01 หน้าปก - nidalibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ...

108
ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น) วิทิต กมลรัตน สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .. 2552

Upload: others

Post on 12-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ

บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

วิทิต กมลรัตน

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ. 2552

Page 2: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว
Page 3: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทคัดยอ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงานฝายปฏิบัติการของ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) 2) เพื่อระบุปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) 3) เพื่อคนหาแนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานที่เกิดจากพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) โดยทําการศึกษาจากแบบสอบถามสําหรับพนักงานระดับปฎิบัติการซึ่งแหลงขอมูลที่สําคัญประกอบดวย พนักงาน บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) จํานวนทั้งสิ้น 135 ราย

ผลการศึกษาสรุปตามวัตถุประสงค 1. ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยซ่ึงมี 4 ดานคือ ดานการปฏิบัติงาน ดานเครื่องจักร

อุปกรณ ดานสภาพแวดลอม และดานการจัดการ โดยภาพรวม พบวา กลุมประชากรสวนใหญมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมสูงถึงสูงมาก

2. ปจจัยที่มีผลพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 3 ตัวคือ เพศ (ชาย) อายุงาน และทัศนคติ โดยตัวแปรเพศ (ชาย) เปนความสัมพันธในทางลบ (Beta = -0.232) สวนอีก 2 ตัวแปรคือ ทัศคติฯ (Beta =0.199) และความรูฯ เปนความสัมพันธทางบวก นั่นคือ เพศชายมีพฤติกรรมความปลอดภัยฯ นอยกวาเพศหญิง ผูมีอายุงานนานกวา และผูมีทัศนคติดีกวาจะมีพฤติกรรมความปลอดภัยฯ มากกวา

3. แนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานที่เกิดจากพฤติกรรม การทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน คือ กิจกรรมของฝายการบริหาร, กิจกรรมดานการสงเสริม และกิจกรรมดานการฝกอบรม

ชื่อสารนิพนธ : ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏบิัติ การ : บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากดั (ฟอสเฟต ดวีิช่ัน)

ชื่อผูเขียน : นายวิทติ กมลรัตน ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) ปการศึกษา : 2552

Page 4: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

ABSTRACT

Title of Research Paper : Study of Safety Behavior for Operation Workers at

Aditya Birla Chemicals (Thailand) Ltd,(Phosphates

Division)

Author : Mr. Withit Kamonrat

Degree : Master of Science (Environmental Management)

Year : 2009

Objectives of this study are 1) to study the safety behavior of operation workers

at Aditya Birla Chemicals (Thailand) Ltd,(Phosphates Division) 2) to find related

factors that may take effect to their safety behavior of operation workers. 3) to find

out solutions for the better workplace safety. Questionnaire survey was employed. The

total 135 employees were samples of this study.

It was found that 1. safety behavior levels were related to machine, equipment,

environment and management. Most of samples had high and very high safety

behavior. 2. factors that influenced to safety behavior were sex(male), work time and

attitude. Sex(male) factor showed negative correlation (Beta= -0.232) and other 2

factors, attitude (Beta= 0.199) and knowledge showed the opposite correlation. It

could be concluded that male had better safety behavior than female, and person with

work experience including one with better attitude would have better safety behavior.

3. guidelines for accident reduction composed of executive activities, safety campaign

and training.

Page 5: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

ABSTRACT

Title of Research Paper : Study of Safety Behavior for Operation Workers at

Aditya Birla Chemicals (Thailand) Ltd,(Phosphates

Division)

Author : Mr. Withit Kamonrat

Degree : Master of Science (Environmental Management)

Year : 2009

Objectives of this study are 1) to study the safety behavior of operation workers

at Aditya Birla Chemicals (Thailand) Ltd,(Phosphates Division) 2) to find related

factors that may take effect to their safety behavior of operation workers. 3) to find

out solutions for the better workplace safety. Questionnaire survey was employed. The

total 135 employees were samples of this study.

It was found that 1. safety behavior levels were related to machine, equipment,

environment and management. Most of samples had high and very high safety

behavior. 2. factors that influenced to safety behavior were sex(male), work time and

attitude. Sex(male) factor showed negative correlation (Beta= -0.232) and other 2

factors, attitude (Beta= 0.199) and knowledge showed the opposite correlation. It

could be concluded that male had better safety behavior than female, and person with

work experience including one with better attitude would have better safety behavior.

3. guidelines for accident reduction composed of executive activities, safety campaign

and training.

Page 6: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ เร่ือง ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานฝายปฎิบัติการบริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)สัมฤทธ์ิผลไดดวยความอนุเคราะหจากผูมีพระคุณหลายทาน ที่กรุณาใหความชวยเหลือ ใหคําปรึกษา ใหกําลังใจ และใหโอกาสในการทํางานวิจัยคร้ังนี้ รวมถึงเจาของวรรณกรรมที่ปรากฏอยูในสารนิพนธฉบับนี้ทุกทาน

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. บุญจง ขาวสิทธิวงษ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ที่กรุณาใหคําชี้แนะ ตรวจสอบสารนิพนธทุกขั้นตอน และกรุณาใหความรูรวมทัง้ขอเสนอแนะตางๆ จึงเปนแรงบันดาลใจใหเกดิการศึกษาวิจยัและทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จตามวัตถุประสงค ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยทุกทานของหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ที่ไดถายทอดความรูใหแกผูวิจัย ขอขอบคุณเจาหนาที่ของคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ที่กรุณาใหความชวยเหลือ ประสานงาน ใหบริการ และอํานวยความสะดวกดวยอัธยาศัยไมตรีที่สุภาพและเปนกันเอง อีกทั้งขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ นอง ๆ โดยเฉพาะนางพรทิพา สุทนต, นางสาวนิพพงศพร อมราภิบาล หลักสูตรการจัดการส่ิงแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส(ประเทศไทย)จํากัด(ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ทุกทานที่ใหความชวยเหลือ และใหกําลังใจตลอดมา

สุดทายนี้ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอวันชัย คุณแมทัศนีย กมลรัตน ผูมีพระคุณตอผูวิจัย ที่ไดใหโอกาสในการศึกษาและเปนแบบอยางในการดํารงชีวิตแกผูวิจยัมาโดยตลอด ตลอดจน นางสาวสําลี ผลาผล ที่เปนกําลังใจ ใหการสนับสนุน และคอยใหความชวยเหลือตลอดระยะเวลาการวิจยั ดวยดเีสมอมา

วิทิต กมลรัตน

ตุลาคม 2552

Page 7: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) ABSTRACT (4) กิตติกรรมประกาศ (5) สารบัญ (6) สารบัญตาราง (8) สารบัญภาพ (9) บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและแนวคิดในการศกึษา 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 2 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา 3 1.4 สมมติฐานการศึกษา 4 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4 1.6 นิยามศัพท 4 บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม 6

2.1 แนวคดิเกีย่วกบัความปลอดภัยในการทํางาน 6 2.2 แนวคดิและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู 17 2.3 แนวคดิเรื่องทศันคติ 19 2.4 แนวคดิและทฤษฏีเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัย 21 2.5 แนวคดิของการเกิดอุบัติเหต ุ 27 2.6 แนวคดิเกีย่วกบัการจัดการดานความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม 35 2.7 หลักการและวธีิการควบคุมอันตรายจากการทํางาน 36 2.8 งานวิจยัที่เกี่ยวของ 38

Page 8: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

9

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินการวจัิย 46 3.1 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 46 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจยั 47

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหผล 49 3.4 การวิเคราะหขอมูล 50

บทท่ี 4 ผลการวิจัย 53 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมประชากร 53

4.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงาน, ทัศนคติและระดับความรู 54 4.2.1 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงาน 54 4.2.2 ระดับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน 57 4.2.3 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน 57

4.3 การทดสอบสมมติฐาน 58 4.4 แนวทางการจัดกิจกรรม 60

บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 63 5.1 สรุปผลการศึกษา 65

5.1.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมประชากร 65 5.1.2 ระดบัพฤติกรรมความปลอดภยัดานการปฏิบตัิงาน, ทัศนคติและระดับความรู 65

5.1.3 การทดสอบสมมติฐาน 67 5.1.4 แนวทางการจดักิจกรรม 67

5.2 อภิปรายผลการศึกษา 69 5.3 ขอเสนอแนะ 73 5.4 ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจยัคร้ังตอไป 74

บรรณานุกรม 75 ภาคผนวก 79 ภาคผนวก ก ประวตัิขอมูลบริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย)จํากัด 81 ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 91 ประวัติผูเขียน 102

Page 9: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 2.1 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามประเภทของอุบัติเหต ุ 7 2.2 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามสาเหตุของอุบัติเหต ุ 8 2.3 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามเดือนทีเ่กิดอุบัติเหต ุ 9 2.4 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามพื้นที ่ 10

2.5 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามจํานวนคนงาน 11 2.6 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตาม 12

จํานวนผูบาดเจ็บและเสียชีวติ 3.1 เกณฑการใหคะแนนสวนพฤติกรรมความปลอดภยัในการปฏิบัติงาน 50 3.2 เกณฑการใหคะแนนสวนทัศนคติดานความปลอดภยัในการปฏิบัติงาน 50 4.1 ขอมูลเพศ อายุ การศึกษา อายุงาน 54 4.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงาน 55 4.3 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณ 55 4.4 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอม 56 4.5 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจัดการ 56 4.6 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยโดยรวม 4 ดาน 56 4.7 ระดับทศันคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน 57 4.8 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน 57 4.9 สถิติพรรณาและ คาสมัประสิทธิ์ความสัมพันระหวางตัวแปร 59

4.10 ผลวิเคราะหถดถอยแบบปกติ ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภยั 59 ในการทํางาน

Page 10: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 3 2.1 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามประเภทของอุบัติเหต ุ 7 2.2 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามสาเหตุของอุบัติเหต ุ 8

2.3 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามเดือนทีเ่กิดอุบัติเหต ุ 9 2.4 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามพื้นที ่ 10

2.5 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามจํานวนคนงาน 11 2.6 สถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตาม 12

จํานวนผูบาดเจ็บและเสียชีวติ 2.7 องคประกอบของทัศนคติ 3 ประการ 20

Page 11: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทที่ 1

บทนํา 1.1 ท่ีมาและแนวคิดในการศึกษา จากการมุงพัฒนาประเทศเขาสูประเทศอุตสาหกรรม ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยายการตัวอยางรวดเร็ว ผูคนสวนใหญตางมุงหนาเขาสูโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อหางานทํา ในอุตสาหกรรมทุกประเภท ทั้งผลิตเพื่อขายในประเทศ และสงออกตางประเทศ ทั้งอุตสาหกรรมเบา และอุตสาหกรรมหนัก ส่ิงที่มักจะเกิดขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรมเปนของควบคูกัน นั้นก็คือ อุบัติเหตุ ซ่ึงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนั้น รอยละ 80 มักจะเกิดจากการกระทําที่ไมปลอดภัยของคน เชน การไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในขณะปฏิบัติงานกับงานที่มีความเสี่ยง การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยที่องคกรกําหนด การไมปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางาน และการซอมเครื่องจักรในขณะที่เครื่องจักรกําลังทํางานหรือหยุดไมสนิท การดัดแปลงหรือถอดอุปกรณปองกันอันตรายจากเครื่องจักรออก เปนตน สวนอีกรอยละ 20 เกิดจากสภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมปลอดภัย เชน พื้นล่ืน การไมจัดเก็บของใหเปนระเบียบ การวางของสูงเกินกําหนด หรือการจัดวางสารเคมีในพื้นที่อาจกอใหเกิดประกายไฟ เปนตน ความสูญเสียที่เกิดจากอุบัติเหตุนั้นมีมากมาย ทั้งเกิดแกพนักงานและองคกร เชน พนักงานบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือเสียชีวิต ตองหยุดงาน สูญเสียรายไดจากการหยุดทํางาน หากพิการหรือทุพพลภาพ ก็ทําใหเปนภาระแกครอบครัวที่ตองดูแล และที่เกิดกับองคกร เชน ตองจายเงินเขากองทุนเงินทดแทนมากขึ้น ขาดพนักงานทํางาน ตองเสียเวลาสรรหาพนักงานใหม ฝกอบรมพนักงานใหม ทําใหผลผลิตลดลง เปนตน ทําใหในแตละป ประเทศตองสูญเสียเงินไปจํานวนมาก ทั้งภาครัฐและเอกชน ตางเล็งเห็นความสูญเสียที่เกิดขึ้นดังกลาว และตองการใหประชาชนที่ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม มีความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพอนามัย ใหมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน ไดชวยกันรณรงคใหโรงงานในประเทศ ชวยกันบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมใหนาอยู นาทํางาน และ ชวยลดอุบัติเหตุจากการทํางาน ซ่ึงระบบที่หนวยงานตางๆนํามาใชในการบริหารความปลอดภัย เชน ระบบ OHSAS 18001 หรือ TIS 18001 รวมถึง มาตรฐานแรงงานไทย อีกทั้งมีกิจกรรมที่ชวยปลูกจิตสํานึก และสรางความตระหนัก ในโรงงานอุตสาหกรรม เชน การจัด

Page 12: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

2

งานสัปดาหความปลอดภัยแหงชาติ โดยกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม การประกวดสถานประกอบการดีเดนดานความปลอดภัย ทั้งในระดับจังหวัด และระดับประเทศ ในสวนของโรงงานเอง ก็มีการจัดกิจกรรม เชน การฝกอบรมใหพนักงานใหมกอนเขางาน การฝกซอมอพยพหนีไฟ การฝกอบรมดับเพลิงเบื้องตน การจัดการกรณีสารเคมี หรือ แกส ร่ัวไหล การจัดกิจกรรม KYT (การหยั่งรูอันตราย) การเขียนขอเสนอแนะดานความปลอดภัย การจัดสัปดาหความปลอดภัย ในโรงงาน เปนตน จะเห็นไดวาทั้งภาครัฐและเอกชน ตางรณรงคและจัดกิจกรรมตางๆมากมาย เพื่อลดอุบัติเหตุในการทํางาน แตยังพบวาอุบัติเหตุ ก็ยังเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง

ดวยผูวิจัย มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เร่ืองความปลอดภัยในสถานประกอบการที่ทํางาน และพบวาสถิติอุบัติเหตุในสถานประกอบการก็ยังเกิดขึ้นตอเนื่อง ทั้งๆที่ไดมีการจัดทําระบบ OHSAS 18001 มีการฝกอบรมพนักงานในหลายๆหลักสูตรที่เกี่ยวของ และจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมจิตสํานึกและความตระหนัก ดานความปลอดภัยแลวก็ตาม ดังนั้นเพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน เพื่อหาแนวทางในการปองกันและลดอุบัติเหตุในโรงงาน และตามทฤษฎีของการเกิดอุบัติเหตุแลว อุบัติเหตุสวนใหญรอยละ 80 เกิดจากการกระทําที่ไมปลอดภัย ดังนั้น จึงเปนที่มาของการศึกษาวิจัย เร่ือง พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ขึ้น

1.2 วัตถุประสงคการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงานฝายปฏิบัติการ

ของ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) 1.2.2 เพื่อระบุปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท

อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) 1.2.3 เพื่อคนหาแนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานทีเ่กดิจาก

พฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

Page 13: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

3

1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา ตัวแปรที่ใชในการวิจัยประกอบดวย ตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ซ่ึงตัวแปรอิสระ ไดแก

ปจจัยสวนบุคคล ทัศนคติดานความปลอดภัย และความรูดานความปลอดภัย สวนตัวแปรตามไดแก พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน

ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อาย ุระดับการศึกษา และอายุงาน

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา จากภาพที่ 1.1 สรุปเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาไดวา ปจจัยสวนบุคคล (ดานเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอายุงาน) ทัศนคติดานความปลอดภัย และความรูดานความปลอดภัย มีผลตอ พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ตัวแปรอิสระ

ปจจัยสวนบุคคล - เพศ - อายุ - ระดับการศึกษา - อายุงาน ทัศนคติดานความปลอดภยั ความรูดานความปลอดภัย

ตัวแปรตาม

พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน - การปฏิบัติงาน - เครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ - สภาพแวดลอม - การจัดการ

Page 14: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

4

1.4 สมมติฐานการศึกษา

1.4.1 ปจจัยสวนบุคคลดานเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอายุงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ มีความสัมพันธตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

1.4.2 ปจจัยทัศนคติดานความปลอดภัยมีความสัมพันธตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

1.4.3 ปจจัยความรูดานความปลอดภัยมีความสัมพันธตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.5.1 ทราบพฤติกรรมและปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงานฝายปฏิบัติการของ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

1.5.2 ไดแนวทางในการดําเนินกิจกรรม เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานของบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

1.5.3 เพื่อโรงงานอื่น ๆ ที่มีลักษณะคลายกันใชเปนแนวทางศึกษาวิจัย รวมทั้งดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน

1.6 นิยามศัพท บริษัท หมายถึง บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ทัศนคติดานความปลอดภยั หมายถึง ความคิดเห็นตอวธีิการปองกันตนเองจากอนัตรายที่

เกิดจากการทํางาน ในที่นี้คือความคิดเหน็หรือความรูสึกตอกฎระเบียบ ตอความรูความเขาใจรวมถึงตอวิธีการปองกันอุบัติเหตุและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการการทํางานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ความรูดานความปลอดภยั หมายถึง ความรูเกี่ยวกับอันตรายและวิธีการปองกันตนเองจากอันตรายที่เกดิเนื่องจากการทาํงาน

Page 15: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

5

พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หมายถึง ลักษณะการปฏิบัติงาน การใชเครื่องมือ การจัดสภาพแวดลอม รวมถึงวิธีการบริหารจัดการเพื่อปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงานหรือเกิดขึ้นภายหลัง (ผลระยะยาว)

อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณรายที่เกิดขึน้โดยมิไดมีการวางแผนไวลวงหนา โดยเหตกุารณรายนั้นสงผลกระทบตอรางกายและทรัพยสิน ทําใหเกิดการบาดเจ็บ แมกระทั่งสงผลตอจิตใจ ทําใหขวัญของผูประสบภัยหรือผูคนรอบขางเสียไป

ความสูญเสีย หมายถึง สูญเสียภาพพจนช่ือเสียงของหนวยงาน เสียเวลาและทรัพยากร แนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน หมายถึง กิจกรรมที่

กลุมเปาหมายเสนอแนะวาควรจัดขึ้นเพื่อลดอุบัติเหตุที่เกิดจากพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน ความรูเก่ียวกับความปลอดภัยในการทํางาน หมายถึง ความรูที่พนักงานไดรับเกีย่วกบั

ความปลอดภยัในการทํางาน ความรูเกีย่วกับการปองกนัอุบัติเหตุ ตลอดจนการบาดเจ็บ การเจ็บปวย การสูญเสียเนื่องจากการทํางานหรือเกี่ยวกับการทํางาน

Page 16: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทที่ 2

ทบทวนวรรณกรรม

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานฝายปฎิบัติการของ

บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ผูศึกษาไดทําการรวบรวมหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของเปนพื้นฐาน เพื่อนํามากําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา โดยมีรายละเอียดของประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความรู 2.3 แนวคิดเรื่องทัศนคติ 2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน 2.5 แนวคิดของการเกิดอุบัติเหตุ 2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการดานความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม 2.7 หลักการและวิธีการควบคุมอันตรายจากการทํางาน 2.8 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน เนื่องจากปจจุบันงานอุตสาหกรรมทุกประเภทลวนตองอาศัยเครื่องจักร เครื่องมือ รวมทั้งเครื่องทุนแรงที่ใชเทคโนโลยีเขามาชวยเปนจํานวนมาก แตก็ยังพบอุบัติเหตุที่เกิดในโรงงานอุตสาหกรรม อยูเสมอ จากสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม ป 2550 (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552) ไดสรุปสถิติอุบัติเหตุไวดังนี้

Page 17: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

7

ภาพที่ 2.1 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามประเภทของอุบัติเหต ุที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

ประเภทอุบัติเหตุ

อัคคีภัย ถังกาซ/ น้ํามันร่ัว

สารเคมี/ กาซรั่ว

เคร่ืองจักร หนีบ

กระแทก

หมอไอน้ํา/ เคร่ืองทํา ความรอน

วัตถุไวไฟ ระเบิด

วัตถุสิ่งของ เขาตา/หลน

ทับ รวม

จํานวนอุบัติเหตุ (ราย)

25 3 5 2 1 1 5 42

คิดเปนรอยละ 60 7 12 5 2 2 12 100

ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามประเภทของอุบัติเหตุ ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

Page 18: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

8

ภาพที่ 2.2 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามสาเหตขุองอุบัติเหต ุที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552 สาเหตุอุบัติเหตุ เคร่ืองจักร/

อุปกรณไม ปลอดภัย

ไฟฟาลัดวงจร กระบวนการทํางานที่ ไมปลอดภัย

วางเพลิง รวม

จํานวนอุบัติเหตุ (ราย)

9 19 13 1 42

คิดเปนรอยละ 21 46 31 2 100

ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามสาเหตุของอุบัติเหตุ ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

Page 19: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

9

ภาพที่ 2.3 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามเดือนทีเ่กิดอุบัติเหต ุที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

จํานวนอุบัติเหตุ (ราย)

7 7 1 0 3 3 3 5 4 2 4 3

คิดเปนรอยละ 16 17 2 0 7 7 7 12 10 5 10 7

ตารางที่ 2.3 ตารางแสดงสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามเดือนที่เกิด

อุบัติเหตุ ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

Page 20: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

10

ภาพที่ 2.4 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามพื้นที ่ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

พื้นที่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต ภาค

ตะวันออก ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

กรุงเทพฯ รวม

จํานวนโรงงาน (ราย)

3 15 1 7 3 13 42

คิดเปนรอยละ 7 36 2 17 7 31 100

ตารางที่ 2.4 ตารางแสดงสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามพืน้ที่ ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

Page 21: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

11

ภาพที่ 2.5 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามจํานวนคนงาน ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

ขนาดโรงงาน ขนาดเล็ก (คนงานไมเกิน

20 คน)

ขนาดกลาง (คนงานมากกวา 20 คน แตไมเกิน

200 คน)

ขนาดใหญ (คนงานมากกวา 200 คน)

รวม

จํานวนโรงงาน (ราย)

15 11 16 42

คิดเปนรอยละ 36 26 38 100

ตารางที่ 2.5 ตารางแสดงสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามจํานวนคนงาน ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

Page 22: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

12

จํานวนผูบาดเจ็บและเสียชีวติ ป 2550 - ผูบาดเจ็บ 118 ราย - ผูเสียชีวิต 11 ราย

ภาพที่ 2.6 แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550 จําแนกตามจํานวนผูไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิต ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2552

จากขอมูลดังกลาวขางตนของกรมโรงงานอุตสาหกรมสรุปผลประจําป 2550 พบวาสถิติการเกิดอุบัติเหตุสวนใหญเกิดในเขตพื้นที่ภาคกลางมากที่สุดถึงจํานวน 15 โรงงาน จากจํานวนโรงงานทั้งหมด 42โรงงานและเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่กรุงเทพฯ ถึง 13 โรงงาน ซ่ึงเปนสาเหตุที่ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตรายของลูกจางไมวาจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม ยอมสงผลกระทบตอทั้งตัว ลูกจาง นายจาง ลูกจางที่ประสบอันตรายหรือเจ็บปวยจากการทํางานอาจไดรับความบาดเจ็บ พิการ หรือถึงแกชีวิตรวมทั้งสงผลกระทบไปถึงครอบครัว สวนนายจางก็ตองสูญเสียทั้งเงินทอง ทรัพยสิน ดังนั้นความปลอดภัยในการทํางานจึงมิใชหนาที่ของนายจางหรือลูกจางเพียงฝายใดฝายหนึ่งแตเปนหนาที่ของทั้งสองฝายที่จะตองชวยกันควบคุม ปองกัน ดูแล เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน

Page 23: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

13

การสรางความปลอดภัยในโรงงานตองเริ่มที่การบริหารงาน โดยตองมีการกําหนดนโยบาย เปาหมายงานเพื่อมุงไปสูการปองกันและลดอุบัติเหตุใหมีประสิทธิภาพสูงสุด 1) วิธีการปองกันอุบัติเหต ุ การดําเนนิงานในการปองกนัอุบัติเหตนุั้น แบงออกไดเปน 4 ขั้นตอนดวยกัน คือ 1. ช้ีชัดที่อันตรายวิธีการที่จะชี้ชัดถึงอันตรายนั้น สามารถกระทําไดใน 3 แนวทางดวยกัน คือ 1.1 อันตรายจากบริเวณที่ทํางาน (Workplace) ภัยจากสถานที่ทํางานจําแนกไดดังนี ้ - ความไมเปนระเบียบเรยีบรอยและความสกปรก - ทางเดินและทางเขา - ออก - การจัดเก็บพสัดุตางๆ - พื้น และขอบมุมตางๆ - เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ - อุปกรณไฟฟาตาง ๆ ที่ติดตั้งอยูในบริเวณงาน - สารที่ติดไฟไดงายและที่เปนพิษ - ระบบการระบายอากาศที่ชํารุดเสียหาย - สภาพการณของหลังคา ผนัง โครงสราง 1.2 อันตรายจากวิธีการปฏิบตัิงาน (Operation method) - การใชเครื่องมือ อุปกรณและวัสดุตางๆ ที่ชํารุด - การยกเคลื่อนยายวัสด ุ - การปฏิบัติงานกับเครื่องจักรที่มีอุปกรณเครื่องกําบังไม เหมาะสม 1.3 อันตรายจากตัวคนงาน (Worker) - การขาดความรูเร่ืองกฎระเบียบดานความปลอดภัย - การไมปฏิบตัิตามกฎระเบยีบดานความปลอดภัย - การแตงกายไมเหมาะสม - พฤติกรรมทั่ว ๆ ไปที่ไมเหมาะสม - การไมใชอุปกรณปองกนัภยัสวนบุคคล

Page 24: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

14

2. ควบคุมอันตรายและการกระทําเมื่อเล็งเห็นและตระหนักถึงอันตรายของภัยตางๆ ขั้นตอนตอไป ที่จะตองกระทํา คือ หาทางควบคุม ลดอันตรายใหหมดหรือลดนอยลง โดยการดําเนินการตางๆ ที่เปนไปไดดังนี้ 2.1 ขจัด (Eliminate) หากเปนไปไดใหขจดัอันตรายอันเปน แหลงตนตอของอันตรายทีเ่กิดขึ้น 2.2 คุม (Guard) หากไมสามารถขจัดอันตรายได ใหดําเนนิการ คุมระดับ ความรุนแรงของอันตรายใหอยูในระดับนอยที่สุด ดวยมาตรการทางดานกายภาพตางๆ เชน สราง เครื่องกําบัง การใชอุปกรณปองกันภยัสวนบุคคลดวยวธีิการอื่นๆ

2.3 ตักเตือน (Warn) หากอันตรายเปนผลมาจากการกระทําของคนงาน ซ่ึงเราไมสามารถจะขจัดหรือคุมไดดวยมาตรการทางดานกายภาพตางๆ จําเปน ตองดําเนินการดวยมาตรการทางดานจิตวิทยาตางๆ ซ่ึงรวมถึงการออกกฎระเบียบ คําสั่ง การตักเตือนและการจูงใจดวยวิธีการตางๆ

2.4 รายงาน (Report) ขั้นตอนที่สําคัญในการควบคุมอันตราย คือ การรายงาน กลาวคือ จะตองมีระบบการรายงานที่ดี เพื่อรายงานอันตรายตางๆ ที่ช้ีชัดออกมา หรือส่ิงที่คิดวาเปนอันตรายใหผูที่อยูในฐานะและความรับผิดชอบสูงขึ้นไป ใหรับทราบเพื่อการปฏิบัติ ที่เหมาะสมตอไป 3. การปองกันมิใหเกิดอุบัติเหตุซํ้าขึ้นมาอีกสิ่งที่ควรจะตองกระทํา คือ 1. วิเคราะห (Analysis) ใหมีการวิเคราะหคนหาสาเหตุทัง้หลายและวิธีการปองกัน 2. ดําเนินการใหบริเวณที่ทํางานปลอดภัย หากผลการวิเคราะห แสดงวา อันตรายเกดิจากบริเวณที่ทํางาน 3. ดําเนินการใหมีวิธีการทํางานที่ปลอดภัยหากมีการชี้ชัดออกมาวาอุบัติเหตุเกดิขึน้เนื่องมาจากวิธีการทํางานที่ไมปลอดภัย 4. ใหมีการฝกอบรมพนักงานใหมวีิธีการทํางานที่ถูกวิธี และโดยสํานกึแหงความปลอดภัย

4. การติดตามผล (Follow up) ส่ิงตางๆ ที่เปนขอเสนอแนะไมวาจะเปนผลมาจากขั้น 2 หรือ 3 จะตองมีการติดตามผลแตละขั้นตอนจนกระทั่งการดําเนินการเสร็จสิ้นเรียบรอย และ ตองติดตามผลวาดีขึ้นมากนอยเพียงใดประเมินผลและอาจจะตองมีการเปลี่ยนแปลงอีก เพื่อผลท่ีดีกวา

Page 25: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

15

2) สภาพแวดลอมที่มีผลตอความปลอดภยั

การวางผังโรงงานเปนปจจัยสําคัญตอความปลอดภัยของคนงาน เพราะเปนการสรางส่ิงแวดลอมที่เหมาะสมในการปฏิบัติ และสภาพแวดลอมนั้นจะประกอบดวยเงื่อนไขตางๆ ไดแก ทางกายภาพ เชน อุณหภูมิ แสงสวาง เสียง ฯลฯ ทางเคมี เชน ควันพิษ ปฏิกิริยาทางเคมีในกระบวนการผลิต ฯลฯ ทางสุขาภิบาล เชน ความสะอาด ฯลฯ และ ทางดานจิตใจ เชน ทํางานเรงเบื่อระอา ประมาท ฯลฯ

1. ขนาดสําหรับทางเดินภายในโรงงานมีขนาดและลักษณะที่ด ีดังนี ้ 1.1 ทําใหทางเดินทุกแนวเปนทางตรง 1.2 ระดับของทางเดินควรหางกันและเรียบ ในกรณีตางระดับ ควรทําทางลาดเชื่อมตอกนั 1.3 ทําใหทางเดินอยูตรงกลางใชไดทั้งสองขางทางเดิน 1.4 ทําใหทางเดินพบกนัขามกันเปนมุมฉาก 1.5 ทําใหความกวางที่พอเหมาะ 1.6 ทําใหทางเดินมีขนาด ความกวาง หลายขนาดแปรตามปริมาณของการใชงาน เชน ชนิดของสิ่งที่ขนสงผาน ความถี่ในการใชความเร็วในการขนสง และแนวโนม ที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต 2. การจัดสภาพแวดลอมในโรงงาน 2.1 ทางผานของระบบสายพานลําเลียงวสัดุกับทางเดินในโรงงานเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไดยาก แตควรออกแบบใหใชงานไดพรอมๆ กัน โดยยกสูงตางระดับกนั

2.2 ระบบแสงสวางในโรงงาน มี 2 แหลง คือ แสงสวาง จากดวงอาทิตยและแสงสวางจากหลอดไฟฟา ในการออกแบบผังโรงงานควรอาศัยและ ใชแสงสวางจากดวงอาทิตยใหมากที่สุด โดยเขาทางหลังคาแบบโปรงแสง และเขาทางหนาตาง ซ่ึงจะชวยประหยัดไฟ

2.3 การออกแบบเกี่ยวกับเสียง มีผลตอการปฏิบัติงานอยางยิ่ง เพราะเสียงดังในโรงงานอันเนื่องมาจากเหตุใดๆ ก็จะสงผลเสียตอการผลิต 3 ประการ 1. ขัดขวางการสื่อสารสั่งการหรือสัญญาณเตือนตางๆ ทําให เกิดความผิดพลาดในการประสานงานและเปนอันตรายได 2. ลดขวัญกําลังใจรวมทั้งประสาทสัมผัสของคนงาน ทําใหคนงานมึนตื้อและประสาทสัมผัสชาจนเปนอันตรายได 3. ความดังของเสียงจะทําลายประสาทหูโดยตรง ทําใหคนงาน หูพิการและสูญเสียประสาท หรือการรับฟงมีคุณภาพเสื่อม

Page 26: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

16

3) กิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยในการทํางาน

การจัดกิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยใน สถานประกอบการกิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยในการทํางานเปนกิจกรรมหนึ่ง ของสถานประกอบการ ซ่ึงจัดขึ้นเพื่อการรณรงคสงเสริมความปลอดภัยแกพนักงาน เพื่อเสริมสรางจิตสํานึกและใหเกิดการมีสวนรวมในกิจกรรมนั้น เพื่อใหเปนนโยบายและแผนการดําเนินงาน ของสถานประกอบการสถานประกอบการสามารถพิจารณาเลือกกิจกรรมตางๆ ที่เหมาะสมกับ สภาพการณและความพรอมของสถานประกอบการ ดังนี้ 1. การจัดนิทรรศการ เปนกิจกรรมที่มีคาใชจายในการดําเนินการต่ํา สามารถจัดทํา ภาพชุดนิทรรศการไดจากเรื่องราวภายในสถานประกอบการเอง โดยนําภาพชุดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น สถิติการประสบอันตรายของพนักงาน เมื่อมีภาพเหตุการณจริงใหระบุสาเหตุ ผลเสียหาย และวิธีการปองกันแกไข นิทรรศการสามารถจัดแสดงในวันแหงความปลอดภัย หรือสัปดาหความปลอดภัยเพื่อใหพนักงานเกิดความตระหนักและมีจิตสํานึกในการทํางานอยางปลอดภัย และทําใหพนักงานมีสวนรวมไดเปนจํานวนมาก 2. การบรรยายพิเศษ เปนกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจของพนักงาน อาจเชิญวิทยากรภายในหนวยงานหรือจากภายนอกก็ได มาใหขอแนะนําแกผูบริหารหรือพนักงาน ของสถานประกอบการนั้น อันเปนการปลูกจิตสํานึกใหปฏิบัติตามกฎแหงความปลอดภัย จนเกิดประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด 3. การสนทนาความปลอดภัย เปนกิจกรรมหนึ่งที่สถานประกอบการจัดในรูปของการประชุม การพูดคุย หรือการอภิปรายเกี่ยวกับความปลอดภัย มีการสนทนา โดยนําผูชํานาญการเฉพาะเรื่องมารวมสนทนาพรอมทั้งเปดโอกาสใหมีการซักถาม ทําใหเกิดแนวคิดสรางสรรค และไดขอสรุปนําไปดําเนินการตอไป 4. การประกวดคําขวัญความปลอดภัย เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหพนักงานทุกระดับไดมีสวนรวม ในการรณรงคโดยการพัฒนาจิตสํานึกและทัศนคติของพนักงานในรูปขอความ หรือคําขวัญที่เปนการเตือนใหเกิดความระมัดระวัง หรือเสริมสรางความปลอดภัยในการทํางาน สถานประกอบการสามารถจัดการประกวดเอง สวนกติกาการประกวดอาจกําหนดขึ้นเองหรือจะขอไดจากสถาบันความปลอดภัยในการทํางาน คําขวัญที่ชนะการประกวดจากสถานประกอบการสามารถสงประกวดในงานสัปดาหความปลอดภัยในการทํางานแหงชาติได 5. การประกวดการรายงานสภาพงาน ที่ไมปลอดภัยเปนกิจกรรมเพื่อใหพนักงานไดสํารวจสภาพการทํางานคนหา จุดที่ไมปลอดภัย ดําเนินการถายภาพ บันทึกจากจุดอันตรายจาก

Page 27: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

17

ขั้นตอนการทํางานตาง ๆ เสนอภาพและรายงานขอเสนอแนะตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือก สามารถนํามาปรับปรุงแกไขสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย 6. การรณรงคการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เมื่อสถานประกอบการไดจัดอุปกรณคุมครองความปลอดภัย ที่เหมาะสมใหพนักงานสวมใสแลว ควรจัดการรณรงคใหพนักงานใช เนื่องจากสถานประกอบการ สวนใหญจะประสบปญหาพนักงานไมนิยมใช ทําใหเกิดการสูญเปลา การรณรงคจะดําเนินการในชวงใดชวงหนึ่ง มีการประกวดแขงขันใหรางวัลแกพนักงานที่สวมใสถูกตองและครบถวน 7. การรณรงคกิจกรรม 5 ส.สถานประกอบการตองประกาศเปนนโยบาย และจะตองกระทํา โดยพนักงานทุกคนทุกระดับ โดยมีผูบริหารระดับสูงลงมาตรวจตราเปนระยะ ๆ เพื่อกระตุนเตือน ใหทุกฝายเห็นความสําคัญและปฏิบัติกิจกรรม 5 ส. อยางสม่ําเสมอ 8. การรณรงคดวยโปสเตอรและสัญลักษณความปลอดภัยโปสเตอรและอุปกรณความปลอดภัยเปนอุปกรณอยางหนึ่ง ในการเตือนใหระวังและสรางจิตสํานึกของคนงานใหเกิดความตระหนักถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น โปสเตอรตาง ๆ นอกจากสถานประกอบการสามารถจัดทําขึ้นเอง หรือขอจากหนวยงานของรัฐ ไดแก สถาบันความปลอดภัยในการทํางานและศูนยความปลอดภัยฯ ทุกแหง เปนตน 9. การทําแผนปายแสดงสถิติอุบัติเหตุหรือปายประกาศ สถานประกอบการสามารถทําแผนปายขนาดใหญแสดงสถิติอุบัติเหตุ หรือปายประกาศกิจกรรมดานความปลอดภัยปดไวหนาโรงงานในตําแหนงที่เห็น ไดชัดเจนบางแหงอาจเขียนไวขางฝาดานหนาของโรงงานเพื่อใหคนงานมีจิตสํานึกใหความรวมมือในการลดสถิติของอุบัติเหตุ 10. การเผยแพรบทความในวารสาร สถานประกอบการอาจจัดทําวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ แจกจายแกพนักงาน หรือลูกคา สามารถนําบทความเกี่ยวกับความปลอดภัยไปตีพิมพในวารสาร เพื่อเผยแพรความรู ความเขาใจดานความปลอดภัยไดมากยิ่งขึ้น

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู 2.2.1 ความหมายของความรู นักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิ ไดใหความหมายเกี่ยวกับความรู (Knowledge) ไวหลายทานดังนี้ บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2538: 7) ความรู หมายถึง การระลึกถึงเรื่องราวตาง ๆ ที่เคยมี

ประสบการณมาแลวได และรวมถึงการจําเนื้อเร่ืองตาง ๆ ทั้งที่ปรากฏอยูในแตละเนื้อหาวิชาและที่เกี่ยวพันกับเนื้อหาวิชานั้นดวย เชน ระลึกหรือจําไดถึงวัตถุประสงค วิธีการ แบบแผน และเคาโครงของเรื่องนั้น ๆ

Page 28: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

18

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526: 10) ไดสรุปวา ความรู เปนพฤติกรรมขั้นตนซึ่งผูเรียนเพียงแตจําได อาจจะโดยการสํานึก หรือการมองเห็น ไดยิน จําได ความรูในที่นี้ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง วิธีการแกปญหาเหลานี้เปนตน

จิตรา วสุวานิช (2523: 6) ไดใหคําจํากัดความของความรู ความจํา วาหมายถึง การจําขอเท็จจริง เร่ืองราว รายละเอียดที่ปรากฏในตําราหรือส่ิงที่ไดรับการบอกกลาวได

อนันต ศรีโสภา (2525 อางถึงใน จิรวรรณ สุตสุนทร, 2551:16) กลาววาความรู หมายถึงความจําในสิ่งที่เคยมีประสบการณมากอนโดยมีความหมายครอบคลุมถึงความรูเกี่ยวกับเนื้อหา วิชาเฉพาะ เชน ความรูเกี่ยวกับความจริงตางๆ ความรูเกี่ยวกับวิธีการและการดําเนินงานที่เกี่ยวกับส่ิงใดสิ่งหนึ่ง

จึงพอสรุปไดวา ความรู (Knowledge) หมายถึงขอเท็จจริง กฎเกณฑขอมูลและขาวสารตางๆ ที่ไดรับจากประสบการณ และรวบรวมเปนความจําเก็บสะสมไว และแสดงออกมาเปนพฤติกรรมใหปรากฏสังเกตได

2.2.2 เคร่ืองมือท่ีใชวัดความรู บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2535 อางถึงใน ศุภฤกษ ดวงขวัญ, 2548: 25-26)ไดกลาวไววา

เครื่องมือที่ใชวัดความรู มีหลายชนิด แตละชนิดมีความเหมาะสมกับการวัดความรูตามคุณลักษณะที่แตกตางกันไป สําหรับเครื่องมือที่ใชวัดความรูที่นิยมใชกันมากคือ แบบทดสอบ (Test) ประเภทของแบบทดสอบมีลักษณะตางกันมาก ทั้งในรูปแบบการนําไปใชและจุดมุงหมายในการสรางขึ้น ซ่ึงสามารถแบงแบบทดสอบ ออกเปน 3 ประเภท ไดแก

1) แบบทดสอบความเรียง (Essay Test) เปนแบบทดสอบที่กําหนดคําถามใหผูตอบจะตองเรียงคําตอบเอง ลักษณะเดนอยูที่ใหอิสระแกผูตอบ ผูตอบจะตองเรียงความรู ความเขาใจ และความคิดเห็นแลวเขียนคําตอบเองตามที่ถนัด ผูตอบตองใชเวลาสวนมากไปในการคิด และเขียนคําตอบ

2) แบบทดสอบแบบตอบสั้น (Short Answer Test) เปนแบบที่กําหนดใหและกําหนดให ตอบสั้น ๆ ผูตอบตองหาคําตอบเองเหมือนกับแบบความเรียง แตจํากัดคําตอบใหตอบ

3) แบบทดสอบและแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Item Test) เปนแบบที่กําหนดใหทั้งคําถามและคําตอบ ผูตอบจะตองเลือกคําตอบที่กําหนดให ลักษณะเดนของแบบทดสอบแบบเลือกตอบจะตองใชเวลาสวนมากไปในการอานและคิด สวนการตอบใชเวลานอย การตรวจวิเคราะหทําไดงายและสะดวก

Page 29: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

19

2.3 แนวคิดเรื่องทัศนคติ (Attitudes) ทัศนคติ หรือแนวโนมที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสนองตอบตอส่ิงแวดลอมหรือส่ิงเรา ซ่ึงอาจจะเปนไดทั้งคน วัตถุส่ิงของ หรือความคิด ทัศนคติอาจจะเปนบวกหรือลบ ถาบุคคลมีทัศนคติบวกตอส่ิงใด ก็จะมีพฤติกรรมที่จะเผชิญกับสิ่งนั้น ถามีทัศนคติลบก็จะหลีกเลี่ยง ทัศนคติเปนสิ่งที่เรียนรูและเปนการแสดงออกของคานิยมและความเชื่อของบุคคล (สุรางค โควตระกูล, 2541: 367) 2.3.1 ทัศนคติมีลักษณะดังตอไปนี้

2.3.1.1 ทัศนคติเปนสิ่งที่เรียนรู 2.3.1.2 ทัศนคติเปนแรงจูงใจที่จะทําใหบุคคลกลาเผชิญกับสิ่งเราหรือหลีกเลี่ยง

ดังนั้น ทัศนคติจึงมีทั้งบวกและลบ เชน ถานักเรียนมีทัศนคติบวกตอวิชาคณิตศาสตร นักเรียนจะชอบคณิตศาสตร และเมื่ออยูช้ันมัธยมศึกษา ก็จะเลือกเรียนแขนงวิทยาศาสตร ตรงขามกับนักเรียนที่มีทัศนคติลบตอคณิตศาสตรก็จะไมชอบหรือไมมีแรงจูงใจที่จะเรียน เมื่ออยูช้ันมัธยมศึกษาก็จะเลือกเรียนทางสายอักษรศาสตรทางภาษา เปนตน

2.3.1.3 ทัศนคติประกอบดวยองคประกอบ 3 อยางคือ องคประกอบเชิงความรูสึก อารมณ (Affective Component) องคประกอบเชิงปญญาหรือการรูคิด (Cognitive Component) องค ประกอบเชิงพฤติกรรม (Behavioral Component)

2.3.1.4 ทัศนคติเปลี่ยนแปลงไดงาย การเปลี่ยนแปลงทัศนคติอาจจะเปลี่ยนแปลงจากบวกเปนลบหรือจากลบเปนบวก ซ่ึงบางครั้งเรียกวา การเปลี่ยนแปลงทัศนคติหรืออาจจะเปลี่ยนแปลงความเขมขน (Intensity) หรือความมากนอย ทัศนคติบางอยางอาจจะหยุดเลิกไปได

2.3.1.5 ทัศนคติเปลี่ยนแปลงตามชุมชนหรือสังคมที่บุคคลนั้นเปนสมาชิก เนื่องจากชุมชนหรือสังคมหนึ่ง ๆ อาจจะมีคานิยมที่เปนอุดมการณพิเศษเฉพาะ ดังนั้นคานิยมเหลานี้จะมีอิทธิพลตอทัศนคติของบุคคลที่เปนสมาชิก ในกรณีที่ตองการเปลี่ยนทัศนคติ จะตองเปลี่ยนคานิยม

2.3.1.6 สังคมประกิต (Socialization) มีความสําคัญตอพัฒนาการทัศนคติของเด็ก โดยเฉพาะทัศนคติตอความคิดและหลักการที่เปนนามธรรม เชน อุดมคติ ทัศนคติตอเสรีภาพในการพูด การเขียน เด็กที่มาจากครอบครัวที่มีสภาพเศรษฐกิจสังคมสูง จะมีทัศนคติบวกสูงสุด

Page 30: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

20

จากลักษณะของทัศนคติที่กลาวถึงขางตน พบวา องคประกอบระหวางความเขาใจ

ความรูสึก และพฤติกรรม เปนตัวกําหนดทัศนคติและการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ดังแสดงใหเห็นในภาพดานลางนี้ ภาพที่ 2.7 องคประกอบของทัศนคติ 3 ประการ ที่มา: Gibson et al. 2000 : 103

2.3.2 ประเภทของทัศนคติ ทัศนคติของคนงานทางดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จะสามารถสื่อถึง

จิตสํานึก เร่ืองความปลอดภัยในการทํางานได ทัศนคติของบุคคลแบงออกเปน 3 ประเภทคือ

1) ทัศนคติเชิงบวกหรือที่ดีเปนทัศนคติที่ชักนําใหบุคคลแสดงออกถึงความรูสึก อารมณจากสภาพจิตใจโตตอบในดานดีตอบุคคลอื่น หรือเร่ืองราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทั้งหนวยงาน องคกร สถาบัน การดําเนินการขององคกรและอื่น ๆ

2) ทัศนคติเชิงลบหรือไมดี คือ ทัศนคติที่สรางความรูสึกเปนไปในการเสื่อมเสีย ไมไดรับความเชื่อถือหรือไววางใจ อาจมีความเคลือบแคลง ระแวง สงสัย รวมทั้งเกลียดชังตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือเรื่องราวหรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือหนวยงาน องคกร สถาบัน การดําเนินการขององคกรและอื่น ๆ

3) ทัศนคติที่บุคคลไมแสดงความคิดเห็นในเรื่องราวหรือปญหาใดปญหาหนึ่งหรือตอบุคคล หนวยงาน สถาบัน องคกรและอื่นๆ โดยส้ินเชิง

องคประกอบของงาน

- การออกแบบงาน - รูปแบบการจัดองคกร - นโยบายบริษัท - เทคโนโลย ี- เงินเดือน - ผลประโยชนพิเศษที่ใหลูกนอง

องคประกอบของงาน

- ความรูสึก - ความเขาใจ

- พฤติกรรม

องคประกอบของงาน

- อารมณ - การกําหนดเกี่ยวกับความผูกพัน - การรับรู - การกําหนดเกี่ยวกับความเชื่อ - การกระทํา - การกําหนดเกี่ยวกับพฤติกรรม

ตัวกระตุน ทัศนคติ ผลลัพธ

Page 31: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

21

2.3.3 การวัดทัศนคติ การวัดทัศนคติเปนเรื่องที่ไดรับความสนใจอยางสูงในการทําการวิจัย (กุณฑรีย เวชสาร, 2542: 95) เพราะผูทําการวิจัยตองการทราบความรูสึกนึกคิดของกลุมประชากร ความยากลําบากในการวัดทัศนคติประการหนึ่งก็คือ ทัศนคติเปนสื่อที่เกิดขึ้นภายในความรูสึกนึกคิด มิใชส่ิงที่วัดไดโดยงาย เพราะทัศนคติเปนสิ่งที่มองไมเห็น กระบวนการวัดทัศนคติจะเนนที่การวัดความเชื่อและความรูสึก เทคนิคของการตั้งคําถามแบงออกเปน 2 เทคนิคใหญๆ คือ เทคนิคในการติดตอส่ือสารกับผูถูกถามและเทคนิคที่ใชในการสังเกต

1. เทคนิคในการติดตอส่ือสาร สามารถจําแนกไดดังนี้ 1.1 ใหผูถูกถามตอบแบบวัดทัศนคติอยางตรงไปตรงมา วิธีนี้กลุมตัวอยางจะ

ถูกตั้งคําถามเกี่ยวกับความเชื่อหรือความรูสึก 1.2 ใหผูถูกถามตอบคําถามโดยออม เชน ใหผูถูกถามดูรูปและตอบคําถาม

เกี่ยวกับรูปที่เห็น การเลาเรื่อง และการทําใหประโยคสมบูรณ 1.3 ใหผูถูกถามทําอะไรบางอยาง กลุมตัวอยางจะถูกถามเกี่ยวกับขอมูลโดย

การตอบจะอาศัยความทรงจาํหรือประสบการณที่เคยมี 2. เทคนิคที่ใชการสังเกต

2.1 การสังเกตจากพฤติกรรม เทคนิคนี้มีขอสมมติฐานวา พฤติกรรมหรือการแสดงออกของมนุษยขึ้นอยูกับความเชื่อและความรูสึก

2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัย

2.4.1 ความหมายของพฤติกรรม ไดมีผูใหความหมายของพฤติกรรม ดังตอไปนี้

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526: 10) กลาวถึงพฤติกรรมวา พฤติกรรม หมายถึง กิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทํา ไมวาสิ่งนั้นจะสังเกตเห็นได หรือ ไมได เชน การทํางานของหัวใจ การทํางานของกลามเนื้อ การเดิน การพูด การคิด ความร ูสึก ความชอบ ความสนใจ เปนตน กมลรัตน หลาสุวงษ (2524: 132) กลาววา พฤติกรรม คือ การแสดงออกของบุคคลตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต (2543: 3) ไดใหความหมายของพฤติกรรมวา คือ ส่ิงที่บุคคลกระทําแสดงออก ตอบสนองหรือโตตอบสิ่งใดสิ่งหนึ่งในสถานการณใดสถานการณหนึ่งที่สามารถสังเกตได

Page 32: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

22

ลิขิต กาญจนาภรณ (2525: 44) ใหความหมายวา พฤติกรรม หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ก็ตามของอินทรียที่สังเกตไดโดยคนอื่น หรือโดยเครื่องมือของผูทดลอง เชน เด็กรับประทานอาหาร ขี่จักรยาน พูด หัวเราะ และรองไห กิริยาเหลานี้กลาวถึงพฤติกรรมทั้งสิ้น การสังเกตพฤติกรรมอาจทําไดโดยใชเครื่องมือเขาชวย เชน การใชเครื่องตรวจคลื่นสมอง เปนตน สิทธิโชค วรานุสันติกุล (2546: 126) ใหความหมายวา พฤติกรรม หมายถึง การกระของอินทรีย (Organisor) หรือส่ิงมีชีวิตการกระทํานี้รวมถึงการกระทําที่เกิดขึ้นทั้งที่ผูกระทํารูตัว หรือไมรูตัวก็ตาม และไมวาการกระทํานั้นผูอ่ืนจะสังเกตเห็นไดหรือไมก็ตาม เชน การเดิน การพูด หรือ การคิด การรับรู เปนตน สุพัตรา โทวราภา (2538: 6) ไดสรุปวา พฤติกรรม คือ การแสดงออกของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งที่สามารถสังเกตไดในสถานการณนั้น ๆ

สุชาดา สุธรรมรักษ (2531: 6-8) ใหความหมายไววา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําทุกอยางของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงในที่นี้จะเนนการกระของมนุษย ไมวาการกระทํานั้นผูกระทํารูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม แตไมวาการกระทํานั้นผูอ่ืนจะสังเกตเห็นไดหรือไมไดก็ตาม เชน การเดิน การพูด หรือ การคิด การรับรู เปนตน

จากความหมายดังกลาวขางตนสามารถสรุปไดวา พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา หรือการแสดงออกของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งภายใตสถานการณนั้น

พฤติกรรมมนุษยนั้นเกิดจากความสัมพันธระหวางอิทธิพลภายในตัวบุคคลกับอิทธิพลภายนอกที่แตละคนรับรูดวย บุคคลจะมีพฤติกรรมอะไร อยางไร และเมื่อไร จึงไมไดถูกกําหนดโดยความตองการของมนุษยหรือโดยสิ่งเราภายนอกอยางใดอยางหนึ่ง แตถูกกําหนดโดยอิทธิพลมากมายทั้งหลาย ทั้งภายในและภายนอกที่สัมพันธกันตามที่เปนประสบการณของบุคคล พฤติกรรม ยอมขึ้นอยูกับความสัมพันธระหวางอิทธิพลตาง ๆ ของบุคคล กับ สภาพแวดลอมที่บุคคลนั้นรับรู สภาพแวดลอมนี้ จึงไมใชสภาพแวดลอมที่ปรากฏจริง และไมไดหมายถึงสภาพแวดลอมกายภาพแตอยางเดียว แตรวมไปถึงสภาพแวดลอมทางสังคม และ วัฒนธรรมดวย ซ่ึงสอดคลองกับ ประเทือง ภูมิภัทราคม (2535: 28) ที่กลาววา พฤติกรรมของมนุษยนั้น เกิดจากการเรียนรู โดยเฉพาะกลุมนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมนั้น มีความเชื่อวา พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู ไมรวมพฤติกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของระบบสรีระและระบบประสาท โดยพยายามศึกษาถึงความสัมพันธระหวางสิ่งเราหนึ่ง กับอีกสิ่งเราหนึ่งที่มีผลตอพฤติกรรม และศึกษาถึงความสัมพันธระหวางพฤติกรรมหนึ่งกบัอีกพฤติกรรมหนึ่ง โดยเนนพฤติกรรมภายนอกเปนสําคัญ

Page 33: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

23

2.4.2 ประเภทของพฤติกรรม โยธิน ศันสนยุทธ และจุมพล พูลภัทรชีวิต (2524: 66) ไดกลาววา พฤติกรรม

หมายถึง การกระทําตาง ๆ ของมนุษย หรือสัตว แบงออกเปน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายใน

พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) ไดแก พฤติกรรมที่ผูอ่ืนสามารถจะสังเกตไดโดยตรง เปนการสังเกตโดยผานประสาทสัมผัส แบงยอยออกเปน พฤติกรรมที่สังเกตไดโดยตรง โดยไมตองใชเครื่องมือชวย บางคนเรียกพฤติกรรมนี้วา พฤติกรรมโมลาร (Molar Behavior) เชน พฤติกรรมกินอาหาร อาปาก หัวเราะ รองไห หรือ ถีบจักรยาน เปนตน พฤติกรรมที่สังเกตไมไดโดยตรง โดยไมตองใชเครื่องมือชวย บางคนเรียกพฤติกรรมประเภทนี้วา พฤติกรรมโมเลกุล (Molecular Behavior) เชน การเตนของหัวใจ ดูจากเครื่องมือแพทย พฤติกรรมการโกหก ตํารวจใชเครื่องจับเท็จ หรือความดันโลหิตดูจากเครื่องวัดความดันโลหิต เปนตน

พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ไดแก พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในตัวบคุคล จะรูสึกตัวหรือไมรูสึกตัวก็ตาม เปนพฤติกรรมที่ผูอ่ืนไมสามารถจะทําการสังเกตไดโดยตรง ถาหากวาผูเปนเจาของพฤติกรรมนั้นไมบอก หรือไมแสดงออก แบงยอยออกเปน พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยรูสึกตัว เกิดขึ้นโดยที่เจาของพฤติกรรมรูวามันเกิดแตสามารถจะควบคุมความรูสึกตาง ๆ ที่เกิดขึ้นได และไมบอกหรือไมแสดงออก เชน ปวดฟน หิว โกธร ตื่นเตน เปนตน พฤติกรรมภายในที่เกิดขึ้นโดยไมรูสึกตัวแตมีผลของพฤติกรรมภายนอกของบุคคลนั้น เชน ความคิด ความปรารถนา ความคาดหวัง ความรัก ความสุข เปนตน

2.4.3 ขอบเขตของพฤติกรรมมนุษยในองคการ ในแตละองคการจะมีพฤติกรรมเกิดขึ้น 3 ระดับ คือ

1) พฤติกรรมปจเจกบุคคล (Individual Behavior) คือ การแสดงออก และการปฏิบัติของบุคคลเปนรายบุคคล ซ่ึงจะไดรับอิทธิพลจากตนเหตุของพฤติกรรมในดานตางๆ เชน การรับรู สติปญญา ความสามารถ เจตคติ คานิยม บุคลิกภาพ และแรงจูงใจ บุคคลที่มีปจจัยตน เหตุเหลานี้ตางกันก็จะแสดงพฤติกรรมแตกตางกัน

2) พฤติกรรมกลุม (Group Behavior) คือ การแสดงออกและ การปฏิบัติเปนหมูคณะของบุคคลที่จะมีความสัมพันธตอกัน รวมมือกันเพื่อสรางผลผลิตของ หมูคณะในองคการพฤติกรรมกลุมมีตนเหตุของพฤติกรรมมาจากการกําหนดฐานะหนาที่ของบุคคลในกลุม มาจากปทัสถานของกลุมความเปนผูนําของบุคคลที่มีหนาที่ตางๆ กัน ผลของพฤติกรรม จะเกิดเปนพลังกลุมที่จะสงผลตอความคิด การปฏิบัติและผลผลิตของหมูคณะ

Page 34: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

24

3) พฤติกรรมองคการ (Organizational Behavior) คือ สวนรวมของพฤติกรรม ปจเจกบุคคล และพฤติกรรมกลุมที่รวมเปนสังคมในองคการ ไดรับอิทธิพลจากโครงสรางขององคการ นโยบาย เปาหมายทรัพยากร เครื่องมือเทคโนโลยี และการบริหารการจัดการในองคการจะ เปนสิ่งกําหนดลักษณะพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และผลผลิตของบุคคลทั้งหมดในองคการ (สมใจลักษณะ, 2542: 74) 2.4.4 ความหมายของพฤติกรรมความปลอดภัย ในการทํางาน จากไดที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน หมายถึง ลักษณะของการกระทําหรือแสดงออกของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่ึงอยูภายใตสภาวะที่ปราศจากอันตรายการเกิดอุบัติเหตุ รวมถึงปราศจากโอกาสเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ พิการ ตาย อันเนื่องมาจากการทํางาน ทั้งตอบุคคล ทรัพยสิน และสิ่งแวดลอม สมถวิล เมืองพระ (2537: 54) กลาววา ตามหลักพฤติกรรมศาสตรแลว พฤติกรรมความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได ตองมีปจจัยตาง ๆ หลายประการดวยกัน สามารถจําแนกได 3 ลักษณะ คือ ปจจัยที่ชวยโนมนาวบุคคลใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัยเปนปจจัยที่เกี่ยวของกับความรู ความเขาใจ ความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมของบุคคลที่มีตอเร่ืองใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมอนามัยของบุคคล ซ่ึงพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นจากการเรียนรู หรือประสบการณที่ไดรับจากการเรียนรูของแตละบุคคลซึ่งสวนใหญมักจะไดรับทั้งในทางตรงและทางออม หรือจากการเรียนรูดวยตนเอง ปจจัยที่ชวยสนับสนุนใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัย เปนปจจัยที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลตาง ๆ มีโอกาสที่จะใชบริการหรืออุปกรณ รวมถึงสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูและจัดหาไวใหอยางทั่วถึง ไดแก สถานพยาบาล แหลงอาหาร หรืออุปกรณปองกันความปลอดภัย เปนตน

เปนปจจัยที่ชวยสงเสริมใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัย เปนปจจัยที่นอกเหนือจากปจจัยดังกลาวขางตน ไดแก ปจจัยที่เกิดจากการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานทั้งทางตรงและทางออม เชน ครอบครัว ญาติ เพื่อน นายจาง และบุคลากรอื่น ๆ รวมถึงบุคคลที่เปนสิ่งแวดลอมในสังคมภายนอกบานหรือที่ทํางานดวย ซ่ึงบุคคลเหลานี้จะมีอิทธิพลตอการปลูกฝงหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยโดยการสั่งสอน อบรม กระตุนเตือน การชักจูง การเปนตัวอยาง การควบคุมดูแลรวมถึงการสงเสริมใหเกิดการกระทํา หรือ การปฏิบัติที่ถูกตองและเหมาะสมที่จะนําไปสูการมีสุขภาพ หรือพฤติกรรมอนามัยตามเปาหมายที่กําหนด จากที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา พฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานจะเกิดขึ้นไดตองประกอบดวย 3 ปจจัยดวยกัน คือ ปจจัยที่ชวยโนมนาว ปจจัยที่สนับสนุน และปจจัยที่สงเสริมใหเกิดพฤติกรรมความปลอดภัยขึ้น ถาขาดปจจัยหนึ่งปจจัยใดไปจะสามารถนํามาซึ่งการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานนั้นขึ้นได

Page 35: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

25

2.4.5 หลักการทางพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภยัในการทํางาน หลักการพฤตกิรรมการบริหารนี้ เปนหนาที่ของผูบริหารทุกระดับ หรือเปนงานของฝายจัดการ ซ่ึงนับวาเปนหวัใจของงานความปลอดภัยในการทํางานเลยทีเดยีว เพราะการปฏิบัติงานทุกอยาง ถาขาดผูบริหารที่ดีและเกงแลวงานนั้นสําเร็จไดยาก หรือสําเร็จไดแตคุณภาพของผลผลิตก็อาจต่ําลงได ความพอใจในการทํางานและความปลอดภัยในการทํางานอาจไมมีกย็อมเปนได

พฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการงานก็เชนเดียวกัน ถาขาดผูบริหารที่เปนผูนําที่ดีและมีความสามารถแลว ก็อาจทําใหเกิดความไมปลอดภัยในการทํางานได ผูบริหารเปรียบเสมือนเข็มทิศที่คอยบอกทางใหผูเดินทางไปสูจุดหมายปลายทางอยางปลอดภัย และเปนเสมือนนายทายเรือที่คอยควบคุมเรือใหไปสูจุดหมายไดอยางปลอดภัย หนาที่ของผูบริหารจะตองกําหนดนโยบาย วางแผนเพื่อใหผูปฏิบัติงานมีพฤติกรรมที่พึงประสงค ไมเสี่ยงตอการเกิดอันตรายในการปฏิบัติงาน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน มีความพอใจ มีขวัญกําลังใจ เปนตน ดังนั้นพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานจึงตองเนนการรวมมือกันของบุคคลทุกระดับ คือ โดยผูบริหารแตละระดับมีหนาที่แตกตางกันจะแสดงใหเห็นขอแตกตางกันในแงของการรับผิดชอบตองานหรือลักษณะของงานของผูบริหารระดับตาง ๆ เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน โดยผูบริหารระดับสูงจะรับผิดชอบในดานการวางแผนเปนสวนใหญ ขณะที่ผูบริหารระดับตนจะรับผิดชอบมากในดานการควบคุม เปนตน

พฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานก็คือ การนําหลักวิชาการบริหาร ซ่ึงไดแก ความรูเกี่ยวกับการวางแผน การจัดองคการ การอํานวยการ และการควบคุมงานมาประยุกตในพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะแนวคิดสําคัญของหลักการทางพฤติกรรมบริหารความปลอดภัยในการทํางานที่ผูบริหารควรทราบ ซ่ึงประกอบดวยหลักการ 4 ประการ

1) การวางแผนเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ผูบริหารจะตองแสดงพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานอยางจริงใจและตัดสินใจในการจัดรูปความคิดเพื่อแกปญหาความปลอดภัยในการทํางานเปนระบบ โดยสามารถวิเคราะหถึงสถานการณ อาการและสาเหตุของปญหาความปลอดภัยในการทํางานที่จะตองแกไข การประเมินความเปนไปไดในกลยุทธของการแกไขปญหาความปลอดภัยในการทํางาน การสรรหาทรัพยากรดานความปลอดภัยในการทํางาน การสรางแนวรวมทางความคิดกับผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และการวางระบบกํากับดูแลแผนงานที่มีประสิทธิภาพ

การวางแผนเพื่อความปลอดภัยในการทํางานเปนเครื่องชี้ความสามารถและพฤติกรรมการบริหารที่สําคัญยิ่ง องคการหรือหนวยงานจะประสบความสําเร็จหรือลมเหลวใน

Page 36: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

26

ดานตาง ๆ ซ่ึงรวมถึงดานความปลอดภัยในการทํางานดวย สวนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารในองคการมีความรูและทักษะเกี่ยวกับการวางแผนเพื่อความปลอดภัยในการทํางานมากนอยเพียงใด

2) การจัดองคการเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ผูบริหารจะตองแสดงพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยอยางเหมาะสม โดยการวางโครงสรางการบริหารดานความปลอดภัยในการทํางานทั้งแนวนอนแนวดิ่ง การกําหนดโครงสรางหนวยงานดานความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมสอดคลองกับโครงสรางหลักขององคการ กําหนดสายงานดานความปลอดภัยในการทํางาน และการบังคับบัญชาที่เอื้ออํานวยใหการบริหารงานดานความปลอดภัยในการทํางานมีเอกภาพและบรรลุผลสําเร็จ การวางกระบวนการของงานที่สงผลรวดเร็วฉับไว และการวางตัวบุคคลผูรับผิดชอบซึ่งแตละคนสามารถแสดงความรู ความสามารถ ความตั้งใจ ความพอใจในการทํางานไดอยางเต็มที่ หรือการจัดงานใหเหมาะกับคน หรือวาจัดคนใหเหมาะกับงาน เปนตน เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีพฤติกรรมความปลอดภัยมากขึ้นตามวัตถุประสงคที่วางไว

ดังนั้น การจัดองคการเพื่อความปลอดภัยในการทํางานก็ คือ การวางระเบียบกฎเกณฑใหกิจกรรมตาง ๆ ขององคการดานความปลอดภัยดําเนินไปใหไดสัดสวนกันโดยกําหนดวาใครมีหนาที่ทําอะไรมีอํานาจหนาที่ และ ความรับผิดชอบอยางไร มีความพรอมที่จะใหตรวจสอบได ทั้งนี้เพื่อใหการดําเนินการดานความปลอดภัยในการทํางานขององคการบรรลุตามแผนที่กําหนดไว

3) การอํานวยการเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ผูบริหารจะตองแสดงพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ โดยการสงเสริมเพื่อใหผูใตบังคับบัญชาทุกคนทํางานดวยความเชื่อมั่นดวยมีเปาหมายที่ชัดเจนแนนอน ดวยขวัญกําลังใจที่ดี การพัฒนาทีมงานและผูนําในระดับรองเพื่อใหสามารถแทนกันไดอยางตอเนื่องและไมยึดติดตัวบุคคล การสื่อสารขอมูลทุกรูปแบบที่สรางความเขาใจที่ดีงาม ในหนวยงานและการประสานงานทีม่ีหลักการรวมมือหนวยงาน และความยืดหยุนที่เหมาะสม การจูงใจการสนับสนุน การใหความสะดวก การใหความสบายใจการยิ้มแยมแจมใส การใหเกียรติตนเองและใหเกียรติผูอ่ืน การทํางานเปนทีมเหลานี้เปนพฤติกรรมบริหารเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน

4) การควบคุมงานเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ผูบริหารจะตองแสดงพฤติกรรมกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานอยางมีความยุติธรรม โดยการกํากับการเพื่อใหนโยบายวัตถุประสงคและเปาหมายขององคการบรรลุผลสําเร็จตามที่ไดตั้งไว การติดตามดูแลการทํางานในขั้นตอนที่สําคัญเพื่อชวยแกปญหาอุปสรรครวมปรึกษาหารือเพื่อปรับแผนและวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมการประเมินผลงาน รวมทั้งการสนใจและการใหความชวยเหลืออยางใกลชิด ความเปนกันเองทั้งเรื่องงานและเรื่องสวนตัวของผูใตบังคับบัญชา รวมความก็คือคอยควบคุมดูแล

Page 37: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

27

ทั้งสภาพแวดลอมในการทํางาน และคนในขณะทํางานเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน เหลานี้เปนพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน

อยางไรก็ตามพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทํางานนั้น ผูบริหารตองตระหนักไวเสมอวา จะตองดําเนินการเพื่อใหบรรลุผลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานโดยอาศัยผูอ่ืน ผูบริหารจะตองมีการกําหนดวัตถุประสงค วางนโยบาย วางแผน จัดรูปองคการ จัดอัตรากําลังการทํางบประมาณ การรายงานการควบคุม และการประเมินผลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และผูบริหารจะตองมีการแกปญหา การตัดสินใจ การจูงใจ และการสรางภาวะผูนําเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน

2.4.6 ปจจัยในการกําหนดพฤติกรรมเสี่ยง ถาบุคคลมีทัศนคติที่ดีตอการทํางานอยางปลอดภัยและเห็นประโยชนที่เกิดขึ้นตอการกระทําดังกลาวแลวก็จะนําไปสูความตั้งใจที่จะลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ซ่ึงทั้งหมดก็แสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมนั้นเอง

กลาววามนุษยทุกคนเมื่อมีความรูและความตระหนักเกิดขึ้นจะไปกระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมตอส่ิง ๆ ออกมาและถาบุคคลนั้นมีทัศนคติ (Attitude) ที่ดีมองเห็นประโยชนและคุณคาของการกระทํานั้น ๆ แลวส่ิงเหลานั้นก็จะนําไปสูความตั้งใจที่จะลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ออกมาไดซ่ึงทั้งหมดก็จะแสดงออกมาในรูปแบบของพฤติกรรมนั่นเอง และเชนเดียว กันกับความหวังทางสังคม ที่อยูรอบตัวบุคคลของแตละคน เมื่อทุกคนเห็นคุณคาหรือประโยชนแลวก็จะทําใหเกิดบรรทัดฐานทางสังคมของบุคคลขึ้นมา ซึงสิ่งเหลานี้สามารถทําใหบุคคลเกิดความตั้งใจที่จะลงมือปฏิบัติเปนพฤติกรรมที่แสดงออกมาได ซ่ึงจากแนวคิดนี้แสดงใหเห็นวาบรรทัดฐานทางสังคม จะมีอิทธิพลตอบุคคลรอบขางดาน

2.5 แนวคิดของการเกิดอุบัติเหตุ ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล (2532: 1) ไดใหความหมายของ อุบัติเหตุจากการทํางาน หมายถึง

เหตุการณที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญไมไดคาดคิดและไมไดควบคุมไวกอนในที่ทํางาน แลวผลทําใหคนเกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต และอาจทําใหทรัพยสินเสียหาย เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ (2543: 21 - 25) ไดรวบรวมทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุตาง ๆ ไว 3 ทฤษฎี คือทฤษฎีโดมิโน ทฤษฎีรูปแบบระบบความปลอดภัยของ บอบ ฟเรนซ และทฤษฎีรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา รายละเอียด มีดังนี้

2.5.1 ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) ของการเกิดอุบัติเหตุ ดังปรากฏในภาพที่ 2 - 2 สามารถเชื่อมโยงไดกับปรัชญาความปลอดภัยของ Heinrich เกี่ยวกับสาเหตุของอุบัติเหตุ ทฤษฎีโดมิโน กลาววา การบาดเจ็บและความเสียหายตาง ๆ เปนผลที่สืบเนื่องโดยตรงมาจากอุบัติเหตุ และอุบัติเหตุเปนผลมาจากการกระทําที่ไมปลอดภัย หรือสภาพการณที่ไมปลอดภัย ซ่ึงเปรียบเสมือนตัว

Page 38: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

28

โดมิโนที่เรียงกันอยู 5 ตัวใกลกัน เมื่อตัวหนึ่งลมยอมมีผลทําใหโดมิโนตัวถัดไปลมตามกันไปดวย ตัวโดมิโนทั้ง 5 ตัว ไดแก

1) บรรพบุรุษและสิ่งแวดลอมทางสังคม (Ancestry and Social Environment) ส่ิงแวดลอมทางสังคม และการประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมาจากอดีตทําใหแตละบุคคลมีพฤติกรรม ที่แสดงออกมาตาง ๆ กัน เชน ความสะเพรา ประมาทเลินเลอ ขาดความคิด ความไตรตรอง ความดื้อดึงดันทุรัง ความชอบในการเสี่ยงอันตราย ความตระหนี่เหนียวเห็นแตเงิน และลักษณะอื่น ๆ ที่ถายทอดทางกรรมพันธุ เปนตน

2) ความผิดปกติของบุคคล (Fault of Person) สุขภาพจิตและสิ่งแวดลอมทางสังคมเปนสาเหตุทําใหเกิดความผิดปกติของบุคคล เชน การปฏิบัติงานโดยขาดความยั้งคิด อารมณรุนแรง ประสาทออนไหวงาย ความตื่นเตน ขาดความรอบคอบ เพิกเฉยละเลยตอการกระทําที่ปลอดภัย เปนตนซึ่งความผิดปกติเหลานี้จะสงผลกระทบใหเกิดการกระทําที่ไมปลอดภัยและทําใหเครื่องจักรและการทํางานตองอยูในสภาพหรือสภาวะที่เปนอันตราย

3) การกระทําที่ไมปลอดภัย และหรือสภาพเครื่องจักรหรือสภาวะส่ิงแวดลอมที่เปนอันตราย (Unsafe Act and/or Mechanical or Physical Hazard) ตัวอยางการปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัยของบุคคล เชน ยืนทํางานภายใตของหนักที่แขวนอยูการติดเครื่องยนตโดยไมแจงหรือเตือน ชอบหยอกลอเลน ถอดเซฟการดของเครื่องจักรออก เปนตน ตัวอยางสภาพเครื่องจักรหรือสภาวะแวดลอมที่เปนอันตราย เชน ขาดเครื่องปองกัน จุดอันตราย เสียงดังเกินไป แสงสวางไมเพียงพอ การระบายอากาศไมดี เปนตน

ส่ิงที่เกิดจากการกระทําที่ไมปลอดภัยและสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย จะเปนสาเหตุโดยตรงที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ

4) การเกิดอุบัติเหตุ (Accident) เหตุการณที่มีสาเหตุปจจัยทั้ง 3 ลําดับมาแลวยอมสงผลใหเกิดอุบัติการณ เชน ตกจากที่สูง ล่ืนลม เดินสะดุด ส่ิงของหลนจากที่สูง วัตถุกระเด็นใส กระแทกหนีบหรือตัด เปนตน ซ่ึงอุบัติการณเหลานี้อาจจะเปนสาเหตุของการบาดเจ็บ

5) การบาดเจ็บ (Injury) ตัวอยางการบาดเจ็บที่เกิดกับอวัยวะบางสวนของรางกาย เชน กระดูกหักหรือแตก เคล็ดขัดยอก แผลฉีกขาด แผลไฟไหม เปนตนการบาดเจ็บเหลานี้เปนผลโดยตรงจากการเกิดอุบัติเหตุ

นั่นคือสภาพแวดลอมของสังคมหรือภูมิหลังของคนใดคนหนึ่ง ไมวาจะเปนสภาพครอบครัว ฐานะความเปนอยู การศึกษา ฯลฯ กอใหเกิดความบกพรองผิดปกติของบุคคลนั้นทําใหมีทัศนคติตอความปลอดภัยเปนผลใหเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึงกอใหเกิดการบาดเจ็บหรือความเสียหาย

Page 39: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

29

ดังนั้น หากเราจะแกไขโดมิโนตัวที่ 4 ไมใหลม เราตองกําจัดโดมิโนตัวที่ 3 คือ การกระทําหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยออกไปเสีย ภาพการทํางานที่ปลอดภัยก็จะเกิดขึ้นในที่สุด

2.5.2 ทฤษฎีรูปแบบระบบความปลอดภัยของบอบ ฟเรนซ (Firenze System Model) มีแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบระบบความปลอดภัยวา ในการศึกษาถึงสาเหตุของอุบัติเหตุ จะตองศึกษาองคประกอบทั้งระบบซึ่งมีปฏิกิริยาสัมพันธเกี่ยวของกัน องคประกอบดังกลาว ประกอบดวย คน (Man) เครื่องจักร (Machine) และส่ิงแวดลอม (Environment) ความสําคัญของ องคประกอบที่เปนสาเหตุของอุบัติเหตุแตละองคประกอบมีความสําคัญตอการตัดสินใจในการผลิตงาน และการเกิดอุบัติเหตุ ดังนี้

1) คนหรือผูปฏิบัติงาน (Man) ในการผลิตงานหรือทํางานในแตละชิ้น ผูปฏิบัติงานจําเปนตองตัดสินใจ เลือกวิธีปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งเพื่อใหงานบรรลุเปาหมาย แตการตัดสินใจในการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายในแตละครั้งนั้นยอมมีความเสี่ยง แอบแฝงอยูเสมอ ดังนั้นในการตัดสินใจแตละคร้ัง ผูปฏิบัติงานจะตองมีขอมูลขาวสาร ที่เพียงพอ ถาหากขอมูลขาวสารดี ถูกตองก็จะทําใหการตัดสินใจถูกตอง แตถาขอมูลไมถูกตองก็จะทํา ใหการตัดสินใจนั้นผิดพลาดหรือมีความเสี่ยงสูง และทําใหเกิดความลมเหลวในการทํางานซึ่งอาจจะสงผลใหเกิดอุบัติเหตุได

2) อุปกรณเครื่องจักร (Machine) อุปกรณเครื่องจักรที่ใชในการผลิตจะตองมีความพรอมปราศจากขอผิดพลาด ถาอุปกรณเครื่องจักรออกแบบไมถูกตอง ไมถูกหลักวิชาการหรือขาดการบํารุงรักษาที่ดียอมทําใหกลไกของเครื่องจักรปฏิบัติงานผิดพลาดซึ่งจะนําไปสูการเกิดอุบัติเหตุ

3) ส่ิงแวดลอม (Environment) สภาพการทํางานและสิ่งแวดลอมในการทํางานมีบทบาทสําคัญตอการผลิต ความผิดพลาดที่เกิดขั้นกับสิ่งแวดลอม ยอมกอใหเกิดปญหาตอผูปฏิบัติงานและเครื่องจักร ซ่ึงจะเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได ฉะนั้น กอนที่จะตัดสินใจทุกคร้ัง ผูปฏิบัติงานจะตองหาขอมูลเพื่อใหแนใจวาการตัดสินใจนั้นถูกตองโดยพิจารณาจากขอมูลประกอบการตัดสินใจ ซ่ึงประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับงานที่ตองปฏิบัติ และขอมูลเกี่ยวกับลักษณะอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น ถาหากขอมูลมีจํานวนและคุณภาพมากพอ ก็จะทําใหความเสี่ยงตาง ๆ ลดลงอยูในขีดจํากัดที่อาจสามารถควบคุมได โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุก็จะลดลงดวย (วิทยา, 2533: 23 - 24) จากเหตุผลดังกลาวขางตนองคการมีความจําเปนตองใหขอมูลแกผูปฏิบัติงานมากที่สุดเพื่อเปนประโยชนในการปฏิบัติงาน เชน ใหทราบนโยบายความปลอดภัย ทราบกฎ ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ มีการฝกอบรม เพื่อใหผูปฏิบัติงานไดรับขอมูลที่ดีในการทํา งาน

Page 40: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

30

เปนการชวยใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนการลดความผิดพลาดที่เกิดจากการตัดสินใจของผูปฏิบัติงานอีกดวย

2.5.3 ทฤษฎีรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา การบริหารงานความปลอดภัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกาไดพัฒนามากขึ้นเนื่องจากไดมีการนําเอาเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในการปองกันประเทศ กองทัพบกสหรัฐอเมริกาจึงไดศึกษาเทคโนโลยีทางดานความปลอดภัย ควบคูไปกับเทคโนโลยีในการผลิตและการใชดวยรูปแบบที่นําเสนอนี้เปนรูปแบบที่แสดงถึงการเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึงอางอิงสรุปเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ไดเปน 3 ประการ คือ

1) ความผิดพลาดของผูปฏิบัติงาน (Human Error) เกิดจากการที่ผูปฏิบัติงานมีพฤติกรรมการกระทําที่ไมปลอดภัย (Unsafe Act) สภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย (Unsafe Condition) ตาง ๆ ที่มีอยูหรือเกิดขึ้นก็เกิดจากวิธีการทํางานที่ไมปลอดภัยของผูปฏิบัติงานเชนกัน ความผิดพลาดตาง ๆ นั้นอาจเกิดขึ้นจากความผิดพลาดทางรางกาย ขาดการฝกอบรมอยางเพียงพอ หรือขาดการกระตุนหรือแรงจูงใจในการทํางาน

2) ความผิดพลาดในระบบ (System Error) อาจเกิดจากการออกแบบไมเหมาะสมซึ่งเนื่องมาจากนโยบายที่ไมเหมาะสมของหนวยงาน เชน การประหยัด การเลือกใชเทคโนโลยีการบํารุงรักษา หรือเกิดจากความลมเหลวในการออกแบบที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ เปนตน

3) ความผิดพลาดในการบริหารจัดการ (Management Error) สาเหตุหลักอาจเกิดจากความลมเหลว (Failure) จากการบริหารจัดการขอมูลขาวสาร การใชเทคโนโลยีและระบบการทํางานที่ไมเหมาะสม ซ่ึงความลมเหลวนี้ อาจเกิดจากการถายทอดขอมูลขาวสารที่ไมถูกตองการฝกอบรมอาจไมเพียงพอ ขาดการกระตุน จูงใจในการปฏิบัติงาน

ทฤษฎีอุบัติเหตุเกิดจากหลาย ๆ สาเหตุมารวมกัน (Multiple Causation Theory) ดี บี เตอรซัน (D.Peterson) อางถึงใน สราวุธ สุธรรมาสา (2544: 12) ไดเสนอแนวคิดของงานความปลอดภัยใหม ซ่ึงเปนแนวคิดที่ยอมรับในปจจุบันโดยเสนอวาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแตละคร้ังนั้น มิไดมีแตการกระทําและสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัยเทานั้น แตแทที่จริงแลวยังมีอีกหลายสาเหตุที่ตางก็มีผลทําใหเกิดอุบัติเหตุ เขาจึงเสนอวา อุบัติเหตุเกิดจากหลาย ๆ สาเหตุเรียกเปน “Multiple Causation Theory” ส่ิงที่พบเห็นไมวาจะเปนการกระทําที่ไมปลอดภัย สภาพการทํางานที่ไมปลอดภัยและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ลวนเปนอาการแสดงที่เราตองสืบคนตอไปใหไดวาอะไรคือรากแทของปญหา ซ่ึงแนนอนรากแทที่วานี้ คือ ความลมเหลวของระบบการบริหารความปลอดภัยขององคการนั้น ๆ นั่นเอง นั่นหมายความวา ถาที่ทํางานใดมีการกระทําหรือสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย ตองมองตอไปวาทําไมจึงเกิดสิ่งเหลานี้ เราขาดระบบการตรวจสอบที่ดี เราไมมีการ

Page 41: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

31

ฝกอบรมหรืออยางไร วิธีการทํางานยังไมไดมาตรฐานใชไหม เรายังมีการใชกระบวนการผลิตที่เปนอันตรายใชหรือไม การออกแบบโรงงานไมไดคํานึงถึง ความปลอดภัยใชหรือไม ซ่ึงสิ่งเหลานี้เปนรากแทหรือสาเหตุที่แทจริงของปญหาความไมปลอดภัยในการทํางาน การแกไขจึงตองแกไขที่ระบบบริหาร ลําพังการแกไขที่แสดงเปนการแกไขปญหาเฉพาะหนาเทานั้น

2.5.4 สาเหตุของอุบัติเหตุ วิฑูรย สีมะโชคดี และวีรพงษ เฉลิมจิระรัตน (2544: 20) ไดกลาวสรุปผลงานวิจัยของเฮน

ริช (H.W.Heinrich) ในป ค.ศ. 1920 วาสาเหตุของอุบัติเหตุมี 3 ประการ คือ สาเหตุที่เกิดจากคน เชน การทํางานไมถูกตอง ความประมาท ความพลั้งเผลอ การมี

นิสัยชอบเสี่ยง การขาดความรูความสามารถในงาน เปนตน สาเหตุที่เกิดจากความบกพรองของเครื่องจักร เชน สวนอันตราย ของเครื่องจักรไมมี

อุปกรณปองกันเครื่องมือเครื่องจักรชํารุด เปนตน สาเหตุที่เกิดจากดวงชะตา การเกิดอุบัติเหตุลักษณะเชนนี้จะเกี่ยวของกับธรรมชาติที่

ไมสามารถควบคุมได เชน พายุ น้ําทวม ฟาฝา เปนตน ป ค.ศ. 1931 เฮนริช ไดนําผลการวิจัยดังกลาวตีพิมพในหนังสือ เร่ือง “Industrial

Accident Prevention” ซ่ึงเปนจุดเริ่มตนในการปฏิบัติแนวคิดเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุและเสริมสรางความปลอดภัย โดยเขาไดสรุปสาเหตุสําคัญของการเกิดอุบัติเหตุ 2 ประการ คือ

1) การทํางานที่ไมปลอดภัย เปนสาเหตุใหญของการเกิดอุบัติเหตุและสาเหตุจากการกระทําที่ไมปลอดภัยไดแก การทํางานที่ไมถูกวิธีหรือไมถูกขั้นตอน การมีทัศนะคติไมถูกตอง เชน เชื่อวาอุบัติเหตุเกิดขึ้นเพราะเคราะหกรรม ความไมเอาใจใสในการทํางาน ความประมาทและขาดสติ การมีนิสัยชอบเสี่ยง การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบของความปลอดภัย การทํางานโดยไมใชอุปกรณปองกัน การแตงกายไมรัดกุมเหมาะสม การใชเครื่องมือหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเหมาะสมกับงาน การหยอกลอเลนในขณะทํางาน ทํางานขณะสภาพรางกายและจิตใจไมพรอม เปนตน

2) ประการที่สอง สภาพการณที่ไมปลอดภัยเปนสาเหตุรอง และสาเหตุจากสภาพการณที่ไมปลอดภัย ไดแก สวนอันตรายของเครื่องจักรไมมีอุปกรณปองกัน การวางผังโรงงานไมถูกตองความไมเปนระเบียบเรียบรอยและความสกปรก พื้นโรงงานขรุขระและหลุมบอ สภาพแวดลอมไมปลอดภัยหรือไมถูกสุขอนามัย เชน แสงสวางไมเพียงพอ เสียงดังเกินควร ความรอนสูง ฝุนละอองไอระเหยสารเคมีที่มีพิษ ฯลฯ เครื่องจักรกล เครื่องมืออุปกรณชํารุดบกพรอง ขาดการซอมแซมหรือบํารุงรักษาอยางเหมาะสม ระบบไฟฟาอุปกรณชํารุดบกพรอง เชน การวางสายไฟ สวิทซควบคุม หลอดไฟ เปนตน จากขอมูลตาง ๆ ที่เปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ

Page 42: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

32

เมื่อวิเคราะหการเกิดอุบัติเหตุ คนเปนตัวการสําคัญ จากสาเหตุโดยตรงและโดยออมที่เกิดจากตัวเอง เกิดจากสภาพการณและเกิดจากธรรมชาติ ถาคนมีความประมาทอันกอใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น อุบัติเหตุนั้นเกิดจากคนกระทําที่ไมปลอดภัยโดยตรง แตถาสภาพการณที่ไมปลอดภัยปรากฏขึ้นคนก็เปนผูสรางสิ่งแวดลอมนั้น เชน แสงสวางไมพอ อันเปนสาเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ ซ่ึงอุบัติเหตุนี้เกิดจากสภาพการณที่ไมปลอดภัย สวนอุบัติเหตุเกิดจากธรรมชาติที่ไมปลอดภัย เชน คนเปนผูทําลายปาไมอันเปนสาเหตุใหฝนตกน้ําทวมฉับพลัน และสงผลใหคนเสียชีวิตลง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุมาจากธรรมชาติไมปลอดภัย และคนเปนผูกระทําใหเกิดทางออมโดยการตัดไมและทําลายปา อุบัติเหตุจากการทํางานนั้นมีแนวโนมความคิดหรือทฤษฎีตาง ๆ ที่ถูกนํามาใชในการอธิบายหรือเปนสมมติฐานการเกิดอุบัติเหตุ โดยสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ คือ มีตนเหตุมาจากหลายปจจัย

2.5.5 ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ มีท้ังทางตรง และทางออม 1) ความสูญเสียทางตรง หมายถึง จํานวนเงินที่ตองจายไปอันเกี่ยวเนื่องกับ

ผูไดรับบาดเจ็บโดยตรงจากการเกิดอุบัติเหตุ ไดแก คารักษาพยาบาล คาเงินทดแทน คาทําขวัญ คาทําศพ คาประกันชีวิต

2) ความสูญเสียทางออม คือ คาใชจายอื่นๆ นอกเหนือจากคาใชจายอันเกี่ยวเนื่องกับผูบาดเจ็บโดยตรง เชน การสูญเสียเวลาการทํางาน ทั้งผูบาดเจ็บและผูเกี่ยวของ คาใชจายในการซอมแซม อาคาร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ วัตถุดิบหรือสินคาไดรับความเสียหาย กระบวนการผลิตขัดของ หรือ หยุด ผลผลิตที่ไดลดลง คาใชจายในการวิเคราะหหรือสอบสวนอุบัติเหตุ คาโสหุยตาง ๆ เชน คาเชา คาไฟฟา คาน้ําประปา ที่ยังตองจายปกติ ในระหวางปดกิจการ การเสียช่ือเสียงและภาพพจนของโรงงาน และการสูญเสียโอกาสในการทํากําไร

2.5.6 แนวทางในการปองกันอุบัติเหตุ การคิดหาแนวทางปองกันอาจมีหลากหลายวิธี บอยคร้ังที่แนวทางปองกันอาจไมครอบคลุมทั้งหมด มีตกหลนไปบาง ทําใหการปองกันไมเกิดประสิทธิภาพเทาที่ควร ดังนั้น จึงตองมีหลักในการชวยหาแนวทางใหครอบคลุมไดทั้งหมด เพื่อจะไดไมเกิดอุบัติเหตุที่ซํ้ารอยขึ้นมาอีก ดวยหลัก 3E กับ ตําแหนงการปองกัน

1) หลัก 3E ไดแก Engineering, Education และ Enforcement (1) Engineering คือ การใชความรูดานวิศวกรรมศาสตรมาจัดการ เชน

การออกแบบเครื่องจักรใหมีการใชงานที่ปลอดภัย การติดตั้งเครื่องปองกันอันตราย การวางผังโรงงานและออกแบบสภาพแวดลอมในการทํางาน

(2) Education คือ การใหการศึกษา หรือฝกอบรมคนงาน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของในการทํางาน ใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปองกันอุบัติเหตุ การฝกใชเครื่องมือหรือวิธีการทํางานที่ปลอดภัย

Page 43: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

33

(3) Enforcement คือ การออกมาตรการควบคุมบังคับใหคนงานปฏิบัติตาม หากฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามจะตองถูกลงโทษ เพื่อใหเกิดความสํานึกและหลีกเลี่ยงการกระทําที่ไมถูกตอง

การใชหลัก 3E นี้ จะตองดําเนินการให E ทั้ง 3 ไปพรอมกัน จึงจะทําใหการปองกันอุบัติเหตุมีประสิทธิภาพสูงสุด ถามีการดําเนินการเฉพาะ E ตัวใดตัวหนึ่งก็จะเกิดปญหาขึ้น เชน เครื่องจักรที่ออกแบบมาดี มีเครื่องปองกันอันตราย (Machine Guarding) ติดตั้งไว คนงานอาจเห็นวาเกะกะไมจําเปนจึงถอดออก เพราะขาดการฝกอบรม หรือช้ีแนะใหเห็นอันตรายที่เกิดขึ้นหากถอดเครื่องปองกันอันตรายออก หรือวามีการอบรมมาอยางดีแลวแตขาดการออกกฎขอบังคับ คนงานอาจเห็นวาการดนั้นเกะกะ ทําใหทํางานไมสะดวกจึงถอดทิ้งเสีย เพราะตองการทํางานใหเร็วขึ้น ทั้ง ๆ ที่รูวาอันตรายแตก็ยอมเสี่ยง เพราะเขาใจวาจะสามารถเพิ่มผลผลิตได ในทํานองเดียวกัน แมจะมีขอบังคับแลว หากคนงานไมไดรับการแนะวิธีการทํางานที่ถูกตองปลอดภัย คนงานก็อาจจะปฏิบัติงานอยางผิดวิธี เนื่องจากความไมรูเปนเหตุหรือการทํางานที่ผิดพลาดไมถูกขั้นตอน เปนผลทําใหระบบปองกันนั้นเสียหายไมทํางาน

2) ตําแหนงการปองกัน อีกแนวทางที่ชวยเสริมหลัก 3E เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการออกแบบระบบความปลอดภัย คือ หลักของตําแหนงในการปองกัน ไดแก แหลงกําเนิด (Source) ทางผาน (Path) และผูรับ (Receiver)

(1) แหลงกําเนิด (Source) : การแกปญหาใดๆ ก็ตามจะตองแกที่ตนเหตุ จึงจะเปนการแกไขที่ดีที่สุด ดังนั้น การแกไขที่แหลงกําเนิดจึงตองคิดถึงกอนเปนอันดับแรก เชน ถาสารเคมีที่ใชมีพิษ เราก็เปลี่ยนมาใชสารเคมีที่ไมมีพิษแทน ไดแก การยกเลิกการใชน้ํามันที่มีสารตะกั่ว แลวหันมาใชน้ํามันไรสารตะกั่วแทน แตถาเราไมสามารถหาทางแกที่แหลงกําเนิดได จึงคอยหาแนวทางแกไขที่ตําแหนงตอมา ควบคุมที่ตนตอหรือแหลงกําเนิด (Source) คือ พยายามหาทางควบคุมที่ตนตอหรือแหลงกําเนิดของอันตรายที่จะเกิดตอผูประกอบอาชีพโดยตรง เชน ที่ตัวเคื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณตาง ๆ แหลงที่มีการใชสารเคมีเปนพิษ การควบคุมที่แหลงนี้จะมีประสิทธิผลมากที่สุด เปนการควบคุมที่ตัวปญหาไมใหเกิดขึ้น ปองกันไมใหอันตรายหรือพิษภัยแพรกระจายออกไปไดเลย วิธีที่นิยมใชคือ

การใชสารเคมีที่เปนพิษภัยนอย หรืออุปกรณที่มีอันตรายนอย เอาไปใชแทนสารที่เปนพิษมากหรือมีอันตรายมาก

เลือกใชกระบวนการผลิตที่มีอันตรายนอยทดแทนที่มีอันตรายมาก หรือ อาจจะหาทางเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตใหเหมาะสม ไมกอใหเกิดมลพิษจากการทํางาน

Page 44: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

34

ใชวิธีปดปกคลุมใหมิดชิด เชน กระบวนการผลิต เครื่องจักรที่ทํางานแลวอาจจะมีมลพิษออกมาสูภายนอกได ใหหาทางปดคลุมกระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรใหมิดชิดไมใหมลพิษที่อาจจะเกิดขึ้นออกมาสูภายนอก และแพรกระจายไปสูบริเวณที่ทํางานไดเลย

แยกเอาขบวนการผลิตหรือเครื่องจักรที่มีอันตรายมากหรือปลอยมลพิษออกมามากไปจากบริเวณที่มีคนทํางานอยูมาก เชน เครื่องจักรที่มีเสียงดัง เครื่องจักรที่ปลอยความรอนออกมาสูบรรยากาศภายนอกใหแยกไปไวในบริเวณตางหาก หรือจัดหองเฉพาะที่สามารถควบคุมได

ใชระบบทําใหเปยกชื้นแทน เพราะจะทําใหเกิดฝุนละอองนอย เชน มีการพนละอองน้ําใหเปนฝอยในโรงงานอุตสาหกรรมที่บริเวณทํางานใหละอองน้ําจับฝุนละอองรวมตัวกันตกลงสูพื้น

ใชระบบระบายอากาศเฉพาะแหงเก็บรวบรวมระบายเอามลพิษตรงจุดที่มีพิษภัยมากออกไป และทําการขจัดมลพิษนั้นดวยวิธีการที่เหมาะสม

จัดใหมีวิธีการบํารุงเครื่องจักร อุปกรณการผลิตที่ดี จะชวยทําใหเครื่องจักรอยูในสภาพเรียบรอยปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน

(2) ทางผาน (Path) โดยการปดกั้นสิ่งอันตราย เชน การติดตั้งมานกันแสงและกันสะเก็ดระหวางการเชื่อม หรือการสรางหองครอบเครื่องจักรที่มีเสียงดัง เพื่อกันไมใหเสียงออกมารบกวนผูอ่ืน และถายังไมสามารถหาแนวทางแกไขที่ตําแหนงที่ 2 นี้ได ก็ใชการแกปญหาที่ตําแหนงถัดไป

ควบคุมที่ทางผาน (Path) การควบคุมอันตรายโดยเลือกวิธีควบคุมที่ทางผานของอันตรายจากแหลงกําเนิดไปสูคนปฏิบัติงานนั้น วิธีนี้มักจะเลือกใชรองลงมาจากวิธีแรก เปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่ง เชน บรรยากาศในบริเวณการทํางานจะเปนทางผานของอันตรายสูคนที่ทํางานในบริเวณนั้น วิธีควบคุม คือ พยายามหาทางปดกั้นเสนทางเดินของอันตรายนั้น คือ หาสิ่งของมากั้นระหวางตนตอกับตัวคน เชน เก็บรักษาวัสดุตาง ๆ ใหเปนระเบียบเรียบรอย ซ่ึงจะสามารถลดพิษตาง ๆ ลงไดออกแบบระบบระบายอากาศที่ดี มีประสิทธิภาพ พยายามนําอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกเขาไปในบริเวณทํางานใหมาก โดยการออกแบบระบบระบายอากาศที่ดี เลือกใชชองเปดประตู หนาตาง ชองลมที่เหมาะสมในการชวยเจือจางมลพิษตาง ๆ เพิ่มระยะทางระหวางแหลงกําเนิดของอันตรายกับคนทํางานใหมากที่สุด ซ่ึงระยะทางจะชวยลดปริมาณการสัมผัสอันตรายตาง ๆ ของคนลงได ทําใหคนไดรับปริมาณนอยลง มีการติดตั้งอุปกรณพิเศษที่สามารถเตือนหรือบอกระดับอันตรายไดเปนอยางดี ถาหากวาระดับของอันตรายสูงมากจนเกิดพิษภัยแกคนที่ทํางานบริเวณนั้นสัญญาณจะเตือนใหคนบริเวณนั้นหาทางปองกันตนเองไดทันที

Page 45: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

35

(3) ผูรับ (Receiver) ผูรับ เปนวิธีสุดทาย โดยการปองกันที่ตัวบุคคล เชน การจัดหาอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล ไดแก การจัดหาที่อุดหูเพื่อลดการบาดเจ็บเนื่องจากเสียงดัง การแกปญหาวิธีนี้มักจะไมคอยประสบความสําเร็จเทาที่ควร เนื่องจากการสวมใสอุปกรณเหลานี้เปนการรบกวนการทํางานของคนงาน เพราะไมเกิดความเคยชิน ทําใหคนงานรูสึกไมสบายตัว ดังนั้น จึงขอใหวิธีนี้เปนเปนวิธีสุดทายจริง ๆ

ควบคุมที่ตัวบุคคล (Receiver) เปนมาตรการลําดับสุดทายที่จะเลือกใชควบคุมอันตรายในสถานที่ทํางาน เนื่องจากวาการควบคุมอันตรายที่ตัวบุคคลนี้กระทําไดยาก ไดผลนอยถาไมไดรับความรวมมืออยางจริงจัง การควบคุมอันตรายแบบนี้เปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความเคยชินของคน ถาเราไมสามารถหลีกเลี่ยงไดก็จําเปนตองเลือกใช เปนวิธีการที่ลงทุนนอยที่สุด ซ่ึงมีวิธีการที่ใชกันดังนี้ โดยจัดโครงการใหการศึกษาและอบรมเกี่ยวกับดานความปลอดภัยใหแกคนงานโดยทั่วถึงโดยการหมุนเวียนสับเปลี่ยนหนาที่ของคนงาน ถาคนงานคนใดไดรับพิษภัยมากหรือสัมผัสกับอันตรายเปนระยะเวลานาน ก็จัดหมุนเวียนใหไปทําในที่อ่ืนใหปริมาณสารพิษในรางกายลดลง งานเดิมใหจัดคนงานคนอื่นมาทําแทนจัดสถานที่ทํางานของคนงานใหมีสภาพแวดลอมที่ดีที่สุด หรือจัดสถานที่ทํางานที่มีคนงานจํานวนมากทํางานใหแยกออกมาจากบริเวณที่มีอันตราย อาจจะใหคนงานทํางานในหองที่ทําเปนพิเศษ เชน หองปรับอากาศ โดยการติดอุปกรณเตือนภัย หรือเตือนอันตรายที่เกิดจะขึ้นกับคนที่ที่ตัวคนงาน ซ่ึงจะชวยช้ีระดับอันตราย เชน คนที่ทํางานกับรังสีใหติดแผนฟลมบอกระดับแรงสีที่ไดรับ โดยการใชเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน (วิทยา อยูสุข, 2544: 93 - 98)

2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการดานความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม ในการปฏิบัติงานเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมนั้น จะตองทราบเกี่ยว กับหลักพืน้ฐาน 5 ประการ คือ

2.6.1 การปฏิบัติที่ไมปลอดภัย สภาพการณที่ไมปลอดภัย เปนเครื่องหมายของบางสิ่งบางอยางที่ผิดปกติในระบบการจัดการ เชน คนงานและผูควบคุมงานขาดความรูการจัดการใหเกิดความปลอดภัยจะเกี่ยวของกับปจจัยหลายอยางที่มีผลกระทบโดยตรงตอระบบการจัดการ และพยายามหาสิ่งผิดปกติในระบบการจัดการ

2.6.2 เหตุการณสามารถพยากรณสภาพการบาดเจ็บ ซ่ึงเหตุการณเหลานี้สามารถบอกรายละเอียดและควบคุมได ซ่ึงการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจะเกี่ยวกับงานที่ไมใชงานประจํา กิจกรรมเกี่ยวกับการผลิต กิจกรรมเกี่ยวกับการใชพลังงาน และกิจกรรมเกี่ยวกับการกอสราง

2.6.3 การจัดการที่มีผลโดยตรงกับความปลอดภัย จะตองดําเนินการเกี่ยวกับการวางเปาหมายที่มีประสิทธิผล การวางแผน การจัดระเบียบ การควบคุม

Page 46: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

36

2.6.4 การปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยจะทําไดโดยวิธีการจัดการ ซ่ึงกําหนดความรับผิดชอบที่แนนอน

2.6.5 ความปลอดภัยเปนสิ่งที่ถูกตั้งไว และใหคําจํากัดความของการจัดการที่ผิดพลาดวาเปนการทําใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น

2.7 หลักการและวิธีการควบคุมอันตรายจากการทํางาน อันตรายจากการทํางาน หมายถึง งานใดที่ทําแลวอาจเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยหรือเสี่ยงตอความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน หรือจะนําไปสูการเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ระดับความรุนแรงของสภาพอันตรายขึ้นกับ ปจจัยหลัก 2 ประการ คือ ระดับความเขมขนหรือระดับอันตราย (Intensity) และระยะเวลาในการสัมผัส (Duration) กับสารอันตรายนั้น สภาพอันตรายจากการทํางานที่พบบอย เชน

2.7.1 อันตรายทางดานกายภาพ (Physical Hazards) เปนอันตรายที่เกิดจากการถูกของมีคมบาด การถูกตัด การเสียดสี การหนีบทับกระดูก ลักษณะของการบาดเจ็บที่เกิดจากการทํางาน เชน กระดูกสันหลัง อาการปวดหลัง จากการยกของหนัก ถูกรถยก รถบรรทุกชน การตกจากที่สูงในการทํางานในงานกอสราง เปนตน

2.7.2 อันตรายทางดานเคมี (Chemical Hazards) เปนอันตรายที่เกิดจากสารเคมีอันตราย หรือจากพิษภัยของสารเคมีที่เขาสูรางกายคนปฏิบัติงานโดยการกิน การหายใจ หรือการสัมผัส หรือการสัมผัสดูดซึมผานผิวหนัง หรือสารเคมีเหลานั้นสะสมอยูในระดับหนึ่งจะเกิดอาการเจ็บปวย รายที่ไดรับมากอาจถึงตายได บางรายจะเกิดอาการในระยะยาว อวัยวะบางอยางถูกทําลายสูญเสียหนาที่ในการทํางาน ทําใหไมสามารถดํารงชีวิตเชนคนปกติได สารเคมีบางชนิดเปนสารกอมะเร็ง ระดับอันตรายของสารเคมีขึ้นกับอัตราสะสมในรางกายปริมาณสารเคมีที่มีในบรรยากาศ ระยะเวลาในการสัมผัส เชน กรด ดาง สารพิษ ยกตัวอยาง เชน คลอรีน แอมโมเนีย ยาปราบศัตรูพืช เปนตน

2.7.3 อันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางาน (Environmental Hazards) หมายถึง อันตรายที่เกิดจากสภาพแวดลอมในการทํางานที่ผิดปกติ มีผลมาจากแหลงกําเนิดมลพิษ หรือแหลงกําเนิดอันตรายภายในสถานที่ทํางาน เชน เสียงดังเกินอุณหภูมิในที่ทํางานสูง ความเย็น ความชื้นมากเกินไป อากาศไมมีการเคลื่อนไหว ระบบระบายอากาศไมดี รังสีจากดวงอาทิตยที่มีผลกระทบกับผูทํางานกลางแจง ระดับแสงสวางในบริเวณทํางานนอยเกินไป ในที่ทํางานมีฝุนกระจายทั่วไป เปนตน

2.7.4 อันตรายทางดานชีวภาพ (Biological Hazards) หมายถึง อันตรายที่มีสาเหตุมาจากจุลชีพ (Microorganisms) ที่เปนอันตราย ทําใหเกิดโรคภัย เชน เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อโรคติดตอ โรคติดเชื้ออันตรายทั้งหลาย จุลชีพเหลานี้เขาสู รางกายคลายสารเคมี โดยเขาทางปาก ทางเดินหายใจ

Page 47: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

37

หรือจากการสัมผัสน้ําเหลือง เลือดที่มีเชื้อโรคอยู โอกาสการติดเชื้อมีมากสําหรับผูที่ปฏิบัติงานตองสัมผัสกับคน สัตวที่เจ็บปวย เชน การทํางานในโรงพยาบาล ในโรงแรม โรงฆาสัตว ภัตตาคาร โรงงานอาหารสัตว โรงบําบัดน้ําเสีย โรงงานผลิตยา รักษาโรค งานหองทดลองทางวิทยาศาสตร ในสํานักงาน ในหองทํางานที่มีการใชเครื่องอากาศที่เปนแหลงเพาะเชื้อโรค เปนตน

2.7.5 อันตรายจากเครื่องจักรอุปกรณ (Mechanical Hazards) ในสถานประกอบการคนตองทํางานกับเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ในการทํางานที่เกี่ยวของอาจจะเกิดอันตราย การบาดเจ็บ การตาย มีสาเหตุมาจากเครื่องจักรอุปกรณที่กลาวมาแลวชํารุดเสียหาย องคประกอบไมสมบูรณ ขาดการดปองกันอันตรายจากจุดที่เคลื่อนไหว จุดหมุน สายพานที่วิ่งตลอดเวลา ฟนเฟองที่ขบกัน การกระแทก สาเหตุที่กลาวมาจะทําใหเกิดอุบัติเหตุการบาดเจ็บได

2.7.6 อันตรายจากกระแสไฟฟา (Electrical Hazards) ระบบไฟฟาที่ใชในโรงงานอุสาหกรรมหรือสถานประกอบการทั่วไป จะมีทั้งกระแสไฟฟาแรงต่ํา และ กระแสไฟฟาแรงสูง ในประเทศไทยสวนใหญจะใชกระแสสลับแรงดันไฟฟา 220 โวลท เรียกไฟฟาสองสาย และแรงดันระดับ 380 โวลท เรียกไฟฟาสามสายเปนหลัก ไฟฟาเปนอันตรายท่ีเกิดกับผูปฏิบัติงานบอยครั้ง เชน เกิดการบาดเจ็บเมื่อตองสัมผัสกับกระแสไฟฟา

2.7.7 อันตรายทางดานเออรโกโนมิกสหรือทางดานการยศาสตร (Ergonomics) เปนอันตรายที่เกิดจากการทํางานในทาทางการทํางานที่ผิดปกติ การทํางานทาทางที่ฝนธรรมชาติ การทํางานที่ซํ้าซาก การทํางานที่ทําใหกลามเนื้อใชงานหนักหรือมากชิ้นเกินไป ทําใหเกิดการเมื่อยลา การนั่ง เดินผิดธรรมชาติ เกาอี้นั่งออกแบบมาไมถูกตอง เวลาทํางานเคลื่อนไหวรางกายมากเกินไป คือ เทาตองขยับตลอดเวลา ผลการทํางานดังกลาวทําใหเกิดการบาดเจ็บของกลามเนื้อ การเจ็บปวย การเมื่อยลา ประสิทธิภาพการทํางานลดลง เปนตน 2.7.8 อันตรายจากรังสี (Radiation Hazards) รังสีที่ใชในการทํางาน คล่ืนแมเหล็ก คล่ืนไฟฟา ในโรงงานอุตสาหกรรมบางครั้งไมสามารถตรวจวัดได เนื่องจากไมมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการตรวจวัด ทําใหผูปฏิบัติงานไมทราบระดับอันตราย รังสีดังกลาวอาจจะทําลายอวัยวะของรางกาย มีผลตอสุขภาพอนามัยในระยะยาวเนื้อเยื่อเกิดการชุด เปนเนื้องอกรายแรง รังสีมีทั้งชนิดที่แตกตัวได และชนิดไมแตกตัว เชน คล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนแมเหล็ก กระแสไฟฟาแรงสูง แสงอุลตราไวโอเลทแสงอินฟาเลต เปนตน 2.7.9 อันตรายจากสภาพจิตใจและสังคม (Psychological and Social Hazards) หมายถึง อันตรายที่เกิดมีผลมาจากสภาพจิตใจและสังคมรอบ ๆ ตัวของผูทํางาน เปนผลกระทบที่เกิดในระยะยาว เปนอาการที่แสดงออกทางดานจิต แตอาจจะเปนผลกระทบตอทางรางกายได เชน คนที่มีความเครียดในการทํางานตลอดเวลา มักจะเกิดอุบัติเหตุบอยกวาผูที่ไมมีความเครียด หรือเกิดปญหา

Page 48: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

38

กับลูกคาบอย ๆ สภาพการทํางานที่จําเจ นาเบื่อหนายจะสงผลทําใหผูปฏิบัติงานขาดความรับผิดชอบ เกิดปญหาเกี่ยวกับอาชญากรรมความรุนแรง

2.8 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ แกวฤทัย แกวชัยเทียม (2548: 86-93) การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับการรับรูการจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการรับรูการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของพนักงานรวมถึงศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูการจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน กลุมตัวอยางเปนพนักงานระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานประจําในบริษัทผลิตผลิตภัณฑเคมีแหงหนึ่ง จํานวน 212 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนแบบสอบถาม สถิติที่ใช คือ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t - test, one - way ANOVA และ Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient ผลการวิจัย พบวา พนักงานระดับปฏิบัติการมีการรับรูการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานอยูในระดับดีมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบวาพนักงานที่มีอายุ สถานภาพสมรส อายุการทํางาน ประสบการณการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย และประสบการณการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานแตกตางกัน มีการรับรูการจัดการความปลอดภัยไมแตกตางกัน มีเพียงพนักงานที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีการรับรูการจัดการความปลอดภัยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพบวาพนักงานที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อายุการทํางาน ประสบการณฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย และประสบการณการณการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานแตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานไมแตกตางกัน และการรับรูการจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ 0.312 สุระ จันลา (2547: 123) การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงคการศึกษาเพื่อศึกษาระดับการรับรูระบบความปลอดภัย และพฤติกรรมความปลอดภัย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปจจัยสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสในเขตนิคมอุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเทค) โดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 388 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม และนําขอมูลมาหาคารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่ออธิบายผลและนําเสนอในลักษณะตาราง ผลการศึกษาพบวา ระดับการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานอยูในระดับดีมาก ปจจัยสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยไดแก ปจจัยดานเพศ อยางมี

Page 49: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

39

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปจจัยสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมความปลอดภัยประกอบดวย ปจจัยดานเพศ อายุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และปจจัยดานระดับการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การรับรูระบบความปลอดภัยมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนบวก รัตนวรรณ ศรีทองเสถียร (2542: 120) การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาระดับการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือ พนักงานฝายผลิตที่ทํางานเกี่ยวของกับเครื่องจักร โรงงานผลิตเครื่องใชไฟฟา ในเขตนิคมอุสาหกรรมบางกระดี่ จํานวน 305 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม SPSS/FW 7.5 ผลการวิจัยพบวา พนักงานมีการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยอยูในระดับดีมาก พนักงานที่มีลักษณะสวนบุคคลแตกตางกันมีการรับรูระบบความปลอดภัยไมแตกตางกัน พนักงานหญิง พนักงานที่ไมเคยประสบอุบัติเหตุจากการทํางาน พนักงานที่เคยอบรมดานความปลอดภัย และพนักงานที่เคยอบรมการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลมีพฤติกรรมความปลอดภัยดีกวาพนักงานชาย พนักงานที่เคยประสบอุบัติเหตุจากการทํางาน พนักงานที่ไมเคยอบรมดานความปลอดภัย และพนักงานที่ไมเคยอบรมการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.002, 0.005, 0.02, 0.003 ตามลําดับ การรับรูระบบความปลอดภัยมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัย (r = 0.420) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548: 89) การวิจัยคร้ังนี้มีจุดประสงค เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) และความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยจําแนกตามสถานภาพสวนบุคคลของพนักงาน กลุมตัวอยาง คือ พนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) จํานวน 218 คน ซ่ึงไดจากการสุมตัวอยางแบบงาย เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ทําการวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยคารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและไคสแคร ผลการวิจัยพบวาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก 1 ดาน ระดับปานกลาง 3 ดาน เรียงลําดับตามคาเฉลี่ยดังนี้ ดานการจัดการ ดานสภาพแวดลอม ดานเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ และดานคน ตามลําดับ ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได อายุงาน มีความสัมพันธกับ

Page 50: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

40

พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวนความถี่ในการฝกอบรม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ซ่ึงไมเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว พรเกียรติ เนติขจร (2546: 87-90) การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินอันตราย ไดแก การรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ และการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ แรงจูงใจ ในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมนิการเผชิญปญหา ไดแก ความคาดหวังในความสามารถของตนเองและความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง และพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงาน เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินปญหา และแรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินการเผชิญปญหากับพฤติกรรมความปลอดภัย เพื่อสรางสมการทํานายพฤติกรรมความปลอดภัยจากองคประกอบการรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้เปนพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานประกอบรถยนต จํานวน 254 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามขอมูลทั่วไป แบบสอบถามการรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ แบบสอบถามการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ แบบสอบถามความคาดหวังในความสามารถของตนเอง แบบสอบถามความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง และแบบสอบถามพฤติกรรมความปลอดภัย วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อคํานวณหาคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาความสัมพันธไคสแควรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และ การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยไดขอสรุป ดังนี้ พนักงานระดับปฏิบัติการโรงงานประกอบรถยนตมีแรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินอันตราย ดานการประเมินการเผชิญปญหา และพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูง อายุงาน แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการประเมินอันตราย ไดแก การรับรูความรุนแรงของอุบัติเหตุ และการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ แรงจูงใจในการปองกัน อุบัติเหตุดานการประเมินการเผชิญปญหา ไดแก ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองมีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ตัวแปรความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ สามารถทํานายพฤติกรรมความปลอดภัยไดรอยละ 35.4 พีรดา พึ่งพิงพัก (2542: 181) วิทยานิพนธนี้ เปนการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัยของคนงานในโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ โดยศึกษาเฉพาะกรณีคนงานในโรงงานอุสาหกรรมผลิตชิ้นสวนอะไหลประกอบเครื่องยนตทั่วไปแหงหนึ่ง โดยใชวิธีชาติพันธุ เพื่อทําความเขาใจวัฒนธรรมความปลอดภัยของคนงาน การวิเคราะหนิยามตอความปลอดภัยในการ

Page 51: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

41

ทํางาน ซ่ึงสะทอนแบบแผนพฤติกรรมความปลอดภัยที่เกิดจากการเรียนรูและปฏิสัมพันธทางสังคมระหวางบุคคลในบริบทของการทํางาน ผลการศึกษาพบวา ประการแรก บริบททางกายภาพ ประชากร และวัฒนธรรมของงานอุสาหกรรมกําหนดวิถีการทํางานของคนงาน คนงานถูกจัดวางตําแหนงการทํางานและทางสังคมใหมีความเปนปจเจกบุคคลมากขึ้น สวนในบริบททางประชากร คนงานจัดวางตําแหนงงานตามเพศ โดยคนงานหญิงถูกกําหนดใหทํางานที่ใชความรูและทักษะงาย ๆ คนงานชายถูกกําหนดใหทํางานที่ตองใชความรูและทักษะที่สูงกวา สําหรับบริบทวัฒนธรรมการทํางานอุตสาหกรรมเปนเงื่อนไขใหคนงานทํางานหนักมากขึ้นและยอมรับความเสี่ยงจากการทํางาน เพื่อแลกกับสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ ประการที่สอง คนงานนิยามความหมายตอความปลอดภัยวาเปนความปลอดภัยจากอุบัติเหตุจากการทํางาน เปนความปลอดภัยที่ขึ้นอยูกับตัวคนงาน ผูที่ตองปองกันตนเอง สวนฝายบริหารนิยามความปลอดภัยจากอุบัติเหตุจากการทํางานวาหมายถึงหนาที่และความรับผิดชอบของคนงาน สําหรับการนิยามความหมายตอความปลอดภัยจากการเจ็บปวยอันเนื่องมาจาก การทํางานวาเปนความปลอดภัยจากการเจ็บปวยขั้นรุนแรงที่มีผลกระทบตอการทํางานและกิจกรรมอื่น ๆ ในชีวิตประจําวัน ฝายบริหารนิยามการเจ็บปวยจากการทํางานบนพื้นฐานองคความรูทาง อาชีวเวชศาสตร นอกจากนี้ คนงานยังนิยามตอความปลอดภัยในการทํางานครอบคลุมถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความปลอดภัยทางจิตใจซึ่งแสดงออกในรูปการประกอบพิธีกรรมเล้ียงเครื่อง ประการที่สาม พฤติกรรมเสี่ยงในการทํางานหมายถึงวัฒนธรรมการทํางานที่ขาดมิติของความปลอดภัย ฝายบริหารนิยามพฤติกรรมเสี่ยงของคนงานวาหมายถึง พฤติกรรมการทํางานที่เกิดจากความตั้งใจที่จะเสี่ยงของคนงาน ผูที่ขาดจิตสํานึกและความรับผิดชอบตอความปลอดภัยของตนเอง คนงานนิยามพฤติกรรมเสี่ยงของตนเองวาเปนการปรับพฤติกรรมการทํางานใหเขากันไดกับวัฒนธรรมการทํางาน ที่ตองการการผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณใหไดมากที่สุด ภายใตการควบคุมและแรงจูงใจทางเศรษฐกิจของฝายบริหาร เพื่อสรางความมั่นคงในการทํางานและฐานะทางเศรษฐกิจ ประการสุดทาย นิยามความปลอดภัยบนฐานของความรับผิดชอบของคนงาน สะทอนถึงวิธีการแกไขปญหาระดับปจเจก คนงานเรียนรูและปรับตัวดานสุขภาพ และความปลอดภัยในการทํางาน ดวยวิธีการตรวจสุขภาพซ้ําเพื่อลดความวิตกกังวลตอภาวะสุขภาพ หมุนเวียนเขา - ออกงานบอย ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงอันตราย เรียนรูอันตรายในการทํางานจากการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับตนเองและเพื่อนรวมงาน และรักษาอาการเจ็บปวยที่ไมรุนแรงดวยตนเอง และรับการรักษาจากแพทยเมื่อมีอาการเจ็บปวยรุนแรง และปรับปรุงสภาพการทํางานใหปลอดภัยดวยตนเอง ทวีวัตร บุญทริกพรพันธ (2547: 68) การศึกษาเรื่อง ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา กรณีศึกษา บริษัทแหงหนึ่งในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา และศึกษาแนวทางสงเสริมดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา

Page 52: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

42

ของบริษัทแหงหนึ่ง ในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บขอมูล โดยศึกษาพนักงานแผนกทอผา ประกอบดวย พนักงานทอผา ชางเครื่องและภารโรง รวมทั้งสิ้น 77 คน และนํามาประมวลผลการศึกษา ดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม SPSS และสถิติที่ใชสําหรับการวิเคราะห คือ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ยมัชณิมเลขคณิต (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยาง สวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 79.2 กลุมตัวอยางทั้งหมดสวนใหญมีอายุระหวาง 31 - 40 ป รอยละ 41.1 มีการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 รอยละ 89.7 กลุมตัวอยางสวนใหญมีประสบการณการทํางานในชวง 16 - 20 ป รอยละ 21.2 กลุมตัวอยางสวนใหญเคยไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดขึ้นจากการทํางาน รอยละ 88.7 ซ่ึงสวนใหญไดรับคําแนะนําจากการอบรมที่บริษัทจัดให รอยละ 58.2 และไมเคยไดรับคําวินิจฉัยจากแพทยวามีการเจ็บปวยเนื่องจากทํางาน รอยละ 89.0 นอกจากนี้ยังไดวิเคราะหถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา ลักษณะงานและประสบการณการทํางาน ที่มีผลตอทัศคติทางดานความปลอดภัย และแนวทางสงเสริมการลดอุบัติเหตุ ผลปรากฏวา กลุมตัวอยางมีทั้งเห็นดวย และเห็นดวยอยางยิง่ ทาํใหทราบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติที่ดีตอความปลอดภัยและแนวทางสงเสริมการลดอุบัติเหตุ สําหรับความตองการของกลุมตัวอยางนั้น ผลการศึกษา พบวา พนักงานแผนกทอผาสวนใหญ รอยละ 90.9 ตองการใหมีการตรวจสุขภาพประจําป รองลงมา คือ ตองการใหติดพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศในที่ทํางาน รอยละ 85.7 และตองการใหมีการอบรมและใหความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานกอนเริ่มทํางาน รอยละ 58.4 ขอเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งนี้ผูประกอบการควรจะเอาใจใส และใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมในการทํางาน ทัศนคติทางดานความปลอดภัย แนวทางสงเสริมการลดอุบัติเหตุและความตองการของพนักงานแผนกทอผา เนื่องจากสิ่งเหลานี้เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่สามารถสงผลกระทบตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการผลิต และเปนสิ่งที่จะชวยใหสภาพการทํางานมีบรรยากาศที่ดีขึ้น ซ่ึงสงผลดีทั้งตอรางกายและจิตใจของพนักงาน นอกจากนี้แลวผูประกอบการควรจะมีการใหความรูเกี่ยวกับดานความปลอดภัยกอนเขาทํางาน และฝกอบรมพนักงานเปนระยะ ๆ เชน อบรมทุก ๆ 3 เดือนหรือ 6 เดือน เปนตน การจัดใหมีการอบรมและใหความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานกอนเริ่มทํางาน เปนการแสดงถึงความเอาใจใสของนายจางตอความปลอดภัยของพนักงาน ซ่ึงเปนการใหความรูพนักงานเพื่อปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได ส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การปลูกฝงจิตสํานึกใหพนักงานทุกคนตองตระหนักถึงความปลอดภัยเปนสําคัญในการปฏิบัติงาน สุดทาย คือ ในสวนของพนักงานที่ควรใหความรวมมือกับนายจางในเรื่องการปฏิบัติตามกฎขอบังคับดานความปลอดภัย รวมทั้งควรเอาใจใสดูแลเครื่องมืออุปกรณตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่สมบูรณเสมอ โดยถือวาเปนหูเปนตาใหแกนายจางในการสอดสองดูแลความปลอดภัยในการทํางาน ซ่ึงผลที่ไดนั้นยอมเปนผลดีตอทั้งนายจางและลูกจางเอง

Page 53: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

43

อัครชาติ ติณสูลานนท (2546: 126) ศึกษาเรื่อง ความรู ทัศนคติตอพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค กรณีศึกษาในสายงานธุรกิจวิศวกรรม ธุรกิจกอสรางและบํารุงรักษา ผลการวิจัยพบวา พนักงานมีระดับความรูดานความปลอดภัยอยูในระดับสูง ทศันคติดานความปลอดภัยอยูในระดับที่ดี และพฤติกรรมดานความปลอดภัยอยูในระดับปานกลาง พนักงานที่มี อายุ ตําแหนงงาน และอายุงาน ที่แตกตางกันมีความรูความปลอดภัยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01, 0.05 และ 0.01 ตามลําดับ สวนพนักงานที่มีเพศ ระดับการศึกษา การฝกอบรม และการประสบอุบัติเหตุจากการทํางานที่แตกตางกัน มีความรูความปลอดภัยไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และพนักงานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตําแหนงงาน อายุงาน การฝกอบรมและการประสบอุบัติตุจากการทํางานที่แตกตางกันมีทัศนคติดานความปลอดภัยไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และพบวาความรูและทัศนคติดานความปลอดภัยมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ความรูและพฤติกรรมดานความปลอดภัยไมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และทัศนคติและพฤติกรรมดานความปลอดภัยมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

พมิพใจ สายวภิ ู(2541: 3-4) การวิจยัคร้ังนีม้ีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา (1) ระดับความรู ทัศนคติ และการปฏิบัติตอความปลอดภยัในการทํางาน (2) เปรียบเทียบความรู ทศันคติ และการ

ปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางานของนักศึกษาที่มลัีกษณะสวนบคุคล และบุคลิกภาพแตกตางกัน (3) ศึกษาความสัมพันธระหวางความรูและทัศนคติกับการปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางาน กลุมตัวอยางทีใ่ชในการศึกษาคือ นักศกึษาวิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตการศึกษา 4 จํานวน 342 คน การเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสอบ ซ่ึงแบงออกเปน 5 สวน คือ แบบสอบถามลักษณะสวนบคุคล แบบสอบความรูเร่ืองความปลอดภัยในการทํางาน แบบวดับุคลิกภาพ EPI แบบวดัทศันคติและแบบวัดการปฏิบตัิตอความปลอดภัยในการทํางาน วิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม SPSS for Windows ผลการวิจัยพบวา

(1) นักศึกษามีความรูเร่ืองความปลอดภัยในการทํางานอยูในระดับปานกลาง มีทัศนคติและการปฏิบตัิตอความปลอดภัยในการทํางานอยูในระดับดี

(2) นักศึกษาที่คะแนนรายวิชา ความปลอดภัย อาชีพของบิดา ระดับการศึกษาของบิดา สถานศึกษา และบุคลิกภาพตางกัน มีความรูเร่ืองความปลอดภัยในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนนักศึกษาที่เพศ คะแนนเฉลี่ยสะสม อาชีพของมารดา รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษาของมารดาตางกัน ไมพบวา มีความรูเร่ืองความปลอดภัยในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 54: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

44

(3) นักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสม คะแนนรายวิชาความปลอดภัย สถานศึกษาและบุคลิกภาพตางกัน มีทัศนคติตอความปลอดภัยในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนนักศึกษาที่ เพศ อาชีพของบิดาและมารดา รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษาของบิดาและมารดาต างกัน ไมพบว ามีทัศนคติตอความปลอดภัยในการทํ างานแตกต างกันอย างมี นัยสําคัญทางสถิติ

(4) นักศึกษาที่มีบุคลิกภาพ และสถานศึกษาตางกัน มีการปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนนักศึกษาที่ เพศ คะแนนเฉลี่ยสะสม คะแนนรายวิชาความปลอดภัย อาชีพของบิดาและมารดา รายไดของครอบครัว ระดับการศึกษาของบิดาและมารดาตางกัน ไมพบวามีการปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางานแตกตางกัน อยางมี นัยสําคัญทางสถิติ

(5) ความรูกับการปฏิบัติ ไมพบวามีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวน ทัศนคติกับการปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางาน พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จิตรา วิมลธํารง (2538: 4-5) ไดศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความรู เกี่ยวกับความปลอดภัยกบัความปลอดภยักับการจัดการความปลอดภยัของผูควบคุมโรงงาน อุตสาหกรรมผลิตยางรถจักรยานยนตในจงัหวัดสมุทรสาคร ผลการศึกษา พบวา (1) ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยมีความสัมพันธกับการจัดการความปลอดภัย อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05และทัศนคติตอการจัดการความปลอดภัยไมมีผลตอการจัดการความ ปลอดภัย (2) ทัศนคติตอการจัดการความปลอดภัยไมขึ้นอยูกับอาย ุประสบการณทํางาน ระดับ การศึกษา และประสบการณอบรมความปลอดภัย (3) ความรูเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยไมขึน้อยูกบัอาย ุประสบการณทํางาน และระดับการศึกษา แตขึ้นอยูกับประสบการณอบรมความปลอดภัยการจัดการความปลอดภัยขึ้นอยูกับอาย ุประสบการณทํางานที่ระดับนยัสําคัญ ทางสถิติ 0.01 และ0.05 ตามลําดับ แตไมขึ้นอยูกับระดับการศึกษา และประสบการณอบรมความปลอดภยั

สุพัตรา โทวรากา (2538 : 1-2) ไดศึกษาผลของการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของคนงานในโรงงานทอผามีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรม เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของคนงานในโรงงานทอผา กลุมตัวอยางที่ใช คือ คนงานแผนกปน และแผนกทอของโรงงานทอผาไทยคูราโบ จํานวนอยางละ 25 คน ซ่ึงเปนการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผูวิจัยดําเนินการจัดกิจกรรมใหความรูดานความปลอดภัยในการทํางานโดยมีกลุม

Page 55: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

45

ตัวอยางผานขั้นตอนการจัดกิจกรรมจํานวน 37 คน จากแผนกปน 20 คน และแผนกทอ 17 คนผลการวิจัย พบวา คนงานที่ผานกิจกรรมดังกลาว มีพฤติกรรมดีขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 ในทํานองเดียวกัน คะแนนแบบวัดเจตคติ หลังการทดลองจัดกิจกรรมสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นสามารถกลาวไดวาความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดานความปลอดภัยในการทํางานมีความสัมพันธกันในเชิงบวก

วไลพร ภิญโญ (2544 : 82-85) ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย กรณีศึกษา พนักงานระดับปฏิบัติการโรงงานผลิตอุปกรณไฟฟาแหงหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ พบวา เพศ ระดับการศึกษา แรงจูงใจในการปองกันอุบัติเหตุดานการเผชิญปญหา ไดแก ความคาดหวังในความสามารถของตนเองและความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมความปลอดภัยและพบวาความคาดหวังในความสามารถของตนเองสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมความปลอดภัยได อริศรา ปาดแมน (2543: 3) ไดศึกษาความสัมพนัธระหวางการรับรู สภาพการทํางานที่ เปนอันตรายกบัพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนกังานฝายผลิต บริษัท รองเทาบาจาแหง ประเทศไทย จาํกัด (มหาชน) โรงงานบางพลี จํานวน 260 คน พบวา

1. พนักงานมกีารรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตราย และพฤติกรรม การทํางานที ่ปลอดภัยอยูในระดับปานกลาง

2. พนักงานทีม่ี เพศ อายุ วุฒกิารศึกษา แผนกงาน อายุงานที่ตางกัน และ ประสบการณ การอบรมที่ตางกัน มีการรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตรายไมแตกตางกัน

3. พนักงานทีม่ี เพศ อายุ วุฒกิารศึกษา แผนกงาน อายุงานที่ตางกัน มพีฤติ กรรมการทํางานที่ปลอดภัยไมแตกตางกัน มีเพียงพนักงานที่มีประสบการณการอบรมตางกันเทา นั้น ที่มีพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05

4. จากการวิเคราะหความสัมพันธ พบวา การรับรูสภาพการทํางาน ที่เปนอันตราย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัย อยางมีนยัสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูในระดับสูง (r = 0 .958)

Page 56: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงปริมาณรวมกับเชิงคุณภาพ โดยใชแบบสอบถามและแนวคําถามเพื่อการสัมภาษณรายบุคคล (Individual Interview) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

การนําเสนอวธีิการดําเนินการวิจัยแบงเปน 4 สวน คือ 3.1 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การวิเคราะหขอมูล

แตละสวนมีรายละเอียด ดังนี ้

3.1 ขอบเขตและวิธีการศึกษา 3.1.1 ประชากรและตัวอยาง (Population and Sampling) กลุมเปาหมายของการศึกษาเชิงปริมาณ คือพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา

เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 135 คน โดยศึกษาประชากรทั้งหมด

สวนเชิงคุณภาพใชการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เกณฑการเลือกคือเปนผูที่สามารถใหความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปญหาและแนวทางจัดกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน กลุมตัวอยางเชิงคุณภาพที่เลือกไดคือหัวหนางานประจํากะ (Shift Engineer) 2 คนและผูชวยผูจัดการฝายผลิต 2 คน รวมเปน 4 คน

Page 57: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

47

3.1.2 ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้เปนวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยมุงศึกษาถึงพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการปฏิบัติงานและปจจัยที่เกี่ยวของ รวมทั้งหาแนวทางดําเนินกิจกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุในโรงงาน ตัวแปรศึกษาประกอบดวยตัวแปรตาง ๆ ดังนี้ ตัวแปรอิสระ

1. ปจจัยบุคคล ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอายุงาน 2. ทัศนคติดานความปลอดภัย 3. ความรูดานความปลอดภัย

ตัวแปรตาม พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 4 ดาน คือ ดานการปฏิบัติงาน เครื่องมือ

เครื่องจักรอุปกรณ สภาพแวดลอม และการจัดการ

ตัวแปรแนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุในโรงงาน 3.1.3 ขอบเขตดานสถานที่ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น) 77 หมู 6

ซอยสุขาภิบาล 1 ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบล สําโรง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย 10130

3.1.4 ขอบเขตดานระยะเวลา การศึกษาครั้งนี้ใชเวลาในการสํารวจ เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล แปรผล และ

สรุปผลการศึกษา เปนระยะเวลา 5 เดือน (มิถุนายน - ตุลาคม พ.ศ. 2552)

3.2 เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา (Research Instruments) แบบสอบถาม แบบสอบถามความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ปฏิบัติงาน โดยเนื้อหาในแบบสอบถามแบงเปน 4 สวน คือ สวนที่ 1. ขอมูลสวนบุคคลของพนักงาน ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอายุงาน สวนที่ 2. ปจจัยที่ผลตอพฤติกรรม ไดแก ปจจัยจากสภาพแวดลอม ทั้งดานการปฎิบัติงาน ดานเครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ ดานสภาพแวดลอม และดานการจัดการความปลอดภัยในโรงงาน

Page 58: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

48

สวนที่ 3. ทัศนคติดานความปลอดภัยของพนักงาน สวนที่ 4. ความรูดานความปลอดภัยของพนักงาน การสรางแบบสอบถาม รายละเอียดขั้นตอนการสราง คือ

- กําหนดขอบเขตแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดการศึกษา - ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีจากตํารา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ - สรางแบบสอบถามใหครอบคลุมรายละเอียดตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

โดยโครงสรางแบบสอบถาม แบงเปน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย ขอคําถาม 4 ขอ ไดแก เพศ อายุ ระดับ การศึกษา และอายุงาน สวนที่ 2 พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ประกอบดวย 38 ขอ แบงเปน 4 ดาน คือ ดานการปฏิบัติงาน (ขอ 1-11) ดานเครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ (ขอ 12-19) ดานสภาพแวดลอม (20-29) และดานการจัดการ (ขอ 30-38) โดยคําตอบมี 5 ตัวเลือก คือ ปฏิบัติทุกครั้ง ปฏิบัติเกือบทุกครั้ง ปฏิบัติบางครั้ง ปฏิบัตินานๆ คร้ัง ไมเคยปฏิบัติเลย

สวนที่ 3 ทัศนคติดานความปลอดภัย ประกอบดวย ขอคําถาม 14 ขอ โดยคําตอบมี 5 ตัวเลือก คือ เห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง สวนที 4 ความรูดานความปลอดภัย

ประกอบดวย ขอคําถาม 15 ขอ โดยคําตอบแตละขอมี 4 ตัวเลือก แบบสัมภาษณเชิงคุณภาพ (Interview Guideline) แบบสัมภาษณเปนแนวคําถามเพื่อการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informant Interview) ประกอบดวยคําถามหลัก 5 คําถาม แตละคําถามหลักมีคําถามรองเพื่อใหไดขอมูลละเอียดขึ้น (Prop) ขอบเขตคําถามทั้งหมดเกี่ยวของกับประเภทและลักษณะและการเกิดอุบัติเหตุ พฤติกรรมที่เสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุของพนักงาน แนวทางการลดอุบัติเหตุ บทบาทของฝายตาง ๆ และแนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมของพนักงาน

Page 59: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

49

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ นําแบบสอบถามที่สรางไวไปทดลองใชกับพนักงานบริษัทไทยเปอรออกไซค จํากัด จังหวัดสระบุรี จํานวน 30 คน ซ่ึงบริษัทดังกลาวมีลักษณะของกิจกรรมในโรงงานคลายกับโรงงานที่เปนประชากรเปาหมายในการศึกษา และทดสอบความเที่ยง (Reliability) ดวยวิธีสัมประสิทธิแอลฟา (Coefficient – α) โดยเกณฑการวัดความเที่ยงคือ r = 0.01 – 0.19 หมายถึง ความเที่ยงต่ํามาก r = 0.20 – 0.39 หมายถึง ความเที่ยงต่ํา r = 0.40 – 0.59 หมายถึง ความเที่ยงปานกลาง r = 0.60 – 0.79 หมายถึง ความเที่ยงคอนขางสูง r = 0.80 – 1.0 หมายถึง ความเที่ยงสูงมาก ผลการวิเคราะหความเที่ยง สวนที่ 2 พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

- ดานการปฏิบตัิงาน คาสัมประสิทธิแอลฟา = 0.85 - ดานเครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ คาสัมประสิทธิแอลฟา = 0.80 - ดานสภาพแวดลอม คาสัมประสิทธิแอลฟา = 0.90 - ดานการจดัการ คาสัมประสิทธิแอลฟา = 0.68

สวนที่ 3 ทัศนคติดานความปลอดภัย คาสมัประสิทธิแอลฟา = 0.87 สวนที 4 ความรูดานความปลอดภัย คาสัมประสิทธิแอลฟา = 0.73

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลเองทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และขอมูลสภาพปญหาสภาพแวดลอมตาง ๆ 1) แจกแบบสอบถามใหผูตอบกรอกเอง เก็บกลับทันทีเมื่อผูตอบทําเสร็จ จากนั้นนํามาตรวจสอบความสมบูรณ เตรียมวิเคราะหตอไป 2) ทําการสัมภาษณกลุมตัวอยางเชิงคุณภาพ บันทึกขอมูลนํามาวิเคราะหสรุปประเด็น 3) สังเกตลักษณะสภาพแวดลอมและพฤติกรรมของพนักงาน

Page 60: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

50

3.4 การวิเคราะหขอมูล 3.4.1 การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ

นําแบบสอบถามมาตรวจใหคะแนน บันทึกขอมูลและประมวลดวยโปรแกรมSPSS (Statistic Program for Social Science) โดยการใหคะแนนและการวิเคราะหระดับ ใชเกณฑ ดังนี้ 1) เกณฑการใหคะแนน ตารางที่ 3.1 เกณฑการใหคะแนนสวนพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ ปฏิบัติทุกครั้ง 5 ปฏิบัติทุกครั้ง 1 ปฏิบัติเกือบทุกครั้ง 4 ปฏิบัติเกือบทุกครั้ง 2 ปฏิบัติบางครั้ง 3 ปฏิบัติบางครั้ง 3 ปฏิบัตินานๆ คร้ัง 2 ปฏิบัตินานๆ คร้ัง 4 ไมเคยปฏิบัติเลย 1 ไมเคยปฏิบัติเลย 5

ตารางที่ 3.2 เกณฑการใหคะแนนสวนทัศนคติดานความปลอดภัย

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวยอยางยิ่ง 1 เห็นดวย 4 เห็นดวย 2 ไมแนใจ 3 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวย 4 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 5

เกณฑการใหคะแนนสวนความรูดานความปลอดภัย ตอบถูก ให 1 ตอบผิดให 0

Page 61: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

51

2) เกณฑการวิเคราะหระดับของปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัย

ในการปฏิบัติงาน ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการวิเคราะหระดับทัศนคติ

สําหรับแบบสอบถามกึ่งสํารวจดานทัศนคติ (แบบสํารวจสวนที่ 3) และเกณฑการวิเคราะหระดับความรู(แบบสํารวจสวนที่4)ที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน(ดานการปฏิบัติงาน เครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ สภาพแวดลอม และ การจัดการ) ไวดังตารางที่ 3.3 - 3.4

ตารางที่ 3.3 เกณฑการวิเคราะหระดับทัศนคติ

ระดับคะแนน ระดับทัศนคต ิ(ความคดิเห็น)

4.1 - 5 ดีมาก

3.1 - 4 ดี 2.1 - 3 ปานกลาง

1.6 - 2 ต่ํา

1 -1.5 ต่ํามาก

ตารางที่ 3.4 เกณฑการวิเคราะหระดับความรู

ระดับคะแนน ระดับทัศนคต ิ(ความคดิเห็น)

0.81 - 1 ดีมาก

0.61 - 0.8 ดี 0.41 - 0.6 ปานกลาง

0.21 - 0.4 ต่ํา

0 - 0.2 ต่ํามาก

Page 62: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

52

3.4.2 ระดับคะแนนของพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการวิเคราะหระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน ทั้งดานการปฏิบัติงาน เครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ สภาพแวดลอม และ การจัดการความปลอดภัยในโรงงาน (แบบสํารวจสวนที่ 2) แบงเปน 5 ระดับ ดังตารางที่ 3.5 ตารางที่ 3.5 เกณฑการวิเคราะหระดับของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน

ระดับคะแนน ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน

4.51 - 5.00 สูงมาก 3.51 - 4.50 สูง 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 นอย 1.0 - 1.50 เสี่ยง

3.4.3 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1) ขอมูลบุคคล ใชสถิติพรรณนา ความถี่ รอยละ เพื่อบรรยายลักษณะของกลุมประชากร และใช คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อบรรยายลักษณะการกระจายของตัวแปรตาง ๆ

2) วิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ใช การวิเคราะหถดถอยพหุแบบปกติ ((Multiple Regression, Enter

Method) การเตรียมขอมูลเพื่อเขาสมการวิเคราะหถดถอยพหุแบบปกติ ตัวแปรชวงที่วัดเปนระดับกลุม (Nominal, Ordinal) ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ไดปรับใหเปนตัวแปรหุน (Dummy) กอนเพื่อใหเปนไปตามขอตกลงของวิธีที่ใชในการวิเคราะห

3) การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) จากการสัมภาษณหัวหนางานและ

เขียนเปนความเรียง

Page 63: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การนําเสนอผลการวิจัยแบงเปน 4 สวน คือ 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมประชากร 4.2 ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานฯระดับทัศนคตฯิ และระดับความรูฯ4.3 การทดสอบสมมติฐาน 4.4 แนวทางการจัดกิจกรรม

แตละสวนมีรายละเอียด ดังนี ้

4.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมประชากร จากตารางที่ 4.1 กลุมประชากรสวนใหญเปนเพศชาย คือรอยละ 79.29 ในดานอายุ พบวา

จํานวนมากที่สุดอยูในชวง 31 – 40 ป รอยละ 52.59 รองลงมาเปน 21 -30 ป และ 41 – 50 ป รอยละ 25.2 และ 20.74 ตามลําดับ สวนอายุ 51 - 60 ป มีจํานวนเล็กนอย

ดานการศึกษา พบวาจํานวนมากที่สุดคือรอยละ 64.44 มีการศึกษาระดับมธัยมปลายหรือ ปวช. รองลงมาคือกลุมมัธยมตนหรือต่ํากวา รอยละ 17.04 กลุมอนุปริญญาหรือ ปวส. จํานวนเล็กนอยคือ รอยละ 2.22 สวนการศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกวาปริญญาตรี จํานวนเทากันคือ รอยละ 8.15

ในดานอายุงาน พบวา อายุงาน 1 – 5 ป และ 6 – 10 ป มีจํานวนเทา ๆ กัน คือรอยละ 37.78 และ 37.04 อายุงาน 11 – 15 ป จํานวนรอยละ 21.48 สวนอายุงานไมถึง 1 ป และมากวา 15 ป จํานวนเล็กนอย

การที่กลุมประชากรสวนใหญเปนผูชายเนือ่งจากลักษณะงานเปนงานรายผลิตที่เกี่ยวของกับสารเคมีและมีการทํางานเปนกะจากสภาพการณจึงเหมาะสมกับเพศชายมากกวาเพศหญิง และสวนใหญมีการศึกษามัธยมปลายเนื่องจากเปนงานฝายปฏิบัติการและพนกังานมีอายุงานนาน เปนพนักงานรุนเกา ๆ ที่มีระดับการศึกษาไมสูงมากนัก

Page 64: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

54

ตารางที่ 4.1 เพศ อายุ การศกึษา อายุงาน (n= 135)

ขอมูลท่ัวไป จํานวน รอยละ เพศ ชาย หญิง

107 28

79.26 20.74

อายุ 21-30 ป 31-40 ป 41-50 ป 51-60 ป

34 71 28 2

25.19 52.59 20.74 1.48

การศึกษา มัธยมตนหรือต่ํากวา มัธยมปลายหรือ ปวช. อนุปริญญาหรือ ปวส. ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

23 87 3 11 11

17.04 64.44 2.22 8.15 8.15

อายุงาน นอยกวา 1 ป 1 - 5 ป 5 - 10 ป 11 – 15 ป 15 ป ขึ้นไป

3 51 50 29 2

2.22 37.78 37.04 21.5 1.5

4.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานฯ ระดบัทศันคติฯ และระดับความรูฯ 4.2.1 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงาน

ตารางที่ 4.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานพบวา กลุมประชากรสวนใหญคือรอยละ 62.69 มีพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูง รอยละ 31.11 และพฤติกรรมความปลอดภัยปานกลางจํานวนนอยที่สุดเพยีงรอยละ 5.93 ดังนั้นผูปฏิบตัิงานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานสูงถึงสูงมาก

Page 65: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

55

ตารางที่ 4.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏบิัติงาน

ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 4.51 – 5.00 85 62.69 สูง 3.51 – 4.50 42 31.11

ปานกลาง 2.51 – 3.50 8 5.93 นอย 1.51 – 2.50 - - เสี่ยง 1 - 1.50 - -

ตารางที่ 4.3 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณพบวา กลุมประชากร

สวนใหญคือรอยละ 78.52 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดบัสูง รอยละ16.30 และความปลอดภัยระดับปานกลางและระดับนอยจํานวนไมมาก ดังนั้นผูปฏิบัตงิานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณสูงถึงสูงมาก ตารางที่ 4.3 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณ

ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 4.51 – 5.00 106 78.52 สูง 3.51 – 4.50 22 16.30

ปานกลาง 2.51 – 3.50 6 4.44 นอย 1.51 – 2.50 1 0.74 เสี่ยง 1 - 1.50 - -

ตารางที่ 4.4 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมพบวา กลุมประชากรสวน

ใหญคือรอยละ 74.81 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูง รอยละ19.26 และความปลอดภยัระดับปานกลางรอยละ 5.93 ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤตกิรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมสูงถึงสูงมาก

Page 66: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

56

ตารางที่ 4.4 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอม

ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 4.51 – 5.00 101 74.81 สูง 3.51 – 4.50 26 19.26

ปานกลาง 2.51 – 3.50 8 5.93 นอย 1.51 – 2.50 - - เสี่ยง 1 - 1.50 - -

ตารางที่ 4.5 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจัดการพบวา กลุมประชากรสวน

ใหญคือรอยละ 80.00 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูง รอยละ17.04 และความปลอดภัยระดับปานกลางรอยละ 2.96 ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจัดการสูงถึงสูงมาก ตารางที่ 4.5 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจดัการ

ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 4.51 – 5.00 108 80.00 สูง 3.51 – 4.50 23 17.04

ปานกลาง 2.51 – 3.50 4 2.96 นอย 1.51 – 2.50 - - เสี่ยง 1 - 1.50 - -

ตารางที่ 4.6 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยโดยรวม 4 ดาน

ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 4.51 – 5.00 102 75.56 สูง 3.51 – 4.50 29 21.48

ปานกลาง 2.51 – 3.50 4 2.96 นอย 1.51 – 2.50 - - เสี่ยง 1 - 1.50 - -

Page 67: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

57

ตารางที่ 4.6 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยโดยรวม 4 ดานพบวา กลุมประชากรสวนใหญ

คือรอยละ 75.56 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูง รอยละ 21.48 และความปลอดภัยระดับปานกลางรอยละ 2.96 ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยสูงถึงสูงมาก

4.2.2 ระดับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน

ตารางที่ 4.7 ระดับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน

ระดับทัศนคต ิ ระดับคะแนน จํานวน รอยละ

ดีมาก มากกวา 4.50 44 32.59 ด ี 3.51 – 4.50 91 67.41

ปานกลาง 2.51 – 3.50 - - ต่ํา 1.51 – 2.50 - -

ต่ํามาก นอยกวา 1.50 - -

ตารางที่ 4.7 ระดับทัศนคตเิร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน พบวา กลุมประชากรสวนใหญคือรอยละ 67.41 มีทัศนคติฯ ในระดับดี รองลงมามีทัศนคติฯ ในระดับดมีาก รอยละ 32.59 ดังนั้น ผูปฏิบัติงานทั้งหมดมีทัศนคติดีและดีมาก

4.2.3 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน

ตารางที่ 4.8 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน

ระดับความรู ระดับคะแนน จํานวน รอยละ สูงมาก 0.81 – 1.00 38 28.15 สูง 0.61 – 0.80 56 41.48

ปานกลาง 0.41 – 0.60 33 24.44 นอย 0.21 – 0.40 7 5.19

นอยที่สุด 0 - 0.20 1 0.74

Page 68: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

58

ตารางที่ 4.8 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางานพบวา กลุมประชากรสวนใหญคือรอยละ 41.48 มีความรูเร่ืองการปองกันตนเองระดับสูง รองลงมามีความรูเร่ืองการปองกันตนเองในระดบัสูงมากและปานกลางจํานวนใกลเคียงกนั คือ รอยละ 28.15 และรอยละ 24.44 สวนระดับความรูนอยและนอยทีสุ่ดมีจํานวนไมมาก ดังนัน้ ผูปฏิบัติงานทั้งหมดมีความรูระดับสูง

4.3 การทดสอบสมติฐาน การศึกษาครั้งนี้ใชการวิเคราะหถดถอยแบบพหุปกติ (Enter Method) เพื่อศึกษาความสัมพันธของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม และเพื่อเปรียบเทียบขนาดอิทธิพลของตัวแปรอิสระตอตัวแปรตาม โดยขอมูลตัวแปรอิสระดาน เพศ ไดปรับใหเปนตัวแปรหุน (Dummy) แบบจําลองการวิเคราะห

ผลการวิเคราะหถดถอยแบบพหุปกต ิตาราง 4.9 สถิติพรรณนาและคาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ใชในการ

วิเคราะหพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดิวิช่ัน) พบวา ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธกันทั้งทางบวกและทางลบ โดยมีคาสัมประสิทธิสหสัมพันธมาสูง (คา Pearson – r สูงสุดในที่นี้คือ อายุกับอายุงาน สัมพันธกัน 0.52) ซ่ึงเงื่อนไขของการวิเคราะหถดถอยพหุปกติคือตัวแปรอิสระจะตองไมมีความสัมพันธกันเองสูง (Multicollinearity) คือไมควรเกิน 0.80 (สุชาติ, 2545 : 90) ดังนั้น จึงสามารถนําตัวแปรอิสระทั้งหมดเขาวิเคราะหตามแบบจําลองได

พฤติกรรมความปลอดภัยฯ = b0 + b1 เพศ + b2 อายุ + b3 ระดับการศกึษา + b4 อายุงาน + b14 ทัศนคติฯ + b15 ความรูฯ

Page 69: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

59

ตาราง 4.9 สถิติพรรณนาและคาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธระหวางตัวแปร

เพศ อายุ การศึกษา อายุงาน ทัศนคติ ความรู พฤติกรรม

เพศ 1.0 0.09 -0.13 0.13 0.01 -0.11 -0.26 อายุ 1.0 -0.01 0.52 0.11 0.31 0.07 การศึกษา 1.0 0.12 0.26 -0.02 0.07 อายุงาน 1.0 0.34 0.29 0.19 ทัศนคติ 1.0 0.25 0.25 ความรู 1.0 0.21 พฤติกรรม 1.0

ตารางที่ 4.10 ผลการวิเคราะหถดถอยแบบปกติพบวาตัวแปรอิสระสัมพันธกับตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 3 ตัว คือ เพศ (ชาย) อายุงาน และทัศนคติ โดยตัวแปรเพศ (ชาย) เปนความสัมพันธในทางลบ (Beta = -0.232) สวนอีก 2 ตัวแปรคือ ทัศคติฯ (Beta = 0.199) และความรูฯ เปนความสัมพันธทางบวก ตัวแปรอิสระทั้งหมดรวมกันทํานายตัวแปรตามไดถูกตองรอยละ 21.5 (R2 = 0.215)

ตารางที่ 4.10 ผลการวิเคราะหถดถอยแบบปกติ ปจจยัที่มผีลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ตัวแปร B β t Sig. คาคงที่ 2.620 - 4.236 0.00 เพศชาย -0.316 -0.232 -2.859 0.01* อายุ 0.006 0.008 0.080 0.94

ระดับการศึกษา 0.006 0.012 0.145 0.89 อายุงาน 0.162 0.247 2.502 0.01* ทัศนคติฯ 0.340 0.199 2.282 0.02* ความรูฯ 0.319 0.098 1.132 0.26

R = 0.464 , R2 = 215, SE = 0.503, F = 5.852, Sig = 0.000

Page 70: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

60

จากตารางที่ 4.10 นํามาสรางสมการพยากรณพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ของพนักงานฯ ได ดังนี้

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา 1. ปจจัยสวนบุคคล ดานเพศและอายุงานมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ โดยเพศมีผล

ในทางลบ อายุงานมีผลในทางบวก สวนปจจัยดาน อายุและการศึกษา ไมมีผล 2. ทัศนคติตอเร่ืองความปลอดภัย ฯ มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ โดยมีผลทางบวก

3. ความรูเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยฯ ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ สวนการเปรียบเทียบความสําคัญของตัวแปรอิสระตอตัวแปรตามพบวา ตัวแปรอายุงานมีความสําคัญมากที่สุด (Beta = 0.247) รองลงมาคือ เพศ (ชาย) (Beta = -0.232) และสําคัญนอยที่สุดคือทัศคติ (Beta = 0.199) จากการวิเคราะหและพิสูจนสมมติฐานดังกลาวขางตน สรุปไดวา เพศชายมีพฤติกรรมความปลอดภยัฯ นอยกวาเพศหญิง ผูมีอายุงานนานกวามีพฤติกรรมความปลอดภยัฯ มากกวา และผูมีทัศนคติดีกวาจะมีพฤติกรรมความปลอดภัยฯ มากกวา

4. 4 แนวทางการจัดกิจกรรม 4.4.1 สภาพพฤติกรรมท่ีไมปลอดภยัในการปฏิบัตงิาน จากการสังเกตและสัมภาษณหัวหนางานและผูชวยผูจัดการฝายผลิต พบวา พนกังานมีพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยเกี่ยวกบัปฏิกิริยาตอบสนองเกี่ยวกบัการใชอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล คือ พนักงานมีความรูความเขาใจถึงความจําเปนที่ตองใสอุปกรณปองกนัภัยสวนบุคคลในขณะปฏิบัตงิานหรือในบรเิวณที่มีความเสี่ยงที่ตองสวมอุปกรณปองกันภยัสวนบุคคล แตพนักงานจะไมใสอุปกรณปองกันภยัสวนบุคคลตามขอกําหนด จนกระทั่งพบวาหวัหนางานเขาไปสังเกตความปลอดภัยจึงรีบนําอุปกรณเหลานั้นมาสวมใส สําหรับการกระทําที่ไมปลอดภัยที่เกีย่วกับการไมปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่พบไดแก พนักงานขับรถโฟลคลิฟทดวยความเร็วเกนิกวา 15 กม/ ชม ไมมีการตรวจสอบสภาพรถโฟลคลิฟทกอนการใชงาน ชางซอมบํารุงทําการซอมเครื่องจักรโดยไมหยดุเครื่องจักร หรือไมมใีบขออนุญาตกอนเขาทํางานในบริเวณหนวยงานผลิต พนักงานไมทราบถึงวิธีการทํางานที่ถูกตองและทํางานลดัขั้นตอน

พฤติกรรมความปลอดภัยฯ = 2.260 - 0.316 เพศ (ชาย) - 0 .006 อายุ + 0.006 ระดับการศึกษา + 0.162 อายงุาน + 0 .340ทัศนคติฯ + 0 .319 ความรูฯ

Page 71: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

61

4.4.2 แนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานที่เกิดจากพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณหวัหนางาน พบวา กจิกรรมที่ควรจัดเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน มีดังนี ้ 1) กิจกรรมดานกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัต ิ 1. การออกกฎระเบียบขอบังคับดานความปลอดภัยในการทํางาน เชน การกําหนดเขตการสวมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบคุคล 2. มาตรการบทลงโทษพนักงานที่ไมปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับควรเพิ่มบทลงโทษสําหรับผูทําผิดกฎระเบียบความปลอดภัยของบริษัท เพื่อใหพนักงานเกิดความกลัวและไมกระทําผิดซํ้าอีก เพราะในทางปฏิบัติ พนักงานบางคนยังมีพฤติกรรมเสี่ยง เชน ใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลอยางไมเหมาะสม การไมสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงาน การจัดเก็บและบํารุงรักษาอุปกรณความปลอดภัยสวนบุคคลไมดีพอ ซ่ึงโดยปกติพบวาพนักงานจะปฏิบัติอยางถูกตองก็ตอเมื่อมีหัวหนางานคุมอยูเทานั้น 3. การกําหนดขั้นตอนการทาํงาน (Work in ) ที่ถูกตองและนํามาสอนงานใหกับพนกังาน จะไดเปนมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติงาน 4. หัวหนางานควรสนใจตอพฤติกรรมการทํางานของพนกังาน เสริมสรางขวัญกําลังใจของพนักงานโดยใหคําแนะนําในพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ไมถูกตอง และวิธีการปฏบิัติงานที่ถูกตองไมใชแคลงโทษ จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเพยีงพอ และบริษัทควรพิจารณาเพิ่มคาตอบแทนใหกับพนักงานในการปฏิบัติงานที่เสี่ยงอนัตราย 2) กิจกรรมดานการสงเสรมิ

1. การจัดหาและเตรียมพรอมซึ่งอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลใหกับพนักงาน สําหรับประเด็นนี้ บริษัทควรจัดใหมีกระบวนการในการประเมินความจําเปนในการใชเพื่อใหสอดคลองกบัความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอยางแทจริงและควรทําการสํารวจหาขอบกพรองของอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลเพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมและใหพนักงานสวมใสอยางสบายขณะปฏิบัติงาน 2. การประกวดคําขวัญเกีย่วกับความปลอดภัยในการทํางาน ซ่ึงเปนกจิกรรมหนึ่งทีจ่ะชวยรณรงคสงเสริมความปลอดภัยในโรงงาน เพราะเปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหพนักงานไดมีสวนรวมในการรณรงคเร่ืองความปลอดภัย รวมถึงเปนการเตือนใจเพื่อนรวมงาน ใหมีความระมัดระวังและมีสติในขณะปฏิบัติงาน ขณะเดียวกันก็เปนการพัฒนาจิตสํานึกและทศันคติของตัวพนกังานเองใหไดคิด ใครครวญ และทบทวนถึงวิธีการปฏิบัติงานของตนเองวาถูกหรือผิดอยางไร แลวกล่ันกรองออกมาเปนขอความ หรือคําขวัญที่เปนการเตือนใหระมัดระวัง ตลอดจนวิธีปฏิบัติตนอยางปลอดภยั

Page 72: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

62

3. จัดใหมีปายประกาศกจิกรรม เร่ืองราวหรือบทความเกีย่วกับความปลอดภัย อาจติดตั้ง หนาโรงงานทกุหลัง หรือเฉพาะบริเวณที่ตดิประกาศรวมของสถานประกอบการ หรือบริเวณที่พนักงานชุมนมุกันมาก เชน บริเวณโรงอาหาร เปนตน เพื่อเปนกรณีศกึษา และเตือนสติพนักงานทุกคนใหตระหนัก ถึงอันตรายที่อาจเกดิขึน้จากการปฏิบัติงาน 4. กิจกรรมการเขียนขอเสนอแนะดานความปลอดภัยโดยสงเสริมใหพนักงานทกุระดับมีสวนรวมในการนําเสนอ 3) กิจกรรมดานการฝกอบรม 1. ควรปรับปรุงในเรื่องการฝกอบรมใหเหมาะสมกับพนกังานทุกระดับ อยางทั่วถึง มีการนํามาทบทวนหัวขอการอบรมทุกๆ ป เพื่อใหเหมาะสมกบักิจกรรม นอกเหนือจากการปฐมนิเทศ เชน ความปลอดภัยตามกฎความปลอดภัยของหนวยงาน เพราะการฝกอบรมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยเปนอยางมากและจะชวยพัฒนาพนักงานและชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและมีจิตสํานึกในเรื่องความปลอดภัยมากขึ้น เพื่อปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุ 2. การอบรมปลูกจิตสํานึกและทัศนคติดานความปลอดภัยใหกับพนักงานระดับปฏบิัติการในการปองกนัอันตราย โดยใหความรูความเขาใจถึงความสูญเสียที่เกิดขึน้จากอุบัติเหตหุรือความประมาท เพราะหากเกิดขึน้แลวจะเปนผลเสียทั้งกับตัวของพนักงานเองและครอบครัว รวมถึงบริษทัก็ไดรับความเสียหายดวย

Page 73: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การพัฒนาสูความเปนประเทศอุตสาหกรรม ทําใหภาคอุตสาหกรรมขยายการตัวอยางรวดเร็ว ส่ิงที่เพิ่มขึ้นตามมาคืออันตรายและความไมปลอดภัยจากการทํางาน ความไมปลอดภัยที่เกิดขึ้นสวนใหญถึงรอยละ 80 เกิดจากกพฤติกรรมที่ไมปลอดภัยของคนทํางานเอง ไมวาจะเปน การไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในขณะปฏิบัติงานกับงานที่มีความเสี่ยง การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยที่องคกรกําหนด การไมปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางาน และการซอมเครื่องจักรที่ไมถูกตอง สวนอีกรอยละ 20 เกิดจากสภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมปลอดภัย เชน พื้นล่ืน การไมจัดเก็บของใหเปนระเบียบ การวางของสูงเกินกําหนด หรือการจัดวางสารเคมี ในพื้นที่ไมเหมาะสม เปนตน สภาพแวดลอมดังกลาวอาจทําใหเกิดอุบัติ เหตุตอผูปฏิบัติงาน ทําใหบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือเสียชีวิต ตองหยุดงาน สูญเสียรายไดจากการหยุดทํางาน หากพิการหรือทุพพลภาพ ก็ทําใหเปนภาระแกครอบครัวที่ตองดูแล และยังสงผลกระทบตอกับองคกร เชน ตองจายเงินเขากองทุนเงินทดแทนมากขึ้น ขาดพนักงานทํางาน ตองเสียเวลาสรรหาพนักงานใหม ฝกอบรมพนักงานใหม ทําใหผลผลิตลดลง เปนตน ทําใหในแตละป ประเทศตองสูญเสียเงินไปจํานวนมาก ทั้งภาครัฐและเอกชน ตางเลง็เห็นความสูญเสียที่เกิดขึน้ดงักลาว จึงไดชวยกันรณรงคใหมีการบริหารจัดการโรงงานอุตสาหกรรมใหนาอยู นาทํางาน และ ชวยลดอุบัติเหตุจากการทํางาน ซ่ึงระบบที่หนวยงานตางๆนํามาใชในการบริหารความปลอดภัย เชน ระบบ OHSAS 18001 หรือ TIS 18001 รวมถึง มาตรฐานแรงงานไทย อีกทั้งมีกิจกรรมที่ชวยจิตสํานึก และความตระหนกั ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยการจัดกิจกรรมรณรงคดานความปลอดภัย กิจกรรมการฝกอบรมใหพนักงานใหมกอนเขางาน การฝกซอมอพยพหนีไฟ การฝกอบรมดับเพลิงเบื้องตน การจัดการกรณีสารเคมี หรือ แกส ร่ัวไหล การจัดกจิกรรม KYT (การหยั่งรูอันตราย) การเขียนขอเสนอแนะดานความปลอดภยั การจดัสัปดาหความปลอดภัย ในโรงงาน เปนตน อยางไรก็ตาม แมวาทุกฝายตางรณรงคและจดักิจกรรมตางๆมากมาย แตยังพบวาอุบัติเหต ุก็ยังเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง

Page 74: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

64

บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) เอง แมวาจะมีการจัดทําระบบ OHSAS 18001 มีการฝกอบรมพนักงานในหลาย ๆ หลักสูตรที่เกี่ยวของ และจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมจิตสํานึกและความตระหนักดานความปลอดภัย แตก็ยังพบวาสถิติอุบัติเหตุในสถานประกอบการเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง

จากสภาพปญหาที่เกิดขึ้นรวมทั้งทฤษฎีของการเกิดอุบัติเหตุซ่ึงพบวาอุบัติเหตุสวนใหญเกิดจากการกระทําที่ไมปลอดภัย ดังที่กลาวมาในเบื้องตน ผูวิจัยจึงสนใจทําการการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ทั้งนี้เพื่อทําความเขาใจสภาพปญหาและสาเหตุของอุบัติเหตุและความไมปลอดภัย ซ่ึงจะนําไปสูแนวทางในการดําเนินการปองกันและแกปญหาในอนาคต

การวิจัยคร้ังนี้เปนเชิงสํารวจ ใชวิธีการเชิงปริมาณรวมกับเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค 3 ขอคือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงานฝายปฏิบัติการของ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) 2) เพื่อระบุปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) และ 3) เพื่อหาแนวทางในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานที่เกิดจากพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

การวิจัยนี้ใชเชิงปริมาณรวมกับเชิงคุณภาพ โดยเชิงปริมาณใชเครื่องมือแบบสอบถาม (Questionnaire) เก็บขอมูลจากประชากรพนักงานฝายปฏิบัติทั้งหมด จํานวน 135 คน วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS โดยใชใชสถิติพรรณนา (Descriptive) วิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมประชากร ใช Pearson Correlation ตรวจสอบ Multicollinearity ระหวางตัวแปรอิสระ และการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามเพื่อทดสอบสมมติฐานใชการวิเคราะหพหุแบบปกติ (Multiple Regression Analysis, Enter Method) ในสวนเชิงคุณภาพใชแนวคําถามเพื่อสัมภาษณ (Interview Guideline) สัมภาษณหัวหนางาน 2 คน และผูชวยผูจัดการ 2 คน รวมเปน 4 คน รวมกันทําการสังเกต และทําการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และสรุปประเด็น

Page 75: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

65

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.1.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมประชากร กลุมประชากรสวนใหญเปนเพศชาย คือรอยละ 79.26 อายุ จํานวนมากที่สุดอยูในชวง 31 – 40 ป

คือ รอยละ 52.59 รองลงมาเปน 21 -30 ป และ 41 – 50 ป รอยละ 25.19 และ 20.74 ตามลําดับ ดานการศึกษา พบวาจํานวนมากที่สุดคือการศึกษาระดับมัธยมปลายหรือ ปวช. รอยละ 64.44 รองลงมาคือกลุมมัธยมตนหรือต่ํากวา รอยละ 17.04 สวนการศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกวาปริญญาตรี จํานวนเทากันคือ รอยละ 8.15 กลุมอนุปริญญาหรือ ปวส. จํานวนเล็กนอยคือรอยละ 2.22 ในดานอายุงาน พบวา อายุงาน 1 – 5 ปและ 6 – 10 ปมีจํานวนเทา ๆ กันคือรอยละ 37.78 และ 37.04 อายุงาน 11 – 15 ป จํานวนรอยละ 21.48 สวนอายุงานไมถึง 1 ป และมากกวา 15 ป จํานวนเล็กนอย

การที่กลุมประชากรสวนใหญเปนผูชายเนื่องจากลักษณะงานฝายผลิตทํางานเปนกะ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตทํางานตลอด 24 ช่ัวโมงและเปนงานที่ตองทํารวมกับสารเคมี บางสายการผลิตตองทํางานในพื้นที่รอน จึงเปนเหตุใหกลุมประชากรสวนใหญเปนผูชาย

5.1.2 ระดับพฤติกรรมความปลอดภยัดานการปฏิบตัิงานฯ ระดับทัศนคติฯ และระดับความรูฯ

5.1.2.1 ระดับพฤติกรรมความปลอดภัย 1) ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงาน ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานพบวา กลุมประชากรสวน

ใหญคือรอยละ 62.69 มีพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยในระดับสูง รอยละ 31.11 และนอยที่สุดรอยละ 5.93 มีพฤติกรรมความปลอดภัยปานกลางดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานการปฏิบัติงานสูงถึงสูงมาก

2) ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยดานเครือ่งจักรอุปกรณ ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณพบวา กลุมประชากร

สวนใหญคือรอยละ 78.52 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูง รอยละ16.30 และความปลอดภัยระดับปานกลางและระดับนอยจํานวนไมมาก ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานเครื่องจักรอุปกรณสูงถึงสูงมาก

Page 76: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

66

3) ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอม ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมพบวา กลุมประชากรสวน

ใหญคือรอยละ 74.81 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดบัสูง รอยละ19.26 และความปลอดภัยระดับปานกลางรอยละ 5.93 ดงันั้นผูปฏิบัติงานเกอืบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมสูงถึงสูงมาก

4) ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยดานการจัดการ ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจดัการพบวา กลุมประชากรสวนใหญ

คือรอยละ 80.00 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูง รอยละ17.04 และความปลอดภยัระดับปานกลางรอยละ 2.96 ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกือบทั้งหมดมีพฤตกิรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมสูงถึงสูงมาก

5) ระดับพฤตกิรรมความปลอดภัยโดยรวม 4 ดาน ระดับพฤติกรรมความปลอดภัยดานการจดัการพบวา กลุมประชากรสวน

ใหญคือรอยละ 75.56 มีพฤติกรรมความปลอดภัยระดับสูงมาก รองลงมามีพฤติกรรมความปลอดภัยระดบัสูง รอยละ 21.48 และความปลอดภัยระดับปานกลางรอยละ 2.96 ดังนั้นผูปฏิบัติงานเกอืบทั้งหมดมีพฤติกรรมความปลอดภัยดานสภาพแวดลอมสูงถึงสูงมาก

5.1.2.2 ระดับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน

ระดับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน พบวา กลุมประชากรสวนใหญคือรอยละ 67.41 มีทัศนคติฯ ในระดบัดี รองลงมามีทัศนคติฯ ในระดับดีมาก รอยละ 32.59 ดังนั้น ผูปฏิบัติงานทั้งหมดมีทัศนคติดีและดีมาก

5.1.2.3 ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน ระดับความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางานพบวา กลุมประชากรสวนใหญ

คือรอยละ 41.48 มีความรูเร่ืองการปองกันตนเองระดับสงู รองลงมามีความรูเร่ืองการปองกันตนเองในระดบัสูงมากและสูงปานกลางจาํนวนใกลเคียงกัน คือ รอยละ 28.15 และรอยละ 24.44 สวนระดับความรูนอยและนอยที่สุดมีจํานวนไมมาก ดังนั้น ผูปฏิบัติงานทั้งหมดมีความรูดีมาก

Page 77: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

67

5.1.3 การทดสอบสมติฐาน การตรวจสอบความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระที่ใชในการวิเคราะห พบวาไมมี

คูใดที่มีความสัมพันธกันสูง จึงสามารถนําตัวแปรอิสระทุกตัวเขาสมการแบบจําลองการวิเคราะหพหุปกติได

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา 1. ปจจัยสวนบุคคล ดานเพศและอายุงานมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ โดยเพศมีผล

ในทางลบ อายุงานมีผลในทางบวก สวนปจจัยดาน อายุและการศึกษา ไมมีผล 2. ทัศนคติตอเร่ืองความปลอดภัย ฯ มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ โดยมีผลทางบวก

3. ความรูเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยฯ ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยฯ

สรุป ผลการทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะหถดถอยแบบปกติพบวาตัวแปรอิสระสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 3 ตัว คือ เพศ (ชาย) อายุงาน และทัศนคติ โดยตัวแปรเพศ (ชาย) เปนความสัมพันธในทางลบ (Beta = -0.232) สวนอีก 2 ตัวแปรคือ ทัศคติฯ (Beta = 0.199) และความรูฯ เปนความสัมพันธทางบวก ตัวแปรอิสระทั้งหมดรวมกันทํานายตัวแปรตามไดถูกตองรอยละ 21.5 (R2 = 0 .215)

จากผลการวิเคราะหและพิสูจนสมมติฐานดังกลาวขางตน สรุปไดวา เพศชายมีพฤตกิรรม

ความปลอดภยัในการทํางานนอยกวาเพศหญิง ผูมีอายุงานนานกวา และผูมีทัศนคติดีกวาจะมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานมากกวา

5.1.4 แนวทางการจัดกิจกรรม 5.1.4.1 สภาพพฤติกรรมที่ไมปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

พบวาพนักงานมีพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยเกี่ยวกับปฏิกิริยาตอบสนองเกี่ยวกับการใชอุปกรณปองกันภัยสวนในขณะปฏิบัติงานหรือในบริเวณที่มีความเสี่ยงที่ โดยไมใสอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลตามขอกําหนด เมื่อไมมีหัวหนางานเขาไปสังเกต สําหรับการกระทําที่ไมปลอดภัยที่เกีย่วกับการไมปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่พบไดแก พนกังานขับรถโฟลคลิฟทขับรถดวยความเร็วเกินกวา 15 กม/ ชม และไมมีการตรวจสอบสภาพรถโฟลคลิฟทกอนการใชงาน ซอมเครื่องจักรโดยไมหยดุเครื่องจักร หรือไมมกีารขอ

Page 78: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

68

ใบอนุญาตทํางาน (Work permit) กอนเขาทํางานในบริเวณหนวยงานผลิต ไมทราบถึงวิธีการทํางานที่ถูกตองและทํางานลดัขั้นตอน

5.1.4.2 แนวทางในการดําเนนิกิจกรรมเพื่อลดการเกิดอุบตัิเหตุในโรงงานที่เกิดจากพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยของพนักงาน

ผลจากการวิเคราะหหอมูลจากการสัมภาษณหวัหนางาน พบวา กจิกรรมที่ควรจัดเพื่อลดการเกดิอุบัติเหตุในโรง มีดังนี ้ 1) กิจกรรมของฝายการบริหาร ออกกฎระเบยีบขอบงัคับดานความปลอดภัยในการทํางาน เชน การกําหนดเขตการสวมใสอุปกรณอุปกรณปองกันภยัสวนบคุคล กําหนดมาตรการเพิ่มบทลงโทษสําหรับผูทําผิดกฎระเบยีบความปลอดภัยของบริษัท เพือ่ใหพนกังานเกิดความกลัวและไมกระทําผิดซ้ําอีก กําหนดขั้นตอนมาตรฐานการทํางาน (Work in) นํามาสอนงานใหกับพนักงานเพื่อปฏิบัติเปนมาตรฐานเดยีวกนั

หัวหนางานควร เสริมสรางขวัญกําลังใจของพนักงานโดยใหคําแนะนําในพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ถูกตอง จัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเพยีงพอ และบรษิัทควรพิจารณาเพิ่มคาตอบแทนใหกับพนักงานในการปฏิบัติงานที่เสี่ยงอันตราย 2) กิจกรรมดานการสงเสริม บริษัทควรจัดหาและเตรียมพรอมซึ่งอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลใหกับพนักงาน มกีระบวนการในการประเมินความจําเปนในการใชอุปกรณเพื่อใหสอดคลองกับความเสี่ยงที่เกิดขึน้อยางแทจริงและสํารวจหาขอบกพรองของอุปกรณและปรับปรุงใหเหมาะสม การรณรงคเร่ืองความปลอดภัยโดยใหพนกังานไดมีสวนรวม เชนจัดใหมีปายประกาศกจิกรรม การเขยีนขอเสนอแนะดานความปลอดภัย การประกวดคําขวญัเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน เพื่อเปนการพัฒนาจิตสํานึกและทัศนคติของตัวพนกังานเองใหระมดัระวัง ตลอดจนวิธีปฏิบัติตนอยางปลอดภัย 3) กิจกรรมดานการฝกอบรม ควรปรับปรุงในเรื่องการฝกอบรมใหเหมาะสมกับพนกังานทุกระดับ อยางทั่วถึง มีการนํามาทบทวนหัวขอการอบรมทุกๆ ป การอบรมสรางจิตสํานึกและทัศนคติดานความปลอดภยัใหกับพนกังานระดับปฏิบัติการในการปองกันอันตราย โดยใหความรูความเขาใจถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุหรือความประมาท

Page 79: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

69

5.2 อภิปรายผล จากการศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานและปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการทํางานของพนักงานฝายปฎิบัติการ บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) สามารถนําผลการศึกษามาอภิปรายตามทฤษฎีไดดังนี ้

5.2.1 ปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน 1. เพศ ผลการวิจัยพบวาเพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน

สอดคลองกับงานวิจัยของ สุระ จันลา (2547) ที่ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสในนิคมอุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเท็ค) พบวาปจจัยสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมความปลอดภัยประกอบดวย ปจจัยดานเพศ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และสอดคลองกับ วไลพร ภิญโญ (2544) ที่ศึกษาถึงปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย กรณีศึกษาพนักงานโรงงานผลิตอุปกรณไฟฟาแหงหนึ่งในจังหวัดสมุทราปราการซึ่งพบวาเพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย ในการทํางาน

แตผลการวิจัยคร้ังนี้กลับไมสอดคลองกับงานวิจัยของ อริศรา ปาดแมน (2542) ที่ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตรายกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต บริษัทรองเทาบาจาแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) โรงงานบางพลี ซ่ึงพบวาเพศไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงาน และไมสอดคลองกับศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548) ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได อายุงาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน ผลสรุปที่ไดจากการวจิัยคร้ังนี้ อาจกลาวไดวา การที่ผลงานวิจยัไมสอดคลองอาจเนื่องจากลักษณะการทํางานในสายงานการผลิตมีความแตกตางกันและเปนงานที่ไมกอใหเกดิอันตราย อีกทั้งสัดสวนของเพศจากประชากรกลุมตัวอยางมีปริมาณที่แตกตางกัน

2. อายุ ผลการวิจัยพบวาอายุไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ทํางาน สอดคลองกับงานวิจัยของแกวฤทัย แกวชัยเทียม (2548) ศึกษาเรื่อง การรับรูการจัดการควาปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการที่พบวาพนักงานที่มีอายุแตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานไมแตกตางกัน และ

Page 80: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

70

สอดคลองกับอริศรา ปาดแมน (2543) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรู สภาพการทํางานที่เปนอันตรายกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต บริษัท รองเทาบาจาแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) ที่พบวาพนักงานที่มี อายุ แตกตางกัน มีพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยไมแตกตางกัน

แตผลการวิจัยคร้ังนี้กลับไมสอดคลองกับงานวิจัยของ สุระ จันลา (2547) ที่ศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสในนิคมอุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเท็ค) พบวาปจจัยสวนบุคคลที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมความปลอดภัยประกอบดวย ปจจัยดานอายุ อยางมีนัยสําคัญ รวมถึงงานวิจัยอัครชาติ ติณสูลานนท (2546) พบวาพนักงานที่มี อายุ ที่แตกตางกันมีมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญ

ผลสรุปที่ไดจากการวจิัยคร้ังนี้ อาจกลาวไดวาพนกังานทกุชวงอายุมีจิตสํานึกและมีความตระหนักในดานความปลอดภัย มีความคาดหวังในความปลอดภัยของตนเอง ซ่ึงเปนสวนสําคัญที่สนับสนุนและผลักดันใหพนกังานมีการแสดงออกของพฤติกรรมความปลอดภัยที่สูง

3. ระดับการศึกษา ผลการวิจัยพบวาระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ทํางาน สอดคลองกับงานวิจัยของศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548) ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) พบวา ระดับการศึกษา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางไมมีนัยสําคัญ รวมถึงงานวิจัยของอริศรา ปาดแมน (2542) ที่ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตรายกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต บริษัทรองเทาบาจาแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) โรงงานบางพลี ซ่ึงพบวาระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงาน

แตผลงานครั้งนี้กลับไมสอดคลองงานวิจัยของ วไลพร ภิญโญ (2544) ที่ศึกษาถึงปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย กรณีศึกษาพนักงานโรงงานผลิตอุปกรณไฟฟาแหงหนึ่งในจังหวัดสมุทราปราการซึ่งพบวาระดับการศึกษามีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย ในการทํางาน

ผลสรุปที่ไดจากการวจิัยคร้ังนี้ อาจกลาวไดวาพนกังานทีม่ีระดับการศึกษาตางกัน มีความคาดหวงัในความปลอดภัยของตนเอง และมีความตระหนกัในดานความปลอดภัย ซ่ึงเปนสวนสําคัญที่ทําใหพนักงานมีพฤติกรรมความปลอดภยัที่สูง

Page 81: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

71

4. อายุงาน ผลการวิจัยพบวาอายุงานมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการ

ทํางาน สอดคลองกับงานวิจัย อัครชาติ ติณสูลานนท (2546) ศึกษาเรื่อง ความรู ทัศนคติตอพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค กรณีศึกษาในสายงานธุรกิจวิศวกรรม ธุรกิจกอสรางและบํารุงรักษา พบวาพนักงานที่มี อายุงานที่แตกตางกันมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญ

แตผลงานครั้งนี้กลับไมสอดคลองกับงานวิจัยของอริศรา ปาดแมน (2542) ที่ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตรายกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต บริษัทรองเทาบาจาแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) โรงงานบางพลี ซ่ึงพบวาอายุงานไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต เชนเดียวกับงานวิจัยของของศุภวัฒน เตชะพิทักษ (2548) ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท โคราช เดนจิ จํากัด (K2) พบวา อายุงาน มีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานอยางไมมีนัยสําคัญ

สรุปผลการศึกษาปจจัยระหวางอายุงานกับพฤติกรรมความปลอดภัยเปนไปตามสมมติฐาน อาจกลาวไดวา ผูที่มีประสบการณในการทํางานนานจะมีความรูเกี่ยวกับวิธีการทํางานที่ปลอดภัยและมีการทบทวนขั้นตอนการทํางานอยางสม่ําเสมอ ทําใหพนักงานมีความตระหนักถึงอันตรายที่จะเกิดจากเหตุอันเนื่องมาจากการทํางาน ดังนั้นอายุงานจึงมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย

5.2.2 ทัศนคติตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

จากการที่พนักงานฯทั้งหมดมีทัศนคติที่ดีตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและพบวาทัศนคติดานความปลอดภัยความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน สอดคลองกับงานวิจัยของสุรชัย ไพศาลพันธ (2541) ไดศึกษาเรื่อง ความสัมพันธระหวางทัศนคติตอความปลอดภัยในการทํางานและการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานการทาอากาศยานแหงประเทศไทย มีความสัมพันธในทางบวกกับการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัย อีกทั้งผลการศึกษาของอัครชาติ ติณสูลานนท (2546) ศึกษาเรื่อง ความรู ทัศนคติตอพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค กรณีศึกษาในสายงานธุรกิจวิศวกรรม ธุรกิจกอสรางและบํารุงรักษา ผลการวิจัย พบวาทัศนคติและพฤติกรรมดานความปลอดภัยมีความสัมพันธกัน เชนเดียวกับ สุพัตรา โทวรากา (2538) ศึกษาผลของการจัดกิจกรรม

Page 82: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

72

เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของคนงานในโรงงานทอผาพบวา ทัศนคติ และพฤติกรรมดานความปลอดภัยในการทํางานมีความสัมพันธกันในเชิงบวก

ผลสรุปที่ไดจากการวิจัยคร้ังนี้ อาจกลาวไดวาทัศนคติในเรื่องความปลอดภัยของพนักงานมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และสัมพันธกันในเชิงบวก ทั้งนี้จากการทบทวนวรรณกรรมยังไมพบวาทัศนคติไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในการศึกษาใดๆ ดังนั้น องคกรจึงควรเนนใหมีการเสริมสรางใหเกิดทัศคติที่ดี เพื่อสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

5.2.3 ความรูดานความปลอดภัยตอพฤตกิรรมความปลอดภัยในการปฏิบัตงิาน

ผลการวิจัยพบวาความรูดานความปลอดภัยไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางาน สอดคลองกับงานวิจัยของพิมพใจ สายวิภู (2541) ที่ศึกษาเรื่อง ความรู ทัศนคติ และการปฏิบัติหรือพฤติกรรมทางดานความปลอดภัยในการทํางานของนักศึกษา วิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตการศึกษา 4 พบวา ความรูกับการปฏิบัติตอความปลอดภัยในการทํางานไมมีความสัมพันธกัน ทั้งนี้ไมสอดสอดคลองกับผลการศึกษาของ แกวฤทัย แกวชัยเทียม (2548) ศึกษาเรื่องการรับรูการจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัทผลิตผลิตภัณฑเคมีแหงหนึ่ง พบวา การรับรูการจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ 0.312 และ สุพัตรา โทวรากา (2538) ไดศึกษาผลของการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานของคนงานในโรงงานทอผาพบวาความรู และพฤติกรรมดานความปลอดภัยในการทํางานมีความสัมพันธกันในเชิงบวก

ผลสรุปที่ไดจากการวจิัยคร้ังนี้ อาจกลาวไดวาระดับความรู ความเขาใจของพนักงานไมมีผลในเรื่องพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานซึ่งไมสอดคลองกับผลการศึกษาอื่นบางกรณี แมจะเปนบริษัทผลิตผลิตภัณฑเคมเีชนกัน ดังนั้น เร่ืองความรูจึงยังเปนตวัแปรที่จะตองศึกษา

ตอไป

Page 83: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

73

5.3 ขอเสนอแนะ 5.3.1 เพื่อการปฏิบตั ิ

1) การที่พนักงานเพศชายมีพฤติกรรมความปลอดภัยนอยกวาผูหญิง (รวมทั้งพนักงานเพศชายมีจํานวนมากกวา) การรณรงคหรือทํากิจกรรมตาง ๆ ควรเนนที่กลุมเพศชาย เชน กิจกรรมตอนเชากอนเขาทํางาน Safety morning talk ใหพนักงานทุกคนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น, ขอเสนอแนะหรือประสบการณการไดรับอันตรายจากการทํางานโดยใหมานําเสนอที่หนาแผนกเพื่อใหทุกคนรับทราบและเปนความรูกับเพื่อนรวมงานและทําใหพนักงานกลาแสดงออกในทางที่ถูก

2) ผูมีอายุงานนานกวาจะมีความระมัดระวังในการทํางานมากกวา การรณรงคหรือกิจกรรมตาง ๆ ควรเนนใหกับพนักงานที่มีเพิ่งเขาทํางานใหมหรือที่มีอายุงานไมนาน เชน การปฐมนิเทศพนักงานใหมอยางเขมขน การจัดใหผูมีอายุงานมากกวาเปนพี่เล้ียงหรือเปนที่ปรึกษา หรือเปนตนแบบ (Role Model) ในการปฏิบัติที่ถูกตอง

3) จัดกิจกรรมใหเกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติ เชน ใหความรูตอเนื่อง การใหเห็นภาพความบาดเจ็บเสียหายอยางเปนรูปธรรม อาจจะในลักษณะเปนภาพเปนวีดีทัศน เพื่อใหเกิดความตระหนักอยางแท

4) การจัดการฝกอบรมเพื่อปองกันอันตรายจากการทํางานอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง การฝกอบรมควรเนนในเรื่องที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยในการทํางาน เชน การใชอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล การทํางานกับสารเคมี และควรมีการติดตามประเมินผลหลังจากฝกอบรม

5) รณรงคใหพนักงานใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเปนประจํา กําหนดพื้นที่และกิจกรรมที่ตองใส มีมาตรการใหปฏิบัติตามขั้นตอน และบริษัทจะตองจัดหาอุปกรณใหแกพนักงานอยางเพียงพอเหมาะสมและตรงตามความตองการ

6) ฝายซอมบํารุงสามารถเกิดอุบัติเหตุไดงายในงานซอมแซมเครื่องจักร เพื่อเปนการลดอันตรายที่จะเกิด ควรมีการตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายใหอยูในสภาพพรอมใชงาน หามถอดครอบปองกันสวนที่หมุนของเครือ่งจักรออก

7) ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานใหนาอยู ลดมลภาวะตาง ๆ ทีก่อใหเกิดความรําคาญเนื่องมาจากการทํางาน

Page 84: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

74

5.3.2 เพื่อการวิจัยในอนาคต

1) จากผลการวิเคราะหที่พบวาตัวแปรอิสระทั้งหมดมีความสามารถในการทํานาย

พฤติกรรมไดไมสูงนัก การศึกษาครั้งตอจงึไปควรพิจารณาปจจยัอ่ืนๆ เพิ่มเติม เชน บทบาทหัวหนางาน พฤติกรรมเพื่อนรวมงานและสิ่งจูงใจ และการรับรูสภาพอันตราย

2) ศึกษากรณบีริษัทที่ประสบความสําเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพนักงานและลดอุบัติเหตุเพื่อเหน็ปจจยัของความสําเร็จ

3) ศึกษาเพื่อสรางรูปแบบการรณรงค เนนการมีสวนรวมของพนักงานในทกุขั้นตอนของกจิกรรมสงเสริมความปลอดภัยตางๆ

Page 85: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

บรรณานุกรม กร การันตี. 2552. ทัศนคติ หมายถึง อะไร? คนวันที่ 19 กันยายน 2552

จาก http://www.richtraining.com/article/what-attitude-mean.html กมลรัตน หลาสุวงษ. 2524. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกฎุราชวิทยาลัย. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 2552. แผนภูมิสถิติอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมป 2550. จําแนก

ตามประเภทของอุบัติเหตุ .... ประเภทโรงงาน. คนวันที่ 19 กันยายน 2552 จาก www2.diw.go.th/.../แผนภูมิอุบัติเหตุ%20ป%202550.pdf

แกวฤทัย แกวชัยเทียม. 2548. การรับรูการจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยใน การทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ. วิทยานิพนธวิทยาศาตรมหาบัณฑิต. สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

จิตรา วิมลธรรม. 2538. ความสัมพันธระหวางบุคลิกภาพ ทัศนคต ิความรูเก่ียวกับความปลอดภัย กับการจัดการความปลอดภยัของผูควบคมุในโรงงานอตุสาหกรรมผลิตยางรถยนตใน จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยา อุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. จิรวรรณ สุตสุนทร. 2551. ความคิดเห็นของขาราชการในการปรับเปล่ียนเขาสูระบบจําแนก

ตําแหนงและกําหนดคาตอบแทนใหม กรณีศึกษาเฉพาะกรมพัฒนาฝมือแรงงาน. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เฉลิมชัย ชัยกติติภรณ. 2543. เอกสารประกอบการสอน ชุดวิชา การบรหิารงานความปลอดภยั. พิมพคร้ังที่ 11. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล. 2534. ความรูท่ัวไปในการฝกปฏิบตังิานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และเออรโกโนมิคส. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ทวีวัตร บุญทริกพรพันธ. 2547. ทัศนคติดานความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานแผนกทอผา กรณีศึกษา บริษัทแหงหนึ่งในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ

พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 86: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

76

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2535. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคม. กรุงเทพมหานคร : สามเจริญพานิช ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2526. ทัศนคติ : การวัด การเปล่ียนแปลงและพฤติกรรมอนามยั. พิมพคร้ังที่ 2

แกไขและเพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. พรเกียรติ เนติขจร. 2546. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัย: กรณีศึกษา

พนักงานโรงงานประกอบรถยนตในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต. สถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

พรรณราย ทรัพยะประภา. 2552. จิตวิทยาในการจัดการกับบุคคลท่ีมีพฤติกรรมเปนปญหา. คน วันที่ 19 กันยายน 2552 จาก http://www.rural.chula.ac.th/Relation/Board/show.php?id=65

พิมพใจ สายวภิ.ู 2546. ความรู ทัศนคต ิและการปฏิบัตติอความปลอดภัยในการทํางานของ นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตการศกึษา 4. วิทยานพินธปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พีรดา พึ่งพิงพัก. 2542. พฤติกรรมความปลอดภัยของคนงานในโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม

ภาคเหนือ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ไพโรจน ลดาวิจิตรกุล. 2552. อุบัติเหตุกับการสูญเสีย. คนวันที่ 19 กันยายน 2552

จาก http://www.ismed.or.th/SME2/src/bin/controller.php?view=knowledgeInsite. KnowledgesDetail&p=&nid=&sid=29&id=1757&left=10&right=11&level=3&lv1=3

รัตนวรรณ ศรีทองเสถียร. 2542. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรม ความปลอดภัยของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ลิขิต กาญจนาภรณ. 2525. พื้นฐานพฤติกรรมมนุษย. นครปฐม : มหาวทิยาลัยศิลปากร วไลพร ภิญโญ. 2544. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤตกิรรมความปลอดภัย : กรณีศึกษา พนักงาน

โรงงานผลติอุปกรณไฟฟาแหงหนึ่ง ในจังหวัด ในจังหวดัสมุทรปราการ. วิทยานพินธวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วิชัย วงศใหญ. 2530. ความหมายของความรู. คนวันที่ 19 กันยายน 2552 จาก http://www.igetweb.com/www/socialscience/index.php?mo=3&art=59347

Page 87: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

77

วิฑูรย สิมะโชคดี และวีระพงษ เฉลิมจิระรัตน. 2544. วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภยัในโรงงาน. พิมพคร้ังที่ 14. กรุงเทพมหานคร : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญ่ีปุน).

วิทยา อยูสุข. 2544. อาชีวอนามัย สุขศาสตรอุตสาหกรรม และ ความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร : คณะสาธารณสุขศาตร มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศุภฤกษ ดวงขวัญ. 2548. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนเขตพื้นท่ีองคการบริหารสวนตําบลคลองหา จังหวัดปทุมธาน.ี ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ศุภวัฒน เตชะพิทักษ. 2548. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน บริษัท โคราช เดนกิ จํากัด (K2). วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

สมชาย เลาหะพิพัฒนชัย. 2539. ความสัมพนัธระหวางแบบแผนความเชือ่ดานสุขภาพ ความเชื่อในแหลงอํานาจควบคุมทางสุขภาพกับพฤติกรรมความปลอดภยัของคนงานในอุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สมถวิล เมืองพระ. 2537. การศึกษาพฤติกรรมอนามัยของคนงานในระดับปฏิบัติการเรื่อง การปองกันอุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน: ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑโลหะเคร่ืองจักรและอุปกรณ เขตอําเภอบางประกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธสังคมสงเคราะห ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. 2543. ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

สิทธิโชค วรานุสันติกุล. 2546. จิตวิทยาสงัคม : ทฤษฎีและการประยุกต. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น สุชาดา สุธรรมรักษ. 2531. เอกสารประกอบการสอน จต.101 จิตวิทยาเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร:

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน. สุพัตรา โทวราภา. 2538. ผลของการจัดกิจกรรมเพื่อการปรับพฤติกรรมท่ีมีตอพฤติกรรมความ

ปลอดภัยในการทํางาน ของคนงานโรงงานทอผา. กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 88: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

78

สุระ จันลา. 2547. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการรับรูระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความ ปลอดภัยของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ในนิคม อุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเทค). วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันเทคโนโลยี

พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สุรางค โควตระกูล. 2541. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

แหงจฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั. อริศรา ปาดแมน. 2543. ความสัมพันธระหวางการรับรูสภาพการทํางานที่เปนอันตรายกับ

พฤติกรรมการทํางานทีป่ลอดภัย ของพนักงานฝายผลิต บริษัท รองเทาบาจา แหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) โรงงานบางพล.ี วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. วิทยาเขตบางเขน

อัครชาติ ติณสูลานนท. 2546. ความรู ทัศนคติตอพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงานการ ไฟฟาสวนภูมิภาค กรณีศึกษาในสายงานธุรกิจวิศวกรรม ธุรกิจกอสรางและบํารุงรักษา. วิทยานิพนธ วศ.ม.(วิศวกรรมความปลอดภัย).มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.วิทยาเขตบางเขน

Page 89: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว
Page 90: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

81

ประวัติความเปนมาของบริษัท

ภาพที่ ก.1 บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) เปนผูผลิตสารโซเดียมฟอสเฟต เพื่อใชในอุตสาหกรรมดานตางๆ และเปนที่รูจักกันในนามของ TPC (บริษัทไทยโพลีฟอสเฟตและเคมีภัณฑ จํากัด (ช่ือเดิม) ภายใตเครือ อดิตยา เบอรลา ซ่ึงเปนกลุมอุตสาหกรรมที่ใหญที่สุดในประเทศอินเดีย และมีบริษัทอีกกวา 40 บริษัท ทั่วโลก เชน อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส อียิปต แคนนาดา ออสเตเลีย จีน และในประเทศไทย บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ไดกอตั้งขึ้นเมื่อป พุทธศักราช 2527 ตั้งอยูเลขที่ 77 หมูที่ 6 ซอย สุขาภิบาล 1 ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีปณิภานที่ตองการเปนโรงงานผลิตฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูง เพื่อใชในภาคอุตสาหกรรมตางๆ TPC ไดพัฒนาผลิตสินคาและบริการ เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกคา โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงในทุกมาตรฐานอยางจริงจังและตอเนื่องอยูเสมอ ทั้งทางดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ สงใหการทํางานในทุกขั้นตอนกอเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และยังรวมถึงการนําเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยมาใชงานอยูเสมอ TPC ไดดําเนินการผลิตผลิตภัณฑฟอสเฟต ดวยเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยหลากหลายชนิดเพื่อตอบสนองตออุตสาหกรรมตางๆ อาทิเชน โซเดียมไตรโพลีฟอสเฟต

Page 91: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

82

, เทดตาโซเดียมไพโรฟอสเฟต, โซเดียมเฮกซาเมตาฟอสเฟต, โซเดียม เอซิคไพโรฟอสเฟต, โมโนโซเดียมฟอสเฟต, ไดโซเดียมฟอสเฟต, โตรโซเดียมฟอสเฟต, คลอรีเนทเต็ดไตรโซเดียมฟอสเฟต, ไดรโพแตสเซียมฟอสเฟต, ไตรโพแตสเซียมฟอสเฟต ผลิตภัณฑของ TPC ไดถูกนําไปใชในอุตสาหกรรมตางๆ อาทิเชน เพื่อคงคุณคาสารอาหารและความสดตามธรรมชาติในผลิตภัณฑอาหารแชแข็งและผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว, เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทําความสะอาดของผงซักฟอก, เพื่อทําหนาที่เปนตัว ดีฟอกคูลแล็นท ในกระเบื้องเซลามิค, ใชในระบบบําบัดน้ําเสีย, ใชในอุตสาหกรรมน้ํายาทําความสะอาดโลหะเพื่อปองกันสนิมกันการกัดกรอน, เปนสารรีเจ็นนิ่งเอเจนในอุตสาหกรรมขนมอบ, เปนสารอาหารที่จําเปนในผลิตภัณฑอาหารสัตว นอกจากนี้ยังเปนสวนประกอบที่สําคัญของอีกหลายผลิตภัณฑที่ใชในชีวิตประจําวันอีกดวย TPC ไดนําระบบควบคุมที่ทันสมัย DCS มาควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเริ่มดวยการสงวัตถุดิบเขาไปยังถังทําปฎิกิริยา Neutralizer tank เพื่อเตรียมเปนสารละลายกอนที่จะถูกสงไปยังเครื่อง Spray dryer เพื่อทําใหแหงและเปนผงละเอียดของออโทฟอสเฟต จากนั้นปอนเขาเตาเผาระบบ Rotary เพื่อทําปฎิกิริยาตอเปนผลิตภัณฑ โซเดียมฟอสเฟตที่ตองการและจากนั้นจึงจัดสงไปยังระบบบรรจุหีบหอ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยดวยระบบอัตโนมัติตลอดทั้งกระบวนการ

ภาพที่ ก.2 กระบวนการผลิตสารโซเดียมฟอสเฟต

Page 92: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

83

กระบวนการตรวจสอบคุณภาพ (QC)ในทุกขั้นตอนการผลิตใชเครื่องมือที่ทันสมัยและ

บุคคลากรผูชํานาญการที่ผานการฝกฝนและอบรม จึงทําใหสามารถมั่นใจไดถึงมาตรฐานคุณภาพในทุกผลิตภัณฑ

TPC ไดรับความเชื่อมั่น ไววางใจจากลูกคาทั้งภายในประเทศและตางประเทศ เชน ยูนิลิเวอร, คอลเกตปาลมโอลีฟ, ไลออนคอรปอเรชั่น, คาโออินดัสเตรียล, เนสเล, เครือเจริญโภคภัณฑ, อายิโนะโมะโตะ และบริษัทชั้นนําอื่นๆ TPC ไดสงสินคาไปยังประเทศตางๆ เชน ญ่ีปุน, นิวซีแลนด, เกาหลี, มาเลเซีย, สิงคโปร, อินโดนีเซีย, จนี ฮองกง, ออสเตรเลีย, ไตหวัน และประเทศอ่ืนๆ ทั่วโลก

บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) ไดรับการรับรองระบบมาตรฐานตาง ๆ ดังนี้

• ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการดานคุณภาพ ISO 9001 ในป 2537

• ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 ในป 2540

• ได รั บก ารรั บรองมาตรฐานระบบการจั ดอ าชี วอนามั ยคว ามปลอดภั ย TIS/OHSAS18001ในป 2542

• ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดดานอาหาร GMP และ HACCP ในป 2545

• ไดรับรางวัล TPM (Total Productive Maintenance) จากสถาบัน JIPM ประเทศญี่ปุน จึงเปนที่ยืนยันไดถึงนโยบายการผลิตสินคาที่มีคุณภาพ ควบคูไปกับการอนุรักษส่ิงแวดลอม

ดวยความภาคภูมิใจในศักยภาพแหงผูนําในอุตสาหกรรมการผลิตฟอสเฟต บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) มีความมุงมั่นจะพัฒนาผลิตภัณฑและบริการที่ไดมาตรฐานสูงดวยคุณภาพทั้งทางดานการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหทันสมัยอยูเสมอ ทางดานพัฒนาบุคคลากร และทางดานระบบการบริหาร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดพรอมที่จะกาวไปกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปจจุบันที่กาวไปอยางรวดเร็ว ดวยความพึงพอใจสูงสุดของลูกคาเปนสําคัญ และไมหยุดยั้งที่จะขยายกําลังการผลิตไปสูทุกภูมิภาดทั่วโลกเพื่อยืนยันความเปนผูนําดานอุตสาหกรรมการผลิตฟอสเฟตชั้นนําของโลกตลอดไป

วิสัยทัศน (Vision) ของบริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) เปนผูผลิตฟอสเฟตที่มีคุณภาพ ระดับยอดเยี่ยม เพื่อใชงานในภาคอุตสาหกรรมและการผลิตอาหาร ภารกิจ (Mission) ของบริษทัอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) มุงมั่นที่จะปรบัปรุงอยางตอเนื่องเพื่อความเปนเลิศในดานหวงโซอุปทาน คุณภาพ นวัตกรรม ความปลอดภยั ส่ิงแวดลอมและทรัพยากรบุคคลเพื่อกอใหเกิดความประทับใจแกผูเกีย่วของทุกฝาย โดยปฏิบตัิตามหลักการของ วงจร พี ด ีซี เอ และการเทียบเกณฑมาตรฐาน

Page 93: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

84

นโยบายดานสิ่งแวดลอม ของ บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น)

Page 94: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

85

นโยบายดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของ บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น)

สําหรับการบริหารความปลอดภัยในการทํางานนั้น ปจจุบนับริษัทไดนําเอาระบบการจดัการความปลอดภยัที่เนนการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมเพื่อความปลอดภัย (Behavior Base Safety, BBS) เพื่อใชในการควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงของพนักงานและสรางวัฒนธรรมความปลอดภัยใหเกิดขึ้น

Page 95: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

86

ในองคกร ตามที่บริษัทมีความมุงมั่นที่จะทําการปองกันอุบัติเหตุใหดยีิง่ขึ้นอยางตอเนื่องโดยมีเปาหมายทีจ่ะปองกันอุบัติเหตุที่กอใหเกดิการบาดเจ็บเปนศูนย (Zero Accident)

กิจกรรมความปลอดภยัของบริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด จะไดจัดใหมีมาตรการความปลอดภัยตาง ๆ เพื่อใหพนักงานทราบและตระหนักถึงเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานแลว บริษัทยังไดจัดกิจกรรมและมาตรการตาง ๆ ดานความปลอดภัยเพื่อกระตุนเตือนพนักงานตลอดเวลากิจกรรมหรือมาตรการดังกลาวมีดังตอไปนี้

1. การทําการสนทนาความปลอดภัย (Safety Talk) 2. กิจกรรมขอเสนอแนะดานความปลอดภยัของพนักงาน (Safety Suggestion) 3. การจัดอบรมดานความปลอดภัย 4. กิจกรรมการสงัเกตพฤติกรรมเสี่ยงของพนกังาน (Safety observation) หรือ

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อความปลอดภัย(Behavior Base Safety) 5. การตรวจความปลอดภัย 6. การจัดฉายวีดโีอความปลอดภัย

1. การสนทนาความปลอดภยั (Safety Talk) การสนทนาความปลอดภัย (Safety Talk) นับเปนกิจกรรมที่จะกระตุนและย้ําเตือนใหพนักงานเกิดจิตสํานึกและเกิดความระมัดระวังในการปฎิบัติงานตลอดเวลา เนื่องจากความปลอดภัยของพนักงานจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการตอกย้ําซ้ําเตือนกันอยูตลอดเวลา กิจกรรมสนทนาความปลอดภัยจะดําเนินการโดยหัวหนางานกับพนักงานระดับปฏิบัติการที่เปนลูกนองของตน โดยทั่วไปจะใชเวลาสั้นๆ ประมาณ 5-10 นาที กอนเริ่มปฏิบัติงานเปนประจําทุกวัน ทางบริษัทจะเนนในสวนของพนักงานในฝายปฏิบัติการ อาทิ ฝายผลิต ฝายซอมบํารุง ฝายวิเคราะหและวิจัย สําหรับหัวขอหรือเร่ืองที่สนทนาอาจเปนเรื่องเกี่ยวกับนโยบาบดานความปลอดภัยของบริษัท อุบัติเหตุ อุบัติการณ เหตุเกือบเกิดอุบัติเหตุ หรือหลักในการทํางานเพื่อความปลอดภัยส้ันๆ ก็ได หรืออาจจะเปนเหตุการณที่หัวหนางานประสบมานํามาเลาใหลูกนองฟง หรือเร่ืองจากลูกนองนําขึ้นมาเลาก็ได ซ่ึงถือวาเปนกิจกรรมที่สําคัญที่หัวหนางานจะตองจัดใหมี และเปนตัวช้ีวัดอันหนึ่งที่จะแสดงใหเห็นวาหัวหนางานใหความสําคัญกับความปลอดภัยมากนอยขนาดไหน แมวาจะมิไดบังคับก็ตาม

Page 96: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

87

2. กิจกรรมขอเสนอแนะดานความปลอดภัยของพนักงาน (Safety Suggestion )

การคนหาสภาพอันตรายในสถานที่ทํางาน Unsafe Condition เปนการเสริมสรางจิตสํานึกดานความปลอดภัยของพนักงานระดับปฎิบัติการ เพราะการที่บริษัทจะทราบวาสถานที่ใดในการทํางานมีสภาพที่เปนอันตรายนั้น พนักงานระดับปฎิบัติการนับเปนกําลังสําคัญอยางยิ่งโดยเหตุที่พนักงานดังกลาวเปนผูที่ทํางานประจําอยูหนางานยอมที่จะวิเคราะหหรือพบเห็นสภาพการณตาง ๆ ที่ไมปลอดภัยไดเปนอยางดี และเพื่อเปนการแกไขปองกันอุบัติเหตุหรืออุบัติการณกอนที่จะเกิดอุบัติเหตุ ดังนั้นบริษัทจึงจัดกิจกรรมขอเสนอแนะดานความปลอดภัย (Safety Suggestion) ขึ้นเพื่อใหพนักงานเขียนขอเสนอแนะเพื่อดําเนินการแกไขแจงหัวหนาและฝายจัดการที่เกี่ยวของไดตลอดเวลา และขอเสนอแนะดังกลาวนี้ก็ไดถูกนําไปพิจารณาดําเนินการแกไขตอไป 3. การจัดอบรมดานความปลอดภัย

การอบรมดานความปลอดภัยนับวามีความสําคัญอยางยิ่งในการที่จะพัฒนาความรู ทักษะความสามารถ ตลอดจนจิตสํานึก ทัศนคติดานปลอดภัยใหกับพนักงาน ในแตละปบริษทัไดจัดใหพนักงานเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ การอบรมความปลอดภัยอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ

A. การอบรมความปลอดภัยที่จดัโดยฝายความปลอดภัยรวมกับฝายบริหารทรัพยากรมนษุย ซ่ึงมีหลักสตูรที่สําคัญไดแก 1. การอบรมความปลอดภยัสําหรับผูบริหาร 2. การอบรมความปลอดภยัสําหรับหัวหนางาน 3. การอบรมความปลอดภยัสําหรับพนักงานใหม 4. การอบรมความปลอดภยัสําหรับผูรับเหมา 5. การขับรถโฟลคลิฟทอยางปลอดภัย 6. การฝกซอมเหตุการณฉุกเฉินสารเคมีร่ัวไหล 7. การอบรมการฝกซอมอพยพหนีไฟและการดับเพลิงเบือ้งตน 8. อ่ืน ๆ

B. การอบรมโดยหวัหนางานเกี่ยวกับการทํางานอยางถูกวธีิและปลอดภยั หนวยงานในสายการผลิตและสายงานซอมบํารุง หัวหนางานจะจัดใหมีการจัดทําวิธีการทํางานที่ปลอดภัย (Work Instruction) ซ่ึงมีวิธีการทํางานที่ปลอดภัยนี้จําเปนอยางยิ่งที่พนักงานจะตองทราบและปฎิบัติตามอยางเครงครัด และหัวหนาจะมีหนาที่ในการอบรมพนักงานของตนใหมีความรูความชํานาญในการทํางานและสามารถทํางานไดอยางปลอดภัยตลอดเวลา

Page 97: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

88

4. การสังเกตพฤติกรรมเสี่ยงของพนักงาน (safety Observation)

การสังเกตความปลอดภัยเปนมาตรการในการปองกันอุบัติเหตุที่มีประสิทธิภาพบริษัทจัดใหมีการดําเนินการสังเกตและควบคุมพฤติกรรมการทํางานที่ไมปลอดภัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงขึ้น โดยที่ผูสังเกตการณนั้นจะไดจากการสมัครใจที่จะทํางานและมีการจัดอบรมเกี่ยวกับวิธีสังเกตความปลอดภัย ใหทราบถึงทักษะในการสังเกต เพื่อคนหาพฤติกรรมเสี่ยง และทักษะในการเขาไปพูดคุยกับพนักงานผูที่มีการกระทําที่ไมปลอดภัย โดยยึดหลักที่วา เพื่อนชวยเพื่อน และ No name No blame ในการสังเกตความปลอดภัยในการทํางานนั้น ผูทําการสังเกตจะสังเกตทั้งพฤติกรรมที่ปลอดภัยอยูแลว และพฤติกรรมการกระทําที่ไมปลอดภัย สําหรับการพูดคุยกับพนักงานที่มีพฤติกรรมเส่ียงนั้น ก็เพื่อเปนการหยุดการกระทําดังกลาวทันทีและพูดคุยใหพนักงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีจิตสํานึกในความปลอดภัยในการทํางาน เพราะหากไมรีบหยุดการกระทําดังกลาวอุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นไดจนอาจมีความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสิน

ในการสังเกตและการพูดคุยนั้นจะเปนในลักษณะที่ไมตําหนิกัน จะเปนการใหพนักงานแสดงความคิดเห็นวาถาเขาปฏิบัติดังกลาวจะเกิดอะไรขึ้นกับตัวเขาเอง และตัวเขาจะทําอยางไรใหปลอดภัยยิ่งขึ้น และจะขอคําสัญญาจากพนักงานผูนั้นในการที่จะเลิกทํางานอยางไมปลอดภัยดังกลาวเสียนับตั้งแตเวลานั้นเปนตนไป

บริษัทเรากําหนดใหผูสังเกตการณจะตองทําการสังเกตความปลอดภัยเปนประจําอยางนอย 2 คร้ังตอสัปดาหการกระทําดังกลาวนี้จะทําใหเกิดการแสดงความหวงใยระหวางเพื่อนกับเพื่อน จะมีผลทําใหเกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในองคกรไดในที่สุด

ระบบการสังเกตความปลอดภัยที่ดีจะกอใหเกิดประโยชนหลายประการ ที่สําคัญไดแก 1.กอใหเกิดมาตรฐานในการทํางานอยางปลอดภัย มีคณุภาพและประสิทธิภาพที่ด ี 2.เปนการวดัผลของมาตรการในการดําเนนิการตางๆ ไมวาจะเปนมาตรการในการ ปองกันอุบัตเิหตุ หรือระบบในการควบคุมความปลอดภัย ระบบในการปฏิบัติงาน วาไดผลหรือไม หรือบังเกิดผลอยางไร 3.เพื่อเปนการเสริมสรางพฤติกรรมในการทํางานที่ปลอดภัยของพนักงาน 4.การสังเกตความปลอดภยัอยางเปนประจําเปนการสรางจิตสํานึกในการทํางาน อยางปลอดภัยของพนักงาน

สถานที่ทํางานในโรงงานนั้นมีการกระทําทีไ่มปลอดภัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงของพนักงานเกิดขึ้นอยางมากมาย และการกระทําที่ไมปลอดภัยเหลานีพ้นักงานอาจมองขามหรือเขาใจวาเปนการกระทําที่ปกติธรรมดา เพราะปฏิบัติกันจนเหน็เปนเรือ่งปกติและในที่สุดดวยสภาพการที่ไมเหมาะสม และการกระทําทีไ่มปลอดภัยดงักลาวจึงเปลีย่นเปนอุบัติเหตขุึ้นในที่สุด สําหรับการกระทําที่ไมปลอดภัยดังกลาวนั้นสามารถแบงเปนประเภทตางๆดังตอไปนี้

Page 98: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

89

ก.ปฏิกิริยาตอบสนองของพนักงาน ข.การใชอุปกรณการปองกนัอันตรายสวนบุคคล ค.การใชเครื่องมือและอุปกรณ ง.การปฏิบัติตามระเบียบปฏบิัติในการทํางาน และความเปนระเบียบเรยีบรอย จ.ตําแหนงและสถานที่ทํางาน

ก. ปฏิกิริยาตอบสนองของพนักงาน (Reaction) ปฏิกิริยาการตอบสนองของพนักงานเมื่อไดรับการสังเกตจากผูสังเกตการณที่เปนเพื่อนรวมงาน ตัวอยาง เชน ขณะที่พนักงานกําลังทํางานกับสารเคมีอยูนั้น พนกังานไมไดใสแวนตานิรภยัเพื่อปองกันอันตรายของตา ซ่ึงจําเปนจะตองสวมใสอุปกรณความปลอดภัยดังกลาวตลอดเวลา แตขณะที่เขาสังเกตเหน็ผูสังเกตการณเขาไปในสถานที่ทํางานเพื่อตรวจความปลอดภัย พนกังานผูนั้นก็จะรีบนําแวนตาเขามาใสทันท ี

ข. การใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (Personal Protective Equipment) การไมสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลขณะทํางาน การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางไมถูกวิธี การใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคลผิดประเภทหรือไมไดคณุภาพเปนตน

ค. การใชเคร่ืองมือและอุปกรณ (Tool and Equipment) การใชเครื่องมอืและอุปกรณผิดประเภท หรือผิดวิธี ขาดการตรวจสอบกอนใช เชน พนักงานใชคมีแทนคอนทบุตะปู การใชสวานไฟฟาทีชํ่ารุด การใชสายแก็สสําหรับงานเชื่อมที่ชํารุดมีรอยแตกเปนตน

ง. การปฏบิัตติามระเบียบปฏิบัติในการทํางาน และความเปนระเบียบเรียบรอย (Procedure

and House Keeping) การจัดทําระเบยีบหรือขั้นตอนในการทํางานแตละแผนกจะจดัเตรียมไว พรอมทั้งอบรมใหพนกังานทราบและนําไปปฏิบัติอยางเครงครัด แตมักจะพบวาพนักงานมกัไมปฏิบัติตามขั้นตอนการทาํงานที่กําหนดไวอยูบอย ๆ ซ่ึงนับวาเปนปจจัยเสี่ยงอยางหนึ่งที่ควรตองไดรับการแกไข ความเปนระเบียบเรียบรอยถือเปนสิ่งพื้นฐานของการพฒันาความปลอดภัย พื้นที่ใดที่ขาดความเปนระเบียบเรียบรอยก็ยากที่จะสรางความปลอดภัยใหเกิดขึ้นได เพราะความเปนระเบียบเรยีบรอยนับเปนปจจัยเสี่ยงอยางหนึ่งที่สามารถกอใหเกดิอุบัติเหตุและกอใหเกิดความเสียหายไดถึงขั้นรุนแรงในระดับของการบาดเจ็บที่ตองหยุดงาน (Lost Time Accident) หรือเสียชีวิต (Fatility) ได เชน พืน้โรงงานมีน้ําขังและลื่นโดยไมมีการทําความสะอาดทันที หรือมีการวางสิ่งของกีดขวางหนาตูอุปกรณดับเพลิง เปนตน

Page 99: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

90

จ. สถานที่และตําแหนงงาน (Position and Location) สถานที่และตาํแหนงที่ทํางานของพนักงานในบางกรณอีาจจัดเปนการกระทําที่ไม

ปลอดภัยของพนักงานอยางหนึ่งได ตัวอยางเชน การทํางานบนนั่งรานที่อยูในสภาพไมมั่นคง การทํางานตัดเชื่อม (Hot Work) ใกลบริเวณที่เก็บสารไวไฟ เปนตน ซ่ึงพนักงานอาจกระทําโดยคาดไมถึง หรืออาจจะทราบถึงอันตรายที่อาจเกิดขึน้ไดแตขาดการตระหนักก็เปนไปได 5. การตรวจความปลอดภยั (Safety Audit) การดําเนนิงานความปลอดภัยอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนอยางยิ่งจะตองมีการตรวจความปลอดภยัเพื่อคนหาสภาพและการกระทําที่ไมปลอดภัยในสถานที่ทํางานและดาํเนินการปรับปรุงแกไขเพื่อปองกันอบุัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น กจิกรรมการตรวจความปลอดภัยของบริษัทนั้นสามารถจําแนกตามผูตรวจไดดังตอไปนี ้ 1.การตรวจหรอืสังเกตความปลอดภัยโดยหัวหนางาน (Safety Observation) 2.การตรวจความปลอดภัยโดยคณะกรรมการความปลอดภัย อาชวีอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (Safety Committee Audit) 6. การจัดฉายวีดีโอความปลอดภัย

เปนกิจกรรมที่ทางคณะกรรมการความปลอดภัยเปนผูดําเนินการโดยการจัดเตรยีมหาวีดีโอที่เกี่ยวของกับการทาํงานอยางปลอดภัย, อุบัตเิหตุจากการทํางาน และเหตุการณตาง ๆ ที่กอใหเกิดอุบัตเิหตุ เพื่อเปนการสื่อสารใหพนักงานทราบและทําใหพนักงานเกิดจิตสํานึกในการทํางานอยางปลอดภัย โดยจะมีการแจงกําหนดการฉายวดีีโอใหกับทางหัวหนาแผนกและใหหัวหนาแผนกเปนผูจัดสงพนกังานในสังกัดเขารวมกิจกรรม

จากขอมูลของบริษัทขางตนเปนวิธีการที่ทางบริษัทไดดําเนินกจิกรรมในดานความปลอดภัย

อยูแลว แตเปนแคเพยีงมาตรการสวนหนึง่เทานั้น และยงัมีมาตรการอีกหลายอยางทีจ่ะใชในการปรับปรุงแกไขเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงที่จะกอใหเกดิอุบตัิเหตุ ซ่ึงทางบริษัทจะไดดําเนินการตอไป

Page 100: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

92

แบบสอบถามกึ่งสํารวจความคิดเห็นของพนักงานตอพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

แบบสอบถามกึ่งสํารวจนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัท อดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน) เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงระบบการจัดการดานความปลอดภัยของบริษัทฯ เพื่อสงเสริมจิตสํานึก ความตระหนัก ดานความปลอดภัยในการทํางานใหกับพนักงาน และเพื่อชวยลดอุบัติเหตุจากการทํางาน คําชี้แจง: แบบสอบถามกึ่งสํารวจแบงเปน 4 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามกึ่งสํารวจ สวนที่ 2 ขอมูลที่เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน สวนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับทัศนคติความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน สวนที่ 4 คําถามเกี่ยวกับความรูดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

สวนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคล คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย ( ) ลงในชองวางที่ตรงกับตัวทานมากที่สุด 1. เพศ � 1) ชาย � 2) หญิง 2. อายุ � 1) ต่ํากวา 21 ป � 2) 21 - 30 ป � 3) 31 - 40 ป � 4) 41 - 50 ป � 5) 51 - 60 ป 3. ระดับการศึกษา � 1) มัธยมตนหรือต่ํากวา � 2) มัธยมปลายหรือปวช. �3) อนุปริญญา/ ปวส. � 4) ปริญญาตรี � 5) สูงกวาปริญญาตรี 4. อายุงาน � 1) นอยกวา 1 ป � 2) 1 - 5 ป � 3) 5 - 10 ป � 4) 11 - 15 ป � 4) 15 ปขึ้นไป

Page 101: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

93 สวนท่ี 2 ขอมูลท่ีเปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คําชี้แจง : โปรดพิจารณาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานที่ทานปฏิบัติงานอยู วาอยูในระดับใดโดยการกาเครื่องหมาย ( ) ลงในชองที่ทานเห็นวาตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับในการปฏิบัติดานความปลอดภยั

ขอท่ี

พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบตัิงานของพนักงาน

ปฏิบัติทุกคร้ัง

5

ปฏิบัติเกือบทุกคร้ัง

4

ปฏิบัติบางครั้ง

3

ปฏิบัตินานๆคร้ัง

2

ไมเคยปฏิบัติ

1

ดานการปฏิบัติงาน

1 ไมหยอกลอกันระหวางปฏิบัติงาน

2 ทํางานอยางมีสมาธิ 3 สวมเครื่องแบบทํางานใหหลวมๆ เพื่อ

จะไดทํางานไดสะดวก

4 สวมอุปกรณปองกันอันตรายตามลักษณะงานทุกครั้ง

5 ใสเครื่องประดับขณะทํางาน 6 ใชลอเล่ือนยกของ เมื่อน้ําหนักของ

มากกวา 100 กิโลขึ้นไป

7 มีการพักผอนที่ เพี ยงพอกอนการปฏิบัติงาน

8 เปนไขหวัดใหญ 2009 ใหไปทํางานตามปกติ

9 ไมทํางานเปลี่ยนกะบอย หรือควงกะแทนกัน

10 ชวงเทศกาลดื่มสุรากอนเขางาน ขณะทํางานหรือชวงพักได

11 ไมสูบบุหร่ีในที่หามสูบ

Page 102: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

94 ดานเครื่องมือเคร่ืองจักรอุปกรณ

12 ตรวจสภาพของเครื่องจักรกอนใชงาน 13 ตรวจสภาพของเครื่องมือ และอุปกรณ

กอนใชงาน

14 ใช อุปกรณเครื่องมือสําหรับงานที่ลักษณะงานตางกัน มาแทนกันได

15 อุปกรณ เครื่ องมือที่มีสภาพชํ า รุด สามารถใชงานได ก็ จนกวาใชงานไมได จึงซอม

16 ใ ส อุ ป ก รณ ป อ ง กั น ใ น ร ะห ว า งปฏิบัติงานซอมบํารุงเครื่องจักร

17 ถอดฝาครอบเครื่องจักออกเพื่อความสะดวกขณะปฏิบัติงาน

18 ถอดระบบเซฟตี้ หรือเซนเซอรออกจากเครื่องจักรขณะทํางาน

19 ไมถอดไมร้ัวกัน้ หรือ ปายเตอืนออกจากสวนทีเ่ปนอันตรายของเครื่องจักร

ดานสภาพแวดลอม

20 จัดสถานที่ทํ างานใหสะอาด เปนระเบียบ

21 จัดเก็บสิ่งของและทําความสะอาดทุกคร้ังอยางนอยเดือนละครั้ง

22 ทํางานในที่ที่มีเสียงดังเกิน140 เดซิเบลเอ

23 ซอมแซม หรือทําความสะอาดขณะเครื่องจักรทํางาน

24 ไมทํางานที่ตองสูดกลิ่นหรือสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง

25 ไมทํางานในพื้นที่ขรุขระลาดชันหรือล่ืน

26 ทํางานในที่ที่มีอากาศรอนและไมมีระบบระบายอากาศ

Page 103: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

95 27 ไมวางของเกะกะกีดขวางเครื่องจักร

หรืออุปกรณที่ใชในขณะทํางาน

28 ทํางานในที่แสงสลัวๆ ทําใหไมแสบตา

29 ไมทํางานในสภาพแวดลอมที่ เสี่ยงอันตราย

ดานการจัดการ

30 ไมตองมีความรูความเขาใจที่เกี่ยวของกับงานนั้นๆ

31 ทํ า ง านโดยปฏิบั ติ ต ามขั้ นตอนที่กําหนดไว (W/I)

32 ปฏิบัติตามปายเตือนอันตรายตางๆ ที่กําหนดไว

33 ทํางานที่ไมไดรับมอบหมายหรือไมใชหนาที่ของตน

34 ไมตองปรึกษาหัวหนางานเมื่อไมเขาใจวิธีปฏิบัติงาน

35 นําความรูที่ไดรับการอบรมไปใชเพื่อปองกันอันตรายในดานตางๆ

36 เ มื่ อมี ส่ิ ง ผิ ดปกติ เ กิ ดขึ้ น ร า ย ง านหัวหนางานทุกเดือน

37 แจงเพื่อนเมื่อมี อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักรชํารุด

38 เสนอแนะหรือใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

Page 104: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

96 สวนท่ี 3 ขอมูลสวนท่ีเปนคําถามเกี่ยวกับทัศนคติเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน คําชี้แจง : ใหทานทําเครื่องหมาย ( ) ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับความคดิเห็น ขอความ

เห็นดวยอยางยิง่

5

เห็นดวย

4

ไมแนใจ

3

ไมเห็นดวย

2

ไมเห็นดวยอยางยิง่

1 1.การติดโปสเตอรและสัญลักษณความปลอดภัย ไมไดชวย เตือนพนักงานใหตระหนักถึงความปลอดภัยในการทํางาน

2.การติดโปสเตอรที่แสดงผลเสียหายของการไมใชอุปกรณปองกันอันตราย จะชวยจูงใจพนักงานใหใชอุปกรณปองกันมากขึ้นเพื่อความปลอดภัย

3. การออกระเบียบขอบังคับในการทํางานและมี มาตรการควบคุมคนงานใหปฏิบัติตาม ถาไมปฏิบัติตามจะตองถูกลงโทษ ชวยลดการเกิดอุบัติเหตุได

4.การทํางานโดยจิตใจไมพรอมหรือผิดปกติ เครียด ขาดสมาธิ ไมมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ

5.การทํางานที่ไมถูกวิธี ไมถูกขั้นตอน ขาดความรู ทักษะในการทํางาน ไมมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ

6.การใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลชวยลดอุบัติเหตุในการทํางานได

7.สภาพแวดลอมในที่ทํางานที่ไมถูกสุขอนามัย เชน แสงสวางไมเพียงพอ เสียงดังเกินควร ความรอนสูง ไมมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ

8.อุปกรณเครื่องจักร เครื่องมือที่ชํารุดบกพรอง ขาดการซอมแซมหรือบํารุงรักษา มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ

9.ลักษณะนิสัยสวนบุคคล ไมมีผลตอการเกิดอุบัติเหตุได

10.การไดรับการอบรมดานความปลอดภัยกอนการปฏิบัติงาน ชวยลดการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานได

Page 105: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

97 ระดับความคดิเห็น ขอความ

เห็นดวยอยางยิง่

5

เห็นดวย

4

ไมแนใจ

3

ไมเห็นดวย

2

ไมเห็นดวยอยางยิง่

1 11.การฝกอบรมความปลอดภัยในการทํางาน ไมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและมีจิตสํานึกในเร่ืองความปลอดภัย เพื่อปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุมากขึ้นได

12.การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการปองกันอันตราย จากการทํางานอยางเดียว ชวยลดการเกิดอุบัติเหตุไดมาก

13.การมีความรูและความเขาใจเรื่องความปลอดภัยใน การทํางาน ชวยลดการเกิดอุบัติเหตุได

14.การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทํางาน มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุ

สวนท่ี 4 ขอมูลท่ีเปนคําถามเกี่ยวกับระดับของความรูเร่ืองการปองกันตนเองจากการทํางาน คําชี้แจง : ใหทานทําเครื่องหมาย ( ) ลงในชองที่ทานเห็นวาถูกตองมากที่สุด 1. การใสอุปกรณปองกันหู ขณะทํางานในพื้นที่ที่มี เสียงดังมีประโยชน หรือไมอยางไร

( ) 1) ไมมีประโยชน เพราะทํางานไดชาลง ( ) 2) ไมมีประโยชน เพราะจะทําใหรูสึกรําคาญ ( ) 3) มีประโยชน ชวยทําใหทํางานดีขึ้นเพราะไมมีเสียงรบกวน ( ) 4) มีประโยชน ชวยลดเสียงลง ไมใหเกิดอันตรายตอหู

2. เสียงดังในบริเวณที่ทํางาน จะมีอันตรายตอหูของคนงานหรือไม ( ) 1) ไมมีอันตราย เพราะไมมีอาการผิดปกติอะไรแสดงใหเห็น ( ) 2) ไมมีอันตราย เพราะทานเคยชินกับเสียงที่ดังแลว ( ) 3) มีอันตรายเพราะทานเคยชินกับเสียงที่ดังแลว ( ) 4) มีอันตราย เพราะทําใหแกวหูทะลุได ( ) 5) มีอันตราย เพราะทําใหหูตึงหรือหูหนวกได

Page 106: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

98 3. ขอใดเปนการกระทําที่ไมปลอดภัยของบุคคล อันเปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ (Unsafe Act)

( ) 1) วิธีการทํางานที่กําหนดไวไมถูกตอง ( ) 2) สภาพแวดลอมไมปลอดภัย ( ) 3) ไมใชอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล ( ) 4) ขาดเครื่องกําบังหรือไมเหมาะสม

4. ขอใดเปนสภาพการณที่ไมปลอดภัย อันเปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุ ( ) 1) ดัดแปลงแกไขอุปกรณความปลอดภัย

( ) 2)ปฏิบัติงานผิดขั้นตอน ( ) 3) เก็บบรรจุวัสดุอยางไมปลอดภัย

( ) 4) เครื่องจักร เครื่องมือชํารุด 5. จาก "โดมิโนของการเกิดอุบัติเหตุ" เราจะสามารถลดการเกิดอุบัติเหตุลงได เมื่อเราใหความสําคัญกับขอใด ( ) 1) ภูมิหลังของบุคคล

( ) 2) ความบกพรองของบุคคล ( ) 3) การกระทํา/สภาพการณที่ไมปลอดภัย

( ) 4) ขอ 2 และ 3 ถูก 6. "นาย A นั่งทาสีผนังตึกอยูบนนั่งราน โดยไมไดใสเข็มขัดนิรภัย" จากเหตุการณนี้จัดอยูในขอใด ( ) 1) อุบัติเหตุ ( ) 2) อุบัติการณ

( ) 3) ขอ 1 และ 2 ถูก ( ) 4) ไมมีขอใดถูก 7 อุบัติเหตุ (Accident) เหมือนหรือตางจาก อุบัติการณ (Incident) อยางไร

( ) 1) ตางกัน เพราะ อุบัติเหตุคือ เหตุการณที่เกิดขึ้นโดยไมไดคาดคิดแตอุบัติการณคือเหตุการณที่ อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุ ( ) 2) ตางกัน เพราะ อุบัติเหตุคือ เหตุการณที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุแตอุบัติการณคือ เหตุการณที่ที่เกิดขึ้นโดยไมไดคาดคิด

( ) 3) เหมือนกัน ( ) 4) ไมมีขอใดถูกตอง 8. ขอใด หมายถึงสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย ( ) 1) พื้นที่การทํางานลื่น

( ) 2) การปฏิบัติงานที่ไมใชหนาที่ของตน ( ) 3) ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

( ) 4) การถอดหรือดัดแปลงเครื่องจักร

Page 107: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

99 9. ขอใดตอไปนี้ไมถือวาเกิดโรคจากการทํางาน ( ) 1) นาย A ปฏิบัติงานอยูจุดเชื่อมโดยใชตะกั่วเมื่อตรวจสุขภาพประจําปพบวาผลเลือดมีคาตะกั่วเกินมาตรฐานกําหนด ( ) 2) นาย B เคยเปนหูน้ําหนวก และปฏิบัติงานจุดที่มีเสียงดังเกิน 90 dBA วันละ 8 ชม. โดยใช Ear plug ตลอดการทํางาน แตสมรรถภาพการไดยินลดลง ( ) 3) นาย C ปฏิบัติงานใกล Line ที่มีการพนสี เมื่อตรวจสุขภาพประจําปพบวามีคาโทลูอีนในเลือดเกินมาตรฐานกําหนด ( ) 4) นาย D ทํางานจุดพนสีมีอาการเปนภูมิแพ 10. ขอใดไมใชกฎความปลอดภัยเกี่ยวกับการทํางาน ( ) 1) ตรวจเช็คเครื่องจักรกอนทํางาน ( ) 2) สามารถวางสายไฟขามทางเดินได ( ) 3) ใชