่องจากการยุบเลิกหนวยงาน

8. ในระหวางท่ีสํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาดไมไดยุบเลิก หากพนักงานคนใดไมไดแสดงความจํานงท่ีจะไปปฏิบัติงานท่ีสํานักงาน ก.ล.ต. หรือบริษัท แลวแตกรณี และสํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาดเห็นวาไมจําเปนตองจางพนักงานคนนั้นอีกตอไป สํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาดจะเลิกจาง โดยความยินยอมของพนักงานผูนั้นก็ได โดยใหพนักงานผูนั้นไดรับเงินชวยเหลือพิเศษและสวัสดิการอ่ืน ตามขอบังคับของสํานักงาน ก.ส.ล. หรือตลาด แลวแตกรณี

5. เรื่อง รางพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามท่ีกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. กําหนดใหเครื่องจักรท่ีจะจดทะเบียนกรรมสิทธิ์เครื่องจักรตองผานการตรวจสอบจากพนักงานเจาหนาท่ีหรือจากผูตรวจสอบเครื่องจักรเอกชนซ่ึงไดรับใบอนุญาต และใหการอนุญาต การไมอนุญาต การพักใชใบอนุญาต และการอุทธรณคําสั่งเก่ียวกับการอนุญาตดังกลาวเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขตามท่ีกําหนด 2. กําหนดใหหลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบเครื่องจักร การจัดทํารายงานผลการตรวจสอบเครื่องจักร และมาตรฐานการปฏิบัติงานการตรวจสอบใหเปนไปตามหลักเกณฑท่ีกําหนดโดยกฎกระทรวง 3. กําหนดใหการยายเครื่องจักรซ่ึงโดยปกติวิสัยในการทํางานหรือการประกอบกิจการตองเคลื่อนยายภายในสถานประกอบกิจการอุตสาหกรรม ไมตองแจงความประสงคจะขอยายตอนายทะเบียน 4. บทกําหนดโทษสําหรับการทุจริตหรือจงใจในการทํารายงานเท็จ ของผูตรวจสอบเครื่องจักรเอกชน เจาของเครื่องจักรท่ียายเครื่องจักรท่ีจดทะเบียนโดยไมแจงแกนายทะเบียน รวมท้ังบทกําหนดโทษสําหรับกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลใด ๆ ซ่ึงรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคล 5. กําหนดใหรัฐมนตรีผูรักษาการมีอํานาจออกกฎกระทรวงยกเวนคาธรรมเนียม และใหมีการยกเลิกบัญชีอัตราคาธรรมเนียม และใหใชบัญชีอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้แทน 6. เรื่อง รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามท่ีสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) เสนอ แลวใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณากอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป

Page 8: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

8

สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ... 1.1 แกไขเพ่ิมเติมหลักเกณฑเก่ียวกับการประกาศรายชื่อบุคคลท่ีถูกกําหนดตามมติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหปประชาชาติ 1.2 ยกเลิกการกําหนดเง่ือนไขในการพิจารณาพฤติการณของบุคคลท่ีเก่ียวของกับการกอการราย หรือการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย หรือการดําเนินการแทนของบุคคล หรือตามคําสั่ง หรือภายใตการควบคุมของบุคคลท่ีถูกกําหนด ท่ีตองมีพฤติการณดังกลาวอยูในวันท่ีศาลมีคําสั่งเปนบุคคลท่ีถูกกําหนด 1.3. แกไขเพ่ิมเติมหลักเกณฑและวิธีการในการประกาศและการแจงรายชื่อบุคคลท่ีถูกกําหนด 1.4. ปรับปรุงบทกําหนดโทษกรณีบุคคลท่ีถูกกําหนดหรือบุคคลท่ีครอบครองทรัพยสินของบุคคลท่ีถูกกําหนดหรือการดําเนินงานของนิติบุคคล 1.5 กําหนดใหความผิดตามท่ีกําหนดซ่ึงนิติบุคคลเปนผูกระทําความผิดเปนความผิดท่ีเปรียบเทียบได 2. รางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... 2.1 แกไขเพ่ิมเติมบทนิยามคําวา “ความผิดมูลฐาน” “ทรัพยสินท่ีเก่ียวกับการกระทําความผิด” และ “สถาบันการเงิน” 2.2 เพ่ิมลักษณะการกระทําท่ีเปนความผิดฐานฟอกเงิน 2.3 แกไขเพ่ิมเติมการรายงาน การแสดงตน การตรวจสอบเพ่ือทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับลูกคา และการสั่งใหชี้แจงขอเท็จจริงเก่ียวกับการทําธุรกรรมท่ีมีเหตุอันควรสงสัย 2.4 ปรับปรุงองคประกอบ อํานาจหนาท่ี และการประชมุของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกําหนดวิธีการสรรหา คุณสมบัติและลักษณะตองหาม และการพนจากตําแหนงของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ 2.5 ปรับปรุงองคประกอบ อํานาจหนาท่ี และการประชุมและการออกคําสั่งของคณะกรรมการธุรกรรม และกําหนดวิธีการสรรหา คุณสมบัติและลักษณะตองหามและการพนจากตําแหนงขอกรรมการธุรกรรม 2.6 แกไขเพ่ิมเติมการรายงานตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและคณะกรรมการปองกันและปราบปราบการทุจริตแหงชาติ เม่ือมีการสั่งยับยั้งการทําธุรกรรม 2.7 แกไขเพ่ิมเติมการคุมครองชวยเหลือแกผูใหถอยคําหรือผูท่ีแจงเบาะแสหรือขอมูลอันเปนประโยชนตอคณะกรรมการธุรกรรม 2.8 กําหนดใหผูปฏิบัติหนาท่ีหรือผูชวยเหลือผูปฏิบัติหนาท่ีโดยชอบท่ีถูกฟองหรือดําเนินคดีใหมีสิทธิไดรับความชวยเหลือตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกําหนด 2.9 ยกเลิกการกําหนดใหคณะกรรมการธุรกรรม และเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินทํารายงานสรุปการดําเนินการของคณะกรรมการธุรกรรมตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิ 2.10 กําหนดใหสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินมีอํานาจเก่ียวกับการประเมินความเสี่ยง จัดทําแผนปฏิบัติการรวมกับหนวยงานของรัฐ และสงเสริมความรวมมือของประชาชนในการตอตานการฟอกเงินและสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย รวมถึงแจงรายชื่อผูมีหนาท่ีรายงานท่ีฝาฝนไปยังหนวยงานกํากับดูแล 2.11 แกไขเพ่ิมเติมใหเลขาธิการมีหนาท่ีควบคุมดูแลราชการของสํานักงานและปฏิบัติหนาท่ีดวยความอิสระ โดยข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรี

2.12 กําหนดใหตําแหนงเลขาธิการมาจากการคัดเลือกของคณะกรรมการปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน และการหามดํารงตําแหนงท่ีกําหนดไวภายในสองปเม่ือพนจากตําแหนงเลขาธิการ 2.13 ปรับปรุงอํานาจในการสืบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน และกําหนดใหสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน มี ใชและพาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปนตลอดจนยุทธภัณฑไดตามพระราชบัญญัตินี้

Page 9: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

9

2.14 แกไขเพ่ิมเติมระยะเวลาการเก็บรักษาทรัพยสินกอนท่ีจะตกเปนของกองทุนกรณีท่ีไมมีผูมาขอรับคืน 2.15 แกไขเพ่ิมเติมการคุมครองสิทธิผูเสียหายในความผิดมูลฐาน 2.16 แกไขเพ่ิมเติมการนําทรัพยสินท่ีศาลมีคําสั่งใหตกเปนของแผนดินสงเขากองทุนและปรับปรุงระยะเวลาการเก็บรักษาทรัพยสินกอนท่ีจะตกเปนของกองทุนกรณีท่ีไมมีผูมาขอรับคืน 2.17 กําหนดแนวทางในการพิจารณาดําเนินการกับทรัพยสินท่ีเก่ียวกับการกระทําความผิดซ่ึงสามารถดําเนินการตามกฎหมายอ่ืนได 2.18 กําหนดโทษผูซ่ึงพนจากตําแหนงเลขาธิการซ่ึงฝาฝนเง่ือนเวลาในการไปดํารงตําแหนงหรือเปนลูกจางของหนวยงานท่ีเปนผูมีหนาท่ีรายงาน 2.19 แกไขเพ่ิมเติมบทกําหนดโทษและอัตราโทษใหเหมาะสมยิ่งข้ึน 3. รางพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... แกไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2542 เพ่ือกําหนดใหสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินเปนหนวยงานท่ีอยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี 7. เรื่อง รางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ....

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. .... ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติ กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป

สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. กําหนดใหมหาวิทยาลัยศิลปากรมีฐานะเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ซ่ึงไมเปนสวนราชการตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไมเปนรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอ่ืน 2. กําหนดใหมหาวิทยาลัยแบงสวนงานออกเปน สํานักงานสภามหาวิทยาลยั สํานักงานอธิบดี วิทยาเขต คณะ และมหาวิทยาลัยอาจใหมีสวนงานท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาคณะ 3. กําหนดใหมหาวิทยาลัยมีรายไดจากเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลจัดสรรใหเปนรายป เงินหรือทรัพยสินท่ีมีผูอุทิศให และเงินกองทุนท่ีรัฐบาลหรือมหาวิทยาลัยจัดตั้งข้ึนและรายไดหรือผลประโยชนจากกองทุน เปนตน และใหรายไดของมหาวิทยาลัยไมเปนรายไดท่ีตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 4. กําหนดใหมีสภามหาวิทยาลัยเปนองคกรทางการบริหาร โดยมีกรรมการสภามหาวิทยาลัยท่ีมาจากบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยและองคกรตาง ๆ ในมหาวิทยาลัยและใหมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีกําหนด 5. กําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยมีอํานาจหนาท่ีเก่ียวกับการเสนอแผนพัฒนามหาวิทยาลัย พิจารณากลั่นกรองระเบียบ ขอบังคับ และประกาศ ฯลฯ คณะกรรรมการนโยบายวิชาการท่ีมีหนาท่ีเสนอแนะเปาหมาย นโยบาย แนวทางในการพัฒนาและแผนพัฒนาวิชาการของมหาวิทยาลัย ฯลฯ และสภาพพนักงานมหาวิทยาลัยมีอํานาจหนาท่ีเสนอแนะใหคําปรึกษาแกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีในการบริหารกิจการท้ังปวงของมหาวิทยาลัย ฯลฯ 6. กําหนดใหมีอธิการบดีเปนผูบังคับบัญชาสูงสุด และรับผิดชอบการบริหารงานของมหาวิทยาลัย กําหนดวาระการดํารงตําแหนง การพนจากตําแหนงคุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และใหมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีกําหนด 7. กําหนดหลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย

Page 10: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

10

8. กําหนดหลักเกณฑ และวิธีการการบัญชีและการตรวจสอบทางบัญชีและการเงินของมหาวิทยาลัย ใหอธิการบดีเปนผูดํารงตําแหนงระดับสูงตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต และใหรัฐมนตรีมีอํานาจและหนาท่ีกํากับและดูแลโดยท่ัวไปซ่ึงกิจการของมหาวิทยาลัย 9. กําหนดบทเฉพาะกาลเก่ียวกับการโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนี้ งบประมาณ และรายได การดํารงตําแหนงและคณะกรรมการตาง ๆ สวนราชการ การโอนบรรดาขาราชการ ลูกจางของสวนราชการ พนักงานของมหาวิทยาลัย ตําแหนงทางวิชาการ สิทธิเก่ียวกับการไดรับบําเหน็จบํานาญ ตลอดจนระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศท่ีมีอยูกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนตน 8. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวงกําหนดสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคและเขตพ้ืนท่ีของมณฑลทหารบก พ.ศ. .... และรางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตอํานาจศาลมณฑลทหาร พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวงกําหนดสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคและเขตพ้ืนท่ีของมณฑลทหารบก พ.ศ. .... และรางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตอํานาจศาลมณฑลทหาร พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ ตามท่ีกระทรวงกลาโหม (กห.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกาและรางกฎกระทรวง 1. รางพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาท่ีของสวนราชการกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... 1.1 กําหนดใหกรมกําลังพลทหารบกมีหนาท่ีเพ่ิมเติมเก่ียวกับงานการศึกษาในสวนท่ีนอกเหนือจากงานการศึกษาดานสายงานยุทธการ และใหโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลามีหนาท่ีใหการศึกษา อบรม และฝกบุคลากรอ่ืนนอกเหนือจากนักเรยีนนายรอยไดดวย 1.2 กําหนดใหเจากรมสงกําลังบํารุงทหารบกเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบกรมสงกําลังบํารุงทหารบก 1.3 กําหนดใหกองทัพภาคท่ี 1 กองทัพภาคท่ี 2 กองทัพภาคท่ี 3 และกองทัพภาคท่ี 4 มีอํานาจหนาท่ี รวมท้ังปกครองมณฑลทหารบกตามท่ีกําหนด 2. รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตอํานาจศาลมณฑลทหาร พ.ศ. .... 2.1 กําหนดใหยกเลิกพระราชกฤษฎีกําหนดเขตอํานาจศาลจังหวัดทหารและศาลมณฑลทหาร พ.ศ. 2533 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม 2.2 กําหนดใหศาลมณฑลทหารบกแตละแหงมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีกําหนด 2.3 กําหนดบทเฉพาะกาลเก่ียวกับอํานาจในการพิจารณาคดีท่ีคางพิจารณาของศาลมณฑลทหารบกและศาลจังหวัดทหารบก เขตอํานาจของศาลในระหวางท่ีศาลมณฑลทหารบกยังไมเปดทําการ และบทบัญญัติแหงกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ หรือคําสั่งท่ีเก่ียวของกับศาลจังหวัดทหารบก 3. รางกฎกระทรวงกําหนดสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคและเขตพ้ืนท่ีของมณฑลทหารบก พ.ศ. .... 3.1 กําหนดใหยกเลิกกฎกระทรวงกําหนดสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคและเขตพ้ืนท่ีของมณฑลทหารบกและจังหวัดทหารบก พ.ศ. 2552 3.2 กําหนดใหมณฑลทหารบกแตละแหงตามท่ีกําหนดเปนสวนราชการท่ีข้ึนตอกองทัพภาคท่ี 1 กองทัพภาคท่ี 2 กองทัพภาคท่ี 3 และกองทัพภาคท่ี 4 3.3 กําหนดใหมณฑลทหารบกแตละแหงมีเขตพ้ืนท่ีและหนาท่ีตามท่ีกําหนด

Page 11: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

11

3.4 กําหนดบทเฉพาะกาลเก่ียวกับบทบัญญัติแหงกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งท่ีอางถึงจังหวัดทหารบก หรือบทบัญญัติแหงกฎหมายฯ อางถึงมณฑลทหารบกตามท่ีกําหนด 9. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทํางาน (องคการมหาชน) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (องคการมหาชน) พ.ศ. .... ท่ีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจพิจารณา ตามท่ีกระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ และใหดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา

1. กําหนดใหมีการจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางานข้ึนเปนองคการมหาชนตามกฎหมายวาดวยองคการมหาชน

2. กําหนดการจัดตั้ง วัตถุประสงค และอํานาจหนาท่ีของสภาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (องคการมหาชน)

3. กําหนดลักษณะของทุน รายได และทรัพยสินในการดําเนินกิจการ 4. กําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารสถาบันสงเสริมความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ

สภาพแวดลอมในการทํางาน เพ่ือบริหารและดําเนินกิจการใหเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว 5. กําหนดผูปฏิบัติงานของสถาบัน 6. กําหนดลักษณะการจัดทําการบัญชี การตรวจสอบ และการประเมินผลงานของสถาบัน 7. กําหนดใหรัฐมนตรีมีอํานาจหนาท่ีกํากับดูแลการดําเนินกิจการของสถาบันใหเปนไปตาม

กฎหมาย 10. เรื่อง รางประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง การนํามันฝรั่ง หอมหัวใหญ กระเทียม ลําไยแหง พริกไทย และเมล็ดพันธุหอมหัวใหญ เขามาในราชอาณาจักรตามความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการรางประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง การนํามันฝรั่ง หอมหัวใหญ กระเทียม ลําไยแหง พริกไทย และเมล็ดพันธุหอมหัวใหญ เขามาในราชอาณาจักรตามความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. ....ตามท่ีกระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ และใหสงคณะกรรมการตรวจสอบรางกฎหมายและ รางอนุบัญญัติท่ีเสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณาเปนเรื่องดวน แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางประกาศ กําหนดใหขยายระยะเวลาการนําเขาสินคามันฝรั่งภายใตความตกลงเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) จากเดิมกําหนดระยะเวลาการนําเขาชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม เปน ใหนําเขาชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ตั้งแตป 2558 เปนตนไป โดยใหประกาศกระทรวงพาณิชยตามท่ีเสนอนี้มีผลบังคับใชภายในวันท่ี 8 เมษายน 2558 เพ่ือใหกรมการคาตางประเทศออกประกาศกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขในการขอและการออกหนังสือรับรอง เพ่ือใหผูนําเขาสามารถนําเขาไดตั้งแตวันท่ี 1 พฤษภาคม 2558 เปนตนไป 11. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตท่ีดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืน เพ่ือขยายทางหลวงแผนดินหมายเลข 1152 สายแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020-บรรจบทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020 (ตาตลาด) ท่ีบานหัวดอย บานผางาม บานรองหา บานสบเปา และเพ่ือสรางทางหลวงแผนดินหมายเลข 1421 สายหัวดอย-บานใหมพัฒนา พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตท่ีดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืน เพ่ือขยายทางหลวงแผนดินหมายเลข 1152 สายแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020-บรรจบทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020 (ตาตลาด) ท่ีบานหัวดอย บานผางาม บานรองหา บานสบเปา และเพ่ือสรางทางหลวงแผนดิน

Page 12: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

12

หมายเลข 1421 สายหัวดอย-บานใหมพัฒนา พ.ศ. .... ตามท่ีกระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา กําหนดเขตท่ีดินในบริเวณท่ีท่ีจะเวนคืน เพ่ือขยายทางหลวงแผนดินหมายเลข 1152 สายแยกทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020-บรรจบทางหลวงแผนดินหมายเลข 1020 (ตาตลาด) ท่ีบานหัวดอย บานผางาม บานรองหา บานสบเปา และเพ่ือสรางทางหลวงแผนดินหมายเลข 1421 สายหัวดอย-บานใหมพัฒนา ในทองท่ีตําบลทาสาย อําเภอเมืองเชียงราย ตําบลเวียงชัย ตําบลดอนศิลา ตําบลผางาม อําเภอเวียงชัย ตําบลแมเปา ตําบลเม็งราย อําเภอพญาเม็งราย ตําบลยางฮอม อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย มีสวนกวางท่ีสุดเการอยเมตร และสวนแคบท่ีสุด สี่รอยเมตร

เศรษฐกิจ-สังคม 12. เรื่อง รางยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรางยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 ตามความเห็นของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ตามท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) เสนอ รางยุทธศาสตรการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเชิงบูรณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 ประกอบดวย วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย ยุทธศาสตรและมาตรการ และแผนปฏิบัติการภายใต 6 ยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 การเสริมสรางความเขมแข็งในการควบคุมการนําเขา – สงออก มีหนวยงานหลักในการดําเนินการ คือ ทส. และหนวยงานสนับสนุน ไดแก กระทรวงการคลัง (กค.) และกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) ยุทธศาสตรท่ี 2 การสนับสนุนการผลิตและการเลือกซ้ือผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีหนวยงานหลักในการดําเนินการ ไดแก อก. กค. ทส. สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และหนวยงานสนับสนุน ไดแก อก. สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.) สถาบันการศึกษา หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบของภาคเอกชน ทุกภาคสวน และทุกกระทรวง ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาระบบฐานขอมูลปริมาณซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มีหนวยงานหลักในการดําเนินการไดแก ทส.กระทรวงพาณิชย (พณ.) อก. และหนวยงานสนับสนุน ไดแก กระทรวงมหาดไทย (มท.) และสถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาปรับปรุงกลไกการคัดแยก เก็บรวบรวม และขนสงซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มีหนวยงานหลักในการดําเนินการ คือ ทส. และหนวยงานสนับสนุน ไดแก อก. มท. กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) และผูประกอบการท่ีเก่ียวของ ยุทธศาสตรท่ี 5 การเสริมสรางขีดความสามารถของโรงงานคัดแยกและรีไซเคิลซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสท่ีไดจากระบบคัดแยก เก็บรวบรวม และขนสง ไปจัดการอยางครบวงจรและปลอดภัยตอส่ิงแวดลอม มีหนวยงานหลักในการดําเนินการ ไดแก อก. กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.) สธ. และหนวยงานสนับสนุน ไดแก ทส. มท. สมาคมอธิการบดแีหงประเทศไทย กองบังคับการปราบปรามการกระทําผิดเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (บก.ปทส.) และหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ ยุทธศาสตรท่ี 6 การสงเสริมความตระหนักและความรูเกี่ยวกับการจัดการซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสดานการใชทรัพยากรอยางคุมคา อยางเปนระบบและตอเนื่อง มีหนวยงานหลักในการดําเนินการ ไดแก วท. ทส. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหนวยงานสนับสนุน ไดแก ศธ. ทุกภาคสวน และทุกหนวยงาน

Page 13: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

13

13. เรื่อง แผนแมบทและบรรเทาภัยแลง คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ) ประธานกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เสนอ ดังนี ้ 1. อนุมัติแผนแมบทปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแลงเพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการปองกันและแกไขปญหาและบริหารจัดการภัยแลง และเปนแผนสนับสนุนแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ. 2558 2. ใหกระทรวง กรม จังหวัด อําเภอ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ภาคเอกชน มูลนิธิ และองคกรการกุศล ถือปฏิบัติตามแผนแมบทปองกันและบรรเทาภัยแลง สาระสําคัญของเรื่อง 1. สถานการณภัยแลงและภาวะฝนทองชวงในหลายพ้ืนท่ีของประเทศไทยในปจจุบันมีแนวโนมท่ีจะเกิดข้ึนเร็ว ยาวนาน และมีความรุนแรงมากกวาปท่ีผานมา จากขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาท่ีรายงานวาปริมาณน้ําฝนสะสมป 2557 ต่ํากวาคาปกติอยางมากเม่ือเทียบกับป 2556 ประกอบกับกรมชลประทานไดสรุปสถานการณน้ําในอางเก็บน้ําขนาดใหญและขนาดกลางป 2557 นอยกวาป 2556 ถึง 5,310 ลานลูกบาศกเมตร ซ่ึงเหตุการณดังกลาวจะสงผลกระทบตอประชาชนชาวไทยเปนอยางมาก กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจึงไดจัดทําแผนแมบทปองกันและบรรเทาภัยแลงข้ึนเพ่ือใหทุกภาคสวนนําไปใชบริหารจัดการภัยแลงไดอยางเปนระบบ และมีประสิทธิภาพ 2. แผนแมบทปองกันและบรรเทาภัยแลงฉบับนี้จะเปนแผนแมบทเพ่ือจัดการภัยแลงของประเทศไทยท่ีสามารถใชเปนมาตรการและแนวทางในการปองกันและแกไขปญหาภัยแลงระดับประเทศไดอยางเปนรูปธรรมและยั่งยืนในขณะท่ีสถานการณภัยแลงในปจจุบันยิ่งทวีความรุนแรงและสรางความเสียหายตอประเทศเพ่ิมมากข้ึน โดยแผนแมบทปองกันและบรรเทาภัยแลง มีสาระสําคัญสรุปได ดังนี้ แผนระยะ 5 ป ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร 19 มาตรการ 49 กิจกรรมหลัก ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 การเตรียมการปองกันและลดผลกระทบ ประกอบดวย 7 มาตรการ 18 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 1 การพัฒนาระบบคาดการณและเฝาระวังเพ่ือการเตือนภัยแลง มี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 2 การจัดทําแผนท่ีพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยแลงและพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยซํ้าซาก มี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 3 การพัฒนาระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทสเพ่ือการจัดการภัยแลง มี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 4 การสรางระบบเครือขายอาสาสมัครและฐานขอมูลเครือขาย มี 1 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 5 การพัฒนาแหลงน้ําท่ีเหมาะสมกับสภาพทรัพยากน้ําภูมิประเทศ เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอม (ดานการเพ่ิมปริมาณน้ําตนทุน) มี 5 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 6 การปรับปรุงประสิทธิผลของกลุมผูใชน้ํา (ดานความตองการน้ํา) มี 3 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 7 การลดผลกระทบและความเสียหายจากปญหาภัยแลง มี 3 กิจกรรมหลัก ยุทธศาสตรท่ี 2 การเตรียมพรอมรับภัย ประกอบดวย 4 มาตรการ 11 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 1 การเตรียมพรอมสําหรับการจัดหาน้ําเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัยแลง มี 3 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 2 การจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแลงมี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 3 จัดตั้งหนวยฝกอบรมและหนวยบรรเทาทุกขใหความรูผูประสบภัยแลง มี 3 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 4 การสงเสริมการเรียนรูในเรื่องการจัดการภัยแลงในสถานศึกษา สถานประกอบการและพ้ืนท่ีท่ีเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง มี 3 กิจกรรมหลัก ยุทธศาสตรท่ี 3 การจัดการในภาวะฉุกเฉิน ประกอบดวย 4 มาตรการ 11 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 1 การจัดตั้งศูนยบัญชาการเหตุการณทุกระดับ มี 4 กิจกรรมหลัก

Page 14: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

14

มาตรการท่ี 2 การเชื่อมโยงระบบติดตอสื่อสารระหวางหนวยงานใหใชงานไดตลอดเวลา มี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 3 การสนธิกําลังเขาชวยเหลือและควบคุมเหตุการณมี 3 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 4 การประชาสัมพันธ มี 2 กิจกรรมหลัก ยุทธศาสตรท่ี 4 การจัดการหลังการเกิดภัย ประกอบดวย 4 มาตรการ 9 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 1 การใหความชวยเหลือและสงเคราะหผูประสบภัยมี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 2 การรายงานและติดตามประเมินผล มี 3 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 3 การเรียนรูจากสถานการณภัยแลงท่ีเกิดข้ึนมี 2 กิจกรรมหลัก มาตรการท่ี 4 การจัดทําแผนท่ีฟนฟูความม่ันคงของมนุษย ท้ังดานการมีงานทํา คุณภาพชีวิต และสภาพจิตใจ มี 2 กิจกรรมหลัก 14. เรื่อง การจัดการแขงขันกีฬาฟุตซอลคนหูหนวกชิงแชมปโลก ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (กก.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบการเปนเจาภาพจัดการแขงขันฯ ระหวางวันท่ี 20 – 28 พฤษจิกายน 2558 ณ กรุงเทพมหานคร เพ่ือเปนการรักษาภาพลักษของประเทศไทยในเรื่องการเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาระดับนานาชาติ เปนการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลดานการสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการทองเท่ียว 2. ใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาทบทวนขอเสนอในสวนของโครงสรางองคกรบริหารการแขงขันฯ ใหมีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน โดยหากประสงคจะเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือใหมีมติแตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการจัดการแขงขันฯ ใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาจัดทําองคประกอบและอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการดังกลาวใหชัดเจน กอนนําเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง 3. เห็นชอบใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาจัดทํารายละเอียดงบประมาณเพ่ือใชในการเปนเจาภาพจัดการแขงขันฯ โดยใหระบุวงเงินและแหลงท่ีมาของงบประมาณใหชัดเจน แลวนําเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง 15. เรื่อง ขออนุมัติโครงการและการกูเงินสําหรับโครงการเงินกูเพ่ือการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน : มาตรการกระตุนเศรษฐกิจระยะท่ี 2 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติใหดําเนินโครงการเงินกูเพ่ือการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน ภายใตกรอบวงเงิน 78,294.85 ลานบาท และในกรณีโครงการใดตองดําเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายและระเบียบใด ใหหนวยงานเจาของโครงการดําเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของโดยเครงครัดดวย ท้ังนี้ ใหหนวยงานเจาของโครงการสามารถเริ่มดําเนินกระบวนการจัดหาพัสดุไดทันทีหลังจากท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติใหดําเนินการโครงการ แตจะลงนามในสัญญาไดเม่ือไดรับการจัดสรรวงเงินกูจากสํานักงบประมาณ (สงป.) แลว 2. อนุมัติให กค. กูเงินตราตางประเทศเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในกรอบวงเงินไมเกิน 80,000 ลานบาท ตามมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม และถาภาวะตลาดการเงินในประเทศเอ้ืออํานวยและจะเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการเงิน การคลัง และตลาดทุน กค. สามารถกูเปนเงินบาทแทนการกูเงินตราตางประเทศก็ได และอนุมัติใหจัดสรรเงินกูเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือใชในการดําเนินโครงการตามขอ 1 3. เห็นชอบรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารโครงการเงินกูเพ่ือการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และระบบขนสงทางถนนระยะเรงดวน พ.ศ. ....

Page 15: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

15

4. มอบหมายใหสํานักงบประมาณ (สงป.) เปนผูพิจารณาใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายเงินกู และจัดสรรเงินกูตามกรอบวงเงินท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 9 (1) พิจารณากําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 11 พิจารณากําหนดวงเงินกูสํารองจาย รวมท้ังวิธีการ ข้ันตอน และเง่ือนไขในการจัดสรรเงินสํารองจายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 15 รวมท้ังการอนุมัติการใชเงินเหลือจายเพ่ือเปนเงินชดเชยคางานกอสราง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 16 5. มอบหมายให สงป. พิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2559 เพ่ือเปนคาดอกเบี้ยท่ีเกิดข้ึนจากการกูเงินเพ่ือดําเนินโครงการเงินกูเพ่ือการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงาน โดยคาดการณวาในป 2558 เศรษฐกิจไทยจะเริ่มฟนตัว โดยมีแนวโนมขยายตัวในอัตรารอยละ 3.5 – 4.5 อยางไรก็ดี การเติบโตของเศรษฐกิจไทยยังมีปจจัยเสี่ยงจากราคาสินคาเกษตร ซ่ึงเปนขอจํากัดตอการขยายตัวของการบริโภคของภาคครัวเรือน รวมถึงความไมแนนอนของการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกและความผันผวนของตลาดการเงินโลก อาจสงผลใหการสงออกฟนตัวลาชากวาการคาดการณ การดําเนินนโยบายการคลังจึงยังมีความจําเปนในการสนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศเติบโตไดตามเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในประเทศผานการลงทุนในโครงสรางพ้ืนฐานของภาครัฐ ซ่ึงโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 30 ธันวาคม 2557 และวันท่ี 3 มีนาคม 2558 เปนโครงการขนาดกลางและขนาดเล็ก มีพ้ืนท่ีดําเนินการกระจายในภูมิภาค และมีความพรอมสามารถดําเนินการไดทันที ในปงบประมาณ 2558 ดังนั้น จึงเห็นควรดําเนินการโดยเร็วเพ่ือสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพ่ือใหการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 16. เรื่อง ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับคาครองชีพ (กุมภาพันธ พ.ศ. 2558) คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับคาครองชีพ (กุมภาพันธ พ.ศ. 2558) ตามท่ีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ทก.) เสนอ ดังนี้ สาระสําคัญของเรื่อง ทก. โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ ไดทําการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับคาครองชีพ ในชวงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2558 โดยใหประชาชนไดมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น และสะทอนปญหา และผลกระทบท่ีไดรับจากภาวะคาครองชีพในปจจุบัน ขอมูลท่ีไดจะสะทอนใหรัฐบาลและหนวยงานท่ีเก่ียวของนําไปใชเปนแนวทางในการวางแผน และกําหนดนโยบายในการแกไขปญหาใหกับประชาชนไดอยางแทจริง โดยทําการสํารวจประชาชนท่ีมีอายุ 18 ปข้ึนไปท่ัวประเทศ ซ่ึงมีประชาชนถูกเลือกเปนตัวอยางท้ังสิ้นจํานวน 5,800 ราย เก็บรวบรวมขอมูลระหวางวันท่ี 7–9 กุมภาพันธ 2558 สาระสําคัญไดดังนี้ 1. ชวงเดือนกุมภาพันธ 2558 ในภาวะท่ีน้ํามันมีราคาลดลง เม่ือเทียบกับชวงท่ีน้ํามันมีราคาแพง พบวา ครัวเรือนรอยละ 52.0 มีรายไดพอดีกับคาใชจาย มีเพียงรอยละ 12.3 เทานั้น ท่ีมีรายไดมากกวาคาใชจาย ขณะท่ีมีครัวเรือนประมาณ 1 ใน 3 ท่ีมีรายไดนอยกวาคาใชจาย (รอยละ 35.7) ซ่ึงในจํานวนนี้มีวิธีแกปญหารายไดนอยกวาคาใชจาย โดยการกูหรือยืมเงินท้ังเสียดอกเบี้ยและไมเสียดอกเบี้ยมากกวาวิธีอ่ืน โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนครัวเรือนท่ีมีรายไดนอยกวาคาใชจายสูงกวาภาคอ่ืน (รอยละ 41.3) ขณะท่ีภาคอ่ืนมีประมาณ 1 ใน 3 เทานั้น 2. เม่ือสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับราคาสินคาอุปโภค-บริโภคโดยภาพรวม ในชวงเดือนกุมภาพันธ 2558 หลังจากราคาน้ํามันลดลงคอนขางมาก เทียบกับชวงท่ีน้ํามันมีราคาแพง ประชาชนสวนใหญเห็นวาสินคามีราคาเทาเดิม รอยละ 59.8 มีเพียงรอยละ 7.6 เทานั้นท่ีเห็นวามีราคาถูกลง สวนผูท่ีเห็นวาสินคาราคาแพงข้ึนมีรอยละ 32.6 ซ่ึงในจํานวนนี้มีการตัดสินใจในการซ้ือสินคา โดยการใชจายอยางระมัดระวัง ซ้ือเทาท่ีจําเปนมากกวาวิธีอ่ืน

Page 16: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

16

โดยประชาชนในกรุงเทพมหานคร เห็นวาสินคาอุปโภค-บริโภคโดยภาพรวมมีราคาแพงข้ึนในสัดสวนท่ีสูงกวาภาคอ่ืน (รอยละ 49.1) รองลงมาไดแก ภาคกลาง (รอยละ 36.7) และภาคใต (รอยละ 36.6) สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ มีรอยละ 24.0 และ 22.6 ตามลําดับ 3. ในชวงเดือนกุมภาพันธ 2558 ท่ีน้ํามันมีราคาลดลง ประชาชนสวนใหญยังรูสึกวาสินคาตางๆ ยังมีราคาเทาเดิมไมแตกตางจากชวงท่ีน้ํามันมีราคาแพง สวนผูท่ีเห็นวาสินคามีราคาถูกลงมีสัดสวนนอยกวาผูท่ีเห็นวาสินคามีราคาแพงข้ึน โดยสินคาท่ีประชาชนเห็นวามีราคาแพงข้ึน 3 อันดับแรก คือ ผลไม (รอยละ 41.9) อาหารทะเล (รอยละ 39.8) และอาหารตามสั่ง (รอยละ 38.4) ท้ังนี้ ประชาชนเห็นวาสินคาท่ีมีราคาแพงข้ึน 3 อันดับแรก ระบุวาไดรับผลกระทบ ดังนี้ 3.1 ผลไม ประชาชนท่ีเห็นวาผลไมมีราคาแพงข้ึน (รอยละ 41.9) ซ่ึงในจํานวนนี้ไดรับผลกระทบมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 15.8 ปานกลางรอยละ 17.7 และนอยถึงนอยท่ีสุดรอยละ 7.5 มีเพียงรอยละ 0.9 ท่ีไมไดรับผลกระทบ 3.2 อาหารทะเล เชน กุง ปลาหมึก หอย ฯลฯ ประชาชนท่ีเห็นวาอาหารทะเลมีราคาแพงข้ึน (รอยละ 39.8) ซ่ึงในจํานวนนี้ไดรับผลกระทบมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 12.8 ปานกลางรอยละ 16.4 และนอยถึงนอยท่ีสุดรอยละ 9.4 มีเพียงรอยละ 1.2 ท่ีไมไดรับผลกระทบ 3.3 อาหารตามส่ัง ประชาชนท่ีเห็นวาอาหารตามสั่งมีราคาแพงข้ึน (รอยละ 38.4) ซ่ึงในจํานวนนี้ไดรับผลกระทบมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 16.7 ปานกลางรอยละ 14.9 และนอยถึงนอยท่ีสุดรอยละ 6.2 มีเพียงรอยละ 0.6 ท่ีไมไดรับผลกระทบ 4. สินคาท่ีประชาชนตองการใหภาครัฐเขามาดูแลควบคุมราคาอยางเรงดวน 5 เรื่องแรก คือ เนื้อหมู (รอยละ 43.6) ขาวสาร (รอยละ 43.1) น้ํามันท่ีไดจากพืช เชน น้ํามันปาลม ถ่ัวเหลือง ฯลฯ (รอยละ 22.0) อาหารตามสั่ง (รอยละ 20.6) และปุยเคมี (รอยละ 19.6) ขณะท่ีสินคาอ่ืน มีไมเกินรอยละ 16 เชน ไขไก กับขาวสําเร็จรูป (ใสถุง) อาหารทะเล เปนตน โดยประชาชนเกือบทุกภาคตองการใหภาครัฐเขามาดูแลควบคุมราคาขาวสารมากกวาสินคาประเภทอ่ืน ยกเวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตองการใหดูแลควบคุมราคาเนื้อหมูมากกวาสินคาประเภทอ่ืน 5. ในชวงเดือนกุมภาพันธ 2558 ท่ีน้ํามันมีราคาลดลง ประชาชนมากกวาครึ่งระบุวามีคาใชจายในการเดินทางในชีวิตประจําวันเทาเดิมไมแตกตางจากชวงท่ีน้ํามันมีราคาแพง (รอยละ 61.4) และมีประมาณ 1 ใน 3 ระบุวาคาใชจายลดลงกวาเดิม (รอยละ 35.8) มีเพียงรอยละ 2.8 เทานั้น ท่ีระบุวาคาใชจายเพ่ิมข้ึน โดยคาใชจายในการเดินทางในปจจุบันของประชาชนในทุกภาคสวนใหญเทาเดิม ไมแตกตางจากชวงท่ีน้ํามันมีราคาแพง ท้ังนี้ผูท่ีเห็นวาคาใชจายในการเดินทางลดลง มีสัดสวนสูงกวาผูท่ีระบุวาคาใชจายเพ่ิมข้ึน ซ่ึงพบไดในทุกภาค 6. การใหบริการรถโดยสารประจําทาง ไมปรับอากาศฟรี เปนมาตรการท่ีภาครัฐให ขสมก. จัดรถโดยสารประจําทางธรรมดา หรือรถรอน เพ่ือใหบริการประชาชนฟรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เม่ือสอบถามประชาชน พบวา สวนใหญไมเคยใชบริการดังกลาวเลย (รอยละ 89.1) มีเพียงรอยละ 10.9 เทานั้นท่ีใชบริการ โดยผูท่ีใชบริการระบุวาสามารถลดคาใชจายไดเฉลี่ย 204 บาทตอเดือน โดยประชาชนในกรุงเทพมหานคร และภาคกลางใชบริการรถโดยสารประจําทาง ไมปรับอากาศฟรีสูงกวาภาคอ่ืน คือ รอยละ 49.0 และ 10.2 ตามลําดับ ขณะท่ีภาคอ่ืนมีนอยกวารอยละ 3 7. ประชาชนรอยละ 97.7 ระบุวาพึงพอใจตอมาตรการใหบริการรถโดยสารประจําทาง ไมปรับอากาศฟรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (โดยในจํานวนนี้มีความพึงพอใจมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 58.2 ปานกลางรอยละ 34.3 และนอยถึงนอยท่ีสุดรอยละ 5.2) สวนผูท่ีไมพึงพอใจเลยมีเล็กนอย (รอยละ 2.3) 8. การใหบริการรถไฟช้ัน 3 ไมปรับอากาศฟรี เปนมาตรการท่ีภาครัฐใหการรถไฟแหงประเทศไทยจัดรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรีไวบรกิารประชาชนท่ัวประเทศ โดยเปนขบวนรถชานเมือง รถธรรมดา และรถรวม เม่ือสอบถามประชาชน พบวา สวนใหญไมเคยใชบริการดังกลาวเลย (รอยละ 94.4) มีเพียงรอยละ 5.6 ท่ีใชบริการ โดยผูท่ีใชบริการระบุวาสามารถลดคาใชจายไดเฉลี่ย 251 บาทตอเดือน

Page 17: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

17

โดยประชาชนในกรุงเทพมหานครใชบริการรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรีสูงกวาภาคอ่ืน (รอยละ 9.3) รองลงมาไดแก ภาคใต (รอยละ 7.8) ภาคกลาง (รอยละ 5.1) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 5.1) ขณะท่ีภาคเหนือมีนอยกวาภาคอ่ืน (รอยละ 2.5) 9. ประชาชนรอยละ 98.0 ระบุวาพึงพอใจตอมาตรการใหบริการรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี ท่ัวประเทศ (โดยในจํานวนนี้มีความพึงพอใจมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 59.5 ปานกลาง รอยละ 33.8 และนอยถึง นอยท่ีสุดรอยละ 4.7) สวนผูท่ีไมพึงพอใจเลยมีเล็กนอย (รอยละ 2.0) 10. ตามท่ีรัฐบาลมีแนวทางท่ีจะกําหนดมาตรการใหบริการรถโดยสารประจําทาง (ขสมก.) ไมปรับอากาศฟรีในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมท้ังการใหบริการรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี ท่ัวประเทศ ใหกับกลุมประชาชนท่ีมีรายไดนอย เชน นักเรียน/นักศึกษา ผูสูงอายุ คนพิการ ฯลฯ ผลสํารวจ พบวา ประชาชนสวนใหญเห็นดวยกับมาตรการดังกลาว (รอยละ 94.3) มีเพียงรอยละ 5.7 ท่ีไมเห็นดวย ซ่ึงในจํานวนนี้ใหเหตุผลวาควรใหบริการกับประชาชนทุกกลุม ไมควรจํากัดเฉพาะกลุมใดกลุมหนึ่ง 11. ตามท่ีรัฐบาลไดดําเนินการแกปญหาคาครองชีพของประชาชน เชน การลดราคาน้ํามัน การใหบริการรถโดยสารประจําทางหรือรถไฟชั้น 3 ไมปรับอากาศฟรี การจําหนายสินคาในงานธงฟาราคาประหยัด ฯลฯ ผลสํารวจ พบวา ประชาชนรอยละ 99.9 ระบุวาพึงพอใจ (โดยในจํานวนนี้มีความพึงพอใจมากถึงมากท่ีสุดรอยละ 74.2 ปานกลางรอยละ 23.5 และนอยถึงนอยท่ีสุดรอยละ 2.2) สวนผูท่ีไมพึงพอใจเลยมีเล็กนอย (รอยละ 0.1) เม่ือพิจารณาเปนรายภาค พบวา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความพึงพอใจตอการดําเนินงานของรัฐบาลในการแกปญหาคาครองชีพอยูในระดับมากถึงมากท่ีสุด ในสัดสวนท่ีสูงกวาภาคอ่ืน (รอยละ 78.6) รองลงมาไดแก ภาคใต (รอยละ 76.6) ภาคเหนือ (รอยละ 76.0) และภาคกลาง (รอยละ 70.8) ขณะท่ีกรุงเทพมหานครมีรอยละ 68.7 12. ประชาชนไดใหขอเสนอแนะแนวทางการแกปญหาคาครองชีพในปจจุบัน(กุมภาพันธ 2558) ท่ีสําคัญ ดังนี้ 1) รัฐบาลควรเขามาดูแล ควบคุมราคาสินคาอยางจริงจัง (รอยละ 80.9) 2) หนวยงานภาครัฐควรจัดมหกรรมสินคาราคาถูก เชน ธงฟาราคาประหยัด ฯลฯ (รอยละ 40.0) 3) การใชกฎหมายลงโทษกับพอคา/แมคาท่ีขายสินคาเกินราคา (รอยละ 36.3) 4) การควบคุมราคาสินคาท่ีเก่ียวของกับทางการเกษตรใหถูกลง เชน ปุย ยาฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืช ฯลฯ (รอยละ 33.8) และ 5) ขอเสนอแนะอ่ืน (รอยละ 1.7) เชน การสนับสนุนใหบริโภคสินคาเกษตรของไทย การปรับเงินเดือนใหสอดคลองกับคาครองชีพในปจจุบัน เม่ือพิจารณาเปนรายภาค พบวา ประชาชนมากกวารอยละ 70 ในทุกภาคตองการใหรัฐบาลเขามาดูแลควบคุมราคาสินคาอยางจริงจังมากกวาเรื่องอ่ืน 17. เรื่อง โครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SME คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการโครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium : SMEs) ตามท่ีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ) ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตรของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (กขย.) เสนอ สาระสําคัญของเรื่อง กขย. รายงานวา ไดจัดประชุม กขย. ครั้งท่ี 5/2558 เม่ือวันอังคารท่ี 10 มีนาคม 2558 โดยมีพลเอกประวิตร วงษสุวรรณ เปนประธานการประชุม ซ่ึงท่ีประชุมไดมติเห็นชอบใหนําโครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs เสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาตอไป ซ่ึงโครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs ประกอบดวย 5 โครงการยอย และ 5 มาตรการ ดังนี้ 1. โครงการสินเช่ือดอกเบ้ียต่ํา (Policy Loan) เพ่ือชวยเหลือประคับประคองผูประกอบการ SMEs ขนาดเล็กท่ีประสบปญหาขาดสภาพคลอง ใหสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนไดในชวงท่ีเศรษฐกิจยังไมฟนตัว และสถาบันการเงินเอกชนชะลอการปลอยสินเชื่อ และสงเสริมผูประกอบการ SMEs ขนาดเล็กท่ีพอจะมีศักยภาพ จําเปนตองปรับปรุงกิจการ เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน เพ่ือใหสามารถกาวขามวัฏจักรข้ึนเปนขนาดกลาง และเพ่ือรองรับ

Page 18: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

18

การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community : AEC) สามารถขยายธุรกิจเขาสูตลาด AEC ได เปนการสรางเครดิตใหแกผูประกอบการ SMEs ในการมีสถาบันการเงินของรัฐเปนผูใหการสนับสนุน 2. โครงการ Machine Fund เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และกระบวนการผลิตใหแก SMEs โดยการปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงเครื่องจักร ใหมีประสิทธิภาพ รองรับการแขงขันทางการตลาดท่ีรุนแรงข้ึน และการขาดแคลนแรงงานในอนาคต และเพ่ือให SMEs สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนท่ีมีอัตราดอกเบี้ยต่ํา 3. มาตรการใหสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ (Specialized Financial Institutions : SFIs) สามารถผอนปรนการวิเคราะหสินเชื่อใหกับ SMEs ท่ีติด Blacklist กับเครดิตบิวโร (บริษัท ขอมูลเครดิต จํากัด) เพ่ือให SFIs อ่ืนท่ีเขารวม สามารถปลอยสินเชื่อใหกับผูประกอบการ SMEs ท่ีมีประวัติ Black List ในเครดิตบิวโรได โดยพิจารณาจากความตั้งใจของผูประกอบการ สถานะ และการประกอบธุรกิจในปจจุบันของผูประกอบการ SMEs 4. มาตรการผอนปรนการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ(คนร.) วันท่ี 17 ธ.ค.57 โดยใหธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) ปลอยกูแกลูกคา ซ่ึงไดขอวงเงินสินเชื่อเพ่ิมข้ึน และทําใหวงเงินใหมเกิน 15 ลานบาท (กอนวันท่ี คนร. มีมติหาม) เปนไมเกิน 50 ลานบาทตอราย และ ลูกคารายใหมท่ีมีศักยภาพไมเกิน 50 ลานบาทตอรายเชนเดียวกัน เพ่ือบรรเทาความเดือดรอนใหแกผูประกอบการ SMEs ใหสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนในชวงท่ีเศรษฐกิจยังไมฟนตัว 5. มาตการเพ่ิมวงเงินท่ีรัฐบาลชําระคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเช่ือแทน SMEs ในปแรกท่ีให บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) คํ้าประกันสินเชื่อผานโครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะท่ี 5 เพ่ิมอีกจํานวน 50,000 ลานบาท เพ่ือชวยให SMEs สามารถไดรับสินเชื่อในระบบสถาบันการเงินไดเพียงพอตอการดําเนินธุรกิจ และชวยใหเกิดสภาพคลองทางการเงิน และมีการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจไทยมากข้ึน 6. มาตรการชะลอการโอนอํานาจจากกระทรวงการคลัง กรณีใหธนาคารแหงประเทศไทยกํากับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ (SFIs) ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 2 ธันวาคม 2557 ออกไปจนกวาเศรษฐกิจจะฟนตัว 7. มาตการทบทวนการกําหนดตัวช้ีวัด (Key Performance Indicator : KPI) ของ SFIs ใหสอดคลองกับพันธกิจโดยใหพัฒนาจากผลกําไรเปนตัวชี้วัดหลัก เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพใหกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ โดยมีตัวชี้วัดท่ีสอดคลองกับพันธกิจในการพัฒนาและใหความชวยเหลือแกประชาชนท่ัวไป เกษตรกร ผูประกอบการรายยอยหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) วิสาหกิจชุมชน ผูประกอบการ SMEs โดยไมพิจารณาจากผลกําไรเปนตัวชี้วัดหลัก 8. โครงการขยายสาขาธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) ใหครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ีเปนเขตเศรษฐกิจท่ีสําคัญ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจท่ีเติบโตในพ้ืนท่ีเศรษฐกิจภูมิภาคท่ีสําคัญ และเพ่ือใหกลุมผูประกอบการ SMEs สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนและบริการของ ธพว. ไดอยางสะดวก และประหยัดคาใชจาย 9. โครงการจัดตั้ง Website เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการจําหนายสินคา และบริการ SMEs รายยอย เพ่ือสรางชองทางการจัดจําหนายสินคาในประเทศไทยและในกลุม ASEAN+6 โดยเฉพาะ SMEs ขนาดเล็กและรายยอยใหเขาถึงผูซ้ือท้ังท่ีอยูในประเทศและตางประเทศไดโดยตรง และเพ่ือลดเวลาและคาใชจายในการจัดซ้ือจัดหาสินคาใหกับ SMEs และผูซ้ือ 10. โครงการศูนยใหบริการธรุกิจ SMEs แบบครบวงจร (SME.One-stop Service Center) เพ่ือจัดตั้งศูนยบริการ SMEs ครบวงจร เพ่ือกระจายการใหบริการสงเสริม SMEs ท้ังสวนกลางและภมิูภาคใหเขาถึงนโยบายรัฐบาลดานการสงเสริม SME แบบบูรณาการ ลดข้ันตอนระยะเวลาการบริการ และเพ่ือสนับสนุนการแกไข ปรับปรุง พัฒนาธุรกิจ SMEs ใหเขมแข็งยั่งยืนเปนกลไกทางเศรษฐกิจของประเทศอยางม่ันคง โครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs มีเปาหมายเพ่ือสงเสริมให SMEs สามารถเขาถึงแหลงเงินทุน เพ่ิมประสิทธิภาพในการใหบริการของภาครัฐ และเพ่ิมชองทางการจัดจําหนายสินคาและบริการของ SMEs ซ่ึงจะทําให SMEs มีความเขมแข็งและสงผลตอเศรษฐกิจในภาพรวม ดังนั้นจึงมีความ

Page 19: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

19

จําเปนท่ีจะตองดําเนินการ เพ่ือชวยเหลือ SMEs ในชวงเวลาท่ีเศรษฐกิจของประเทศยังไมฟนตัวใหสามารถยงัคงดําเนินกิจการตอไปไดโดยเรว็

ตางประเทศ 18. เรื่อง ขออนุมัติการจัดทําและลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการทองเท่ียวทางเรือระหวางไทยกับสิงคโปร คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (กก.) เสนอ ดังนี้

1. อนุมัติการจัดทําและลงนามรางบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการทองเท่ียวทางเรือ ระหวางไทยกับสิงคโปร ท้ังนี้ หากกอนลงนามมีความจําเปนตองปรับปรุงแกไขรางบันทึกความเขาใจฯ ในสวนท่ีไมใชสาระสําคัญ ใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาพิจารณาดําเนินการในเรื่องนั้น ๆ แทนคณะรัฐมนตรี โดยไมตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอีกครั้ง

2. อนุมัติใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (นางกอบกาญจน วัฒนวรางกูร) เปนผูลง นามในรางบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการทองเท่ียวทางเรือระหวางไทยกับสิงคโปร (โดยระบุตําแหนง) ในระหวางการเยือนสาธารณรัฐสิงคโปรและบรูไนดารุสซาลามอยางเปนทางการของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา) ระหวางวันท่ี 24-26 มีนาคม 2558

3. อนุมัติใหกระทรวงการตางประเทศจัดทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (Full Powers) ใหผูลงนามท่ีอาง ถึงขางตนในการลงนามบันทึกความเขาใจฯ สาระสําคัญของรางบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการทองเท่ียวทางเรือระหวางไทยกับสิงคโปรมี ดังนี้

1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกันกับผูประกอบการเรือสําราญเพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ การริเริ่มและการพัฒนาสาธารณูปโภคทางเรือ

2. สงเสริมแลกเปลี่ยนขอมูลความสนใจของอุตสาหกรรมการทองเท่ียวทางเรือของท้ังสองฝาย 3. สงเสริมการทองเท่ียวทางเรือ และการพัฒนา และ 4. สงเสริมกิจกรรมหรือความสนใจอ่ืนท่ีคูภาคีเห็นชอบรวมกันเปนลายลักษณอักษร

19. เรื่อง รางปฏิญญาทางการเมืองเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปของการประชุมระดับโลกวาดวยเรื่องสตรี ครั้งท่ี 4 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการรับรองรางปฏิญญาทางการเมืองเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปของการประชุมระดับโลกวาดวยเรื่องสตรี ครั้งท่ี 4 ระหวางวันท่ี 9 – 20 มีนาคม 2558 ณ นครนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกาตามท่ีกระการทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พม.) เสนอ สาระสําคัญของรางปฏิญญาทางการเมืองเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปของการประชุมระดับโลกวาดวยเรื่องสตรี ครั้งท่ี 4 สรุปได ดังนี้ 1. การยืนยันพันธกรณีตามปฏิญญาปกก่ิงและแผนปฏิบัติการเพ่ือความกาวหนาของสตรี และผลลัพธจากการประชุมสมัยพิเศษ ครั้งท่ี 23 ของสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ และปฏิญญาจากการประชุมคณะกรรมาธิการวาดวยสถานภาพสตรี ในวาระครบรอบปท่ี 10 และ 15 ของการประชุมโลกวาดวยสตรีครั้งท่ี 4 2. การยอมรับการดําเนินการตามปฏิญญาปกก่ิงและแผนปฏิบัติการเพ่ือความกาวหนาของสตรี และ การดําเนินการตามพันธกิจภายใตอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ ตางก็เอ้ือตอกันเพ่ือสงเสริมการบรรลุความเสมอภาคระหวางเพศและการเสริมพลังสตร ี 3. การยืนยันเจตจํานงทางการเมือง และขอใหคําม่ันในการแกปญหาความเหลื่อมล้ําและประเด็นทาทายตาง ๆ ขอแสดงเจตจํานงท่ีจะดําเนินการแกไขปญหาตาง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดยจะดําเนินการเพ่ือสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศในดานตาง ๆ ท้ังดานเจตคติของสังคม เศรษฐกิจ การสงเสริมการลงทุนเพ่ือสรางความ

Page 20: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

20

เสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริมภาวะผูนําสตรี และการสงเสริมสิทธิสตรี ตลอดจนเรงดําเนินการตามปฏิญญาปกก่ิงและแผนปฏิบัติการเพ่ือความกาวหนาของสตรี และผลลัพธจากการประชุมสมัยพิเศษ ครั้งท่ี 23 ของสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ โดยผานกลไกทางกฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร และกิจกรรมโครงการตาง ๆ เพ่ือสตรีและเด็กหญิง 4. การเรียกรองใหระบบองคกรสหประชาติดําเนินการอยางแข็งขันเพ่ือบรรลุการสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศและการเสริมพลังสตรี ผานทางขอบัญญัติตาง ๆ รวมท้ังการสงเสริมการบูรณาการมิติหญิงชาย การจัดสรรทรัพยากรและการสรางระบบท่ีตรวจสอบได รวมท้ังใหคําม่ันตอการเรียกรองใหผูเก่ียวของตาง ๆ รวมท้ังองคกรตาง ๆ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน สื่อมวลชน ภาควิชาการ และองคกรดานการวิจัย พรรคการเมือง เยาวชน รวมท้ังสตรี บุรุษและเด็กชาย มีสวนรวมในการเคลื่อนไหวเพ่ือการสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศและการเสริมพลังสตรี และสิทธิมนุษยชน 5. ตัดสินใจท่ีจะใชทุกโอกาสท่ีมีในป ค.ศ.2015 และปตอ ๆ ไป ในประเด็นดานการพัฒนาท่ียั่งยืน สันติภาพและความม่ันคง สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติการเพ่ือมนุษยชน ภาวะสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง เพ่ือลงมือปฏิบัติการอันจะสรางประวัติศาสตรในการสงเสริมความกาวหนาตอการบรรลุความเสมอภาคระหวางเพศและการเสริมพลังสตรีรวมท้ังสิทธิมนุษยชนของสตรีและเด็กหญิง รางปฏิญญาดังกลาวเปนการแสดงเจตนารมณรวมกันเพ่ือทบทวนและประเมินประเด็นทาทายท่ีสงผลกระทบตอการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปกก่ิงและโอกาสในการสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศและการเสริมพลังสตรีในวาระการพัฒนาภายหลังป ค.ศ.2015 ท้ังนี้ จากการศึกษารางปฏิญญาฯ ปรากฏวามิไดมีการใชถอยคําหรือบริบทใดท่ีเปนการแสดงเจตนาอันจะกอใหเกิดพันธกรณีทางกฎหมายระหวางประเทศระหวางกัน รวมถึงมติของการประชุมใชวิธีรับรอง (adopt) โดยไมมีการลงนาม ดังนั้น รางปฏิญญาฯ จึงไมเปนสนธิสัญญาตามกฎหมายระหวางประเทศ และไมเปนหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 20. เรื่อง การเขารวมเปนภาคีสมาชิกของไทยในทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหวางประเทศ (International Renewable Energy Agency : IRENA) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหกระทรวงพลังงาน (พน.) ยื่นใบสมัครเปนสมาชิกทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหวางประเทศ (International Renewable Energy Agency : IRENA) ตามท่ี พน.เสนอ ท้ังนี้ พน.พิจารณาแลวเห็นวา การเขารวมเปนภาคีสมาชิก IRENA จะเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับการเพ่ิมชองทางในการเขาถึงขอมูลขาวสาร วิชาการ เทคโนโลยี และเครือขายดานพลังงานหมุนเวียน รวมท้ังโอกาสความชวยเหลือในดานการศึกษาวิจัย และพัฒนาโครงการดานพลังงานหมุนเวียนในรูปของเงินทุน ผูเชี่ยวชาญ และรูปแบบอ่ืน ๆ เชน มีสิทธิขอรับเงินกูดอกเบี้ยต่ําจากกองทุน IRENA/ADFD เพ่ือการพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียน เปนตน นอกจากนี้การเขาเปนสมาชิก IRENA สามารถเขารวมในการประชุมใหญ ๆ เชน IRENA Assembly หรือ IRENA Conference ท่ีมีสิทธิ์ในการออกเสียงเสนอความเห็นในการขับเคลื่อนกิจกรรมตาง ๆ อีกท้ังการสงบุคลากรไทยไปประจําการในตําแหนงบริหารท่ีสําคัญของ IRENA ซ่ึงประเทศไทยสามารถใชเปนชองทางในการมีสวนรวมในการบริหารงานของ IRENA ได และการเขารวมเปนสมาชิกของ IRENA สามารถเสนอโครงการตาง ๆ ซ่ึงจะเปนประโยชนในบริบทการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศ 21. เรื่อง การสมัครของไทยเพ่ือเปนประเทศผูสังเกตการณของกลุมพันธมิตรแปซิฟก (Pacific Alliance) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการตางประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบการสมัครของไทยเพ่ือเปนประเทศผูสังเกตการณของกลุมพันธมิตรแปซิฟก (Pacific Alliance) 2. เห็นชอบใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศหรือผูท่ีไดรับมอบหมายเปนหัวหนาคณะผูแทนไทยในการประชุมคณะมนตรีของกลุมพันธมิตรแปซิฟกรวมท้ังการประชุมอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของท่ีประเทศผู สังเกตการณไดรับเชิญ

Page 21: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

21

3. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศเปนหนวยงานหลักในการประสานงานกับสวนราชการท่ีเก่ียวของของไทยเพ่ือประโยชนของไทยในฐานะประเทศผูสังเกตการณดังกลาว 22. เรื่อง ขอความเห็นชอบการเปนเจาภาพจัดการประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (สภาซีเมค) ครั้งท่ี 48 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติใหกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปนเจาภาพจัดการประชุมสภารัฐมนตรี ศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (สภาซีเมค) ครั้งท่ี 48 ระหวางวันท่ี 6 – 9 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรม Royal Cliff Hotels Group พัทยา จังหวัดชลบุรี ตามท่ี ศธ. เสนอ สาระสําคัญของเรื่อง ศธ. รายงานวา

1. การจัดประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือการประชุมสภาซีเมค (Southeast Asian Ministers of Education Council Conference: SEAMEC) จัดข้ึนทุกป ปละ 1 ครั้ง ผูเขาประชุมประกอบดวยรัฐมนตรีศึกษาของประเทศสมาชิก 11 ประเทศ คือ บรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม และติมอร เลสเต และสมาชิกสมทบ 8 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี นิวซีแลนด เนเธอรแลนด สเปน และสหราชอาณาจักร เพ่ือรวมวางนโยบายในการกําหนดกิจกรรมและโครงการตางๆ ของซีมีโอ โดยประเทศสมาชิกจะผลัดกันเปนเจาภาพจัดการประชุมในประเทศของตน

2. ท่ีประชุมสภาซีเมค ครั้งท่ี 46 มีมติเห็นชอบใหมีการขยายวาระการดํารงตําแหนงของ ประธานสภาซีเมค จากเดิม 1 ป เปน 2 ป จึงสงผลตอกําหนดการจัดประชุมสภาซีเมคเปนทุก 2 ป และไมประชุมคูขนานกับการประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียนอีกตอไป โดยเปนการจัดประชุมข้ึนในปท่ีวางเวน จากการประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน โดยในป 2556 เปนการประชุม ครั้งท่ี 47 ท่ีประเทศเวียดนาม และสาธารณรัฐสิงคโปรจะเปนเจาภาพจัดการประชุม ครั้งท่ี 48 สําหรับประเทศไทยจะเปนเจาภาพการจัดประชุมสภาซีเมค ในป 2564 ซ่ึงเปนการประชุมสภาซีเมค ครั้งท่ี 51 โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการของไทยจะทําหนาท่ีเปนประธานสภาซีเมค ระหวางป 2564 – 2565 3. ประเทศไทยเคยเปนเจาภาพจัดการประชุมดังกลาวแลว 7 ครั้ง (ครั้งที่ 9 ป 2517 ครั้งที่ 14 ป 2522 ครั้งท่ี 19 ป 2527 ครั้งท่ี 25 ป 2533 ครั้งท่ี 31 ป 2539 ครั้งที่ 37 ป 2545 และครั้งลาสุดเปนครั้งที่ 44 ระหวางวันท่ี 5 – 8 เมษายน 2552 ท่ีจังหวัดภูเก็ต) 4. เนื ่องจากในป 2558 ร ัฐบาลสิงคโปร ม ีกําหนดจัดงานเฉล ิมฉลองเอกราชครบ 50 ป โดยกระทรวงศึกษาธิการ หนวยงานดานการศึกษาและสถานศึกษาตองเตรียมพรอมเพื่อรวมการจัดงานดังกลาว ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปรจึงขอสลับวาระการดํารงตําแหนงประธานสภาซีเมคและประธานการประชุมสภาซีเมคกับกระทรวงศึกษาธิการของไทย ประเทศไทยจึงไดรับเปนเจาภาพจัดประชุมสภาซีเมค ครั้งท่ี 48 ในป 2558 และรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการของไทยจะดํารงตําแหนงประธานสภาซีเมค และทําหนาท่ีประธานการประชุม ระหวางป 2558-2559 23. เรื่อง การปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบตอการปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี

Page 22: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

22

2. มอบหมายใหกระทรวงการคลัง (กค.) (กรมศุลกากร) และ พณ.(กรมการคาตางประเทศ) ดําเนินการตอไปเพ่ือใหกฎเฉพาะรายสินคาภายใตความตกลงการคาสินคาอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี พิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2012 มีผลบังคับใชโดยเร็ว 3. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) แจงสํานักเลขาธิการอาเซียน เพ่ือผนวกกฎเฉพาะรายสินคา ฉบับป 2012 เขาไปในความตกลงการคาสินคาภายใตกรอบความตกลงวาดวยความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตและสาธารณรัฐเกาหลี ท้ังนี้ ใหแจง เม่ือคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและกรมศุลกากรดําเนินกระบวนการภายในแลวเสร็จ 24. เรื่อง การจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือระหวางกระทรวงการตางประเทศแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการตางประเทศแหงสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงการตางประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติการจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือระหวางกระทรวงการตางประเทศแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการตางประเทศแหงสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Memorandum of Understanding on Cooperation between the Ministry of Foreign Affairs of the Kingdom of Thailand and the Ministry of Foreign Affairs of the Socialist Republic of Vietnam) 2. อนุมัติใหรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศลงนามในบันทึกความเขาใจดังกลาว 3. หากมีความจําเปนตองแกไขปรับปรุงถอยคําของบันทึกความเขาใจดังกลาวในสวนท่ีไมใชสาระสําคัญเพ่ือใหสอดคลองกับผลประโยชนและนโยบายของไทยให กต. สามารถดําเนินการไดโดยไมตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง สาระสําคัญของเรื่อง กต. รายงานวา 1. ฝายไทยและเวียดนามไดเห็นชอบใหมีการจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือระหวางกระทรวงการตางประเทศแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการตางประเทศแหงสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เพ่ือเปนกลไกในการพัฒนาความสัมพันธทวิภาคีดานการตางประเทศและการทูตระหวางกันและฝายเวียดนามไดเห็นชอบกับรางบันทึกความเขาใจฉบับดังกลาวแลว 2. รางบันทึกความเขาใจมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางกรอบการปรึกษาหารือและกําหนดแนวทางความรวมมือท่ีเปนรูปธรรมในการเพ่ิมพูนและกระชับความสัมพันธดานการตางประเทศและการทูต ท้ังในระดับทวิภาคีและระดับพหุภาคีท่ีไทยและเวียดนามเปนสมาชิกและมีผลประโยชนรวมกัน อีกท้ังยังเก้ือหนุนตอการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการภายใตหุนสวนยุทธศาสตรไทย-เวียดนาม ซ่ึงมี กต. ของท้ังสองฝายเปนหนวยงานหลักในการขับเคลื่อน โดยบันทึกความเขาใจดังกลาวไดจัดทําข้ึนเปนภาษาอังกฤษ และจะมีผลบังคับใชในวันท่ีลงนาม 3. กต. พิจารณาแลวเห็นวา รางบันทึกความเขาใจดังกลาวเปนความตกลงท่ีจัดทําข้ึนระหวางหนวยงานระดับกระทรวง โดยมีสาระสําคัญเปนเพียงการจัดตั้งกลไกการปรึกษาหารือเพ่ือความรวมมือระหวางหนวยงาน ซ่ึงอยูในอํานาจหนาท่ีของ กต. ท่ีจะสามารถดําเนินการตามขอกําหนดในความตกลงนั้นไดเองโดยไมมีประเด็นท่ีเก่ียวของกับอํานาจหนาท่ีและการทํางานของหนวยงานอ่ืน ๆ และไมกอใหเกิดพันธกรณีในระดับรัฐบาลภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศ จึงไมเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 23 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 25. เรื่อง ความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปร ฉบับแกไข คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. รางความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปรฉบับแกไข ท้ังนี้ เม่ือผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว หากมีการแกไขโดยท่ีไมกระทบตอสาระสําคัญของความตกลงฯ ดังกลาว ให กค.

Page 23: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

23

สามารถทําการแกไขไดทันทีและเม่ือแกไขแลวใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) รับไปดําเนินการทางการทูต เพ่ือใหมีผลใชบังคับตอไป 2. ให กต. รับไปดําเนินการตามแบบพิธีทางการทูตและกฎหมายภายในเพ่ือใหความตกลงฯ ดังกลาวมีผลใชบังคับตอไป สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา 1. การจัดทําความตกลงฯ ดังกลาวเปนการปรับปรุงอนุสัญญาเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปรท่ีมีผลใชบังคับอยูในปจจุบันใหมีความเหมาะสมกับขอกฎหมายและลักษณะการประกอบธุรกิจในปจจุบัน โดยไดกําหนดหลักการท่ีสําคัญเพ่ือขจัดการเก็บภาษีซํ้าซอนในสวนท่ีเก่ียวกับภาษีเงินไดระหวางประเทศท่ีเกิดข้ึนอันเนื่องจากอํานาจในการจัดเก็บภาษีของท้ังสองประเทศทําใหเกิดการจัดเก็บภาษีซํ้าซอนบนฐานรายไดจํานวนเดียวกัน นอกจากนั้นความตกลงฯ มีวัตถุประสงคเพ่ือชวยสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ ในการปองกันการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีระหวางประเทศท้ังสอง ตลอดจนมีการจัดสรรรายไดภาษีระหวางสองประเทศดวยการกําหนดสิทธิการเก็บภาษีสําหรับเงินไดประเภทตาง ๆ ท้ังนี้ พันธกรณีตามความตกลงฯ มีกฎหมายภายในของไทยรองรับท่ีสําคัญ ไดแก ประมวลรัษฎากร ประกอบพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. 2514 2. การจัดทําความตกลงฯ เปนไปตามแบบมาตรฐานสากลซ่ึงเปนท่ียอมรับของนานาประเทศ เนื่องจากเปนเครื่องมือท่ีสําคัญในนโยบายการคาการลงทุนของไทย เพ่ือชวยสงเสริมบรรยากาศการลงทุนระหวางประเทศ เนื่องจากสามารถสรางความเชื่อม่ันเก่ียวกับภาระภาษีท่ีชัดเจนกับนักลงทุนตางชาติท่ีเขามาลงทุนในไทย และนักลงทุนไทยท่ีออกไปลงทุนในตางประเทศ โดยประเทศไทยไดเริ่มเจรจาจัดทําอนุสัญญาหรือความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนกับตางประเทศมาตั้งแตป 2507 ซ่ึงปจจุบันประเทศไทยมีอนุสัญญาหรือความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนท่ีมีผลใชบังคับอยูแลวจํานวน 58 ฉบับ 3. อนุสัญญาหรือความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนจะมีผลใชบังคับไดตอเม่ือไดมีการลงนามอยางเปนทางการ และไดมีการเปลี่ยนแปลงสัตยาบันระหวางกัน โดยกอนมีการลงนามอยางเปนทางการ รางอนุสัญญาหรือความตกลงฯ ท่ีไดดําเนินการจนแลวเสร็จนั้นจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและอนุมัติให กต. รับไปดําเนินการเพ่ือใหมีผลใชบังคับตอไป 26. เรื่อง การลงนามรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพ่ือดําเนินการเช่ือมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Protocol on the Legal Framework to Implement the ASEAN Single Window)

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพ่ือดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน

2. เห็นชอบใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเปนผูลงนามในรางพิธีสารดังกลาว

3. อนุมัติใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจัดทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (Full Powers) เพ่ือการลงนามรางพิธีสารดังกลาว

รางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพ่ือดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน มีสาระสําคัญเพ่ือเปนกรอบทางกฎหมายเพ่ือการดําเนินการการติดตอสื่อสาร และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกสของธรุกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหลายภายในสภาพแวดลอม ASEAN Single Window โดยคํานึงถึงมาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีเก่ียวของ อันเปนความ ตกลงระหวางประเทศและอนุสัญญาเก่ียวกับการอํานวยความสะดวกทางการคาและการทําใหเทคนิคและการปฏิบัติทางศุลกากรมีความทันสมัยแนะนําไว รางพิธีสารดังกลาวกําหนดขอบเขตการบังคับใชกับธุรกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหลาย ภายในสภาพแวดลอมของ ASEAN Single Window เทานั้น โดยไมมี

Page 24: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

24

ผลเปนการสรางพันธกรณีตอประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหลายอันเก่ียวของกับการดําเนินการและการทําธุรกรรมภายในระบบ National Single Window ของตน เวนแตขอบทท่ีวาดวยความปลอดภัยและความลับของสารสนเทศ (“ธุรกรรม” หมายถึง การสงและการรับสารสนเทศหรือขอมูลระหวางระบบ National Single Window ท้ังหลาย) โดยรางพิธีสารดังกลาวกําหนดใหมีผลบังคับใชภายหลังจากประเทศสมาชิกท้ังหมด ไดแจงสงมอบเอกสารการใหสัตยาบันกับเลขาธิการอาเซียน เม่ือไดดําเนินกระบวนการภายในของตนเสร็จสิ้นแลว ท้ังนี้ โดยรางพิธีสารไดกําหนดเวลาเรงรัดสําหรับการดําเนินกระบวนการภายในไวไมเกิน 180 วัน ภายหลังการลงนามรางพิธีสารดังกลาว

27. เรื่อง ขออนุมัติกรอบการหารือสําหรับการประชุมคณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคีไทย – เวียดนาม (JCBC) ครั้งท่ี 2

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการตางประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี ้ 1.เห็นชอบกรอบการหารือสําหรับการประชุมคณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคีไทย – เวียดนาม (JCBC) ครั้งท่ี 2

2. เห็นชอบใหคณะผูแทนไทยหารือกับฝายเวียดนามตามประเด็นท่ีอยูในกรอบการหารือ เพ่ือสงเสริมผลประโยชนของฝายไทยและการสงเสริมความสัมพันธกับเวียดนาม และเม่ือไดจัดทําบันทึกการประชุมแลว กระทรวงการตางประเทศจะนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป

สาระสําคัญของกรอบการหารือดังกลาวเปนเรื่องเก่ียวกับประเด็นความรวมมือทวิภาคีท่ีท้ังสองประเทศไดดําเนินการรวมกันไว ประเด็นท่ีท้ังสองฝายเห็นพองท่ีจะแกไข พัฒนาและ/หรือผลักดันใหเกิดความคืบหนา เพ่ือประโยชนของการดําเนินความสัมพันธ โดยประเด็นสําคัญท่ีจะมีการหยิบยกข้ึนหารือระหวางการประชุมฯ อาทิ การตางประเทศ การปองกันประเทศและความม่ันคง การคาและการลงทุน การลักลอบเขามาทําประมงในนานน้ําไทยของเรือประมงเวียดนาม ความเชื่อมโยงในภูมิภาค ความรวมมือดานแรงงาน ความรวมมือดานการเกษตร ความรวมมือดานสังคมและวัฒนธรรม ความรวมมือในอนุภูมิภาคและระหวางประเทศ

แตงตั้ง

28. เรื่อง การแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขเสนอแตงตั้ง นายชูศักดิ์ เกษมศานติ์ นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรม สาขาศัลยกรรม) กลุมงานศัลยศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย ใหดํารงตําแหนง นายแพทยทรงคุณวุฒิ (ดานเวชกรรม สาขาศัลยกรรม) กลุมงานศัลยศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตวันท่ี 8 พฤษภาคม 2557 ซ่ึงเปนวันท่ีมีคุณสมบัติครบถวนสมบูรณ ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนตนไป 29. เรื่อง การแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ (กระทรวงสาธารณสุข) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขเสนอแตงตั้ง นางสาวมุกดา หวังวีรวงศ นายแพทยเชี่ยวชาญ (ดานเวชกรรม สาขากุมารเวชกรรม) กลุมงานกุมารเวชศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย ใหดํารงตําแหนง นายแพทยทรงคุณวุฒิ (ดานเวชกรรม สาขากุมารเวชกรรม) กลุมงานกุมารเวชศาสตร กลุมภารกิจวิชาการ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตวันท่ี 26 สิงหาคม 2557 ซ่ึงเปนวันท่ีมีคุณสมบัติครบถวนสมบูรณ ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนตนไป

Page 25: 09.00 1 1. 3. 4....เช งบ รณาการป พ.ศ. 2557 – 2564 13. เร อง แผนแม บทและบรรเทาภ ยแล ง 14. เร อง

25

30. เรื่อง แตงตั้งขาราชการใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ (กระทรวงศึกษาธิการ) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอแตงตั้ง นายเจี่ยง วงศสวัสดิ์สุริยะ ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหดํารงตําแหนง ท่ีปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน (นักวิเคราะหนโยบายและแผนทรงคุณวุฒิ) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแตวันท่ี 30 กันยายน 2557 ซ่ึงเปนวันท่ีมีคุณสมบัติครบถวนสมบูรณ ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนตนไป 31. เรื่อง แตงตั้งกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการรถไฟแหงประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงคมนาคมเสนอแตงตั้งนายพีระพล ถาวรสุภเจริญ เปนกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการรถไฟแหงประเทศไทย แทนนายจุฬา สุขมานพ ท่ีลาออก ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ี 17 มีนาคม 2558 เปนตนไป 32. เรื่อง แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการปโตรเลียม คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงพลังงานเสนอแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการปโตรเลียม จํานวน 5 คน ดังนี้ 1. นายวีระชัย ตันติกุล 2. นายสัมพันธ สาระธนะ 3. นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ 4. พลเอก วิชญ เทพหัสดิน ณ อยุธยา 5. นายบูรณวงศ เสาวพฤกษ ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ี 17 มีนาคม 2558 เปนตนไป 33. เรื่อง แตงตั้งกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการองคการสวนพฤกษศาสตร คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอแตงตั้งบุคคลเปนกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการองคการสวนพฤกษศาสตร จํานวนรวม 3 คน เนื่องจากกรรมการเดิมไดลาออกจากตําแหนง ดังนี้ 1. นายเอกสิทธิ์ วัฒนปรีชานนท เปนกรรมการ 2. นางสาวเยาวนุช วยิาภรณ เปนกรรมการ (กรรมการผูแทนกระทรวงการคลัง) 3. นายจรูญ อ่ิมเอิบสิน เปนกรรมการ ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ี 17 มีนาคม 2558 เปนตนไป 34. เรื่อง การขอตอเวลาการดํารงตําแหนงเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (นักบริหารระดับสูง) ครั้งท่ี 2 (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติการตอเวลาการดํารงตําแหนงของ ศาสตราจารยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ตอไปอีกเปนครั้งท่ี 2 ตั้งแตวันท่ี 28 เมษายน 2558 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2558 (เกษียณอายุราชการในวันท่ี 1 ตุลาคม 2558) ตามท่ีรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล) เสนอ 35. เรื่อง การแตงตั้งประธานกรรมการ และกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการการไฟฟานครหลวง คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามท่ีกระทรวงมหาดไทยเสนอแตงตั้งบุคคลเปนประธานกรรมการ และกรรมการอ่ืนในคณะกรรมการการไฟฟานครหลวง (ชุดใหม) ท้ังคณะ จํานวน 14 คน แทนกรรมการชุดเดิมท่ีพนวาระ ดังนี้ พลเอก พิรุณ แผวพลสง ประธานกรรมการ กรรมการอ่ืนประกอบดวย พลอากาศเอก อานนท จารยะพันธุ พลเอก ธีรชัย นาควานิช นางดัยนา บุนนาค นางสาวโสภาวดี เลิศมนัสชัย นายรณชิต รัตนารามิก ศาสตราจารย บุญเสริม กิจศิริกุล ผูชวยศาสตราจารยสนั่น วิสุทธิศักดิ์ชัย พลตํารวจโท ไถง ปราศจากศัตรู นายวิทยา ฉายสุวรรณ นายกฤษฎา บุญราช รองศาสตราจารยพีระวุฒิ สุวรรณจันทร ผูชวยศาสตราจารยพิษณุ สถิตศาสตร นายสมชัย สัจจพงษ (กรรมการผูแทนกระทรวงการคลัง) โดยมีผูวาการการไฟฟานครหลวง เปนกรรมการโดยตําแหนง ท้ังนี้ ตั้งแตวันท่ี 17 มีนาคม 2558 เปนตนไป

............................................................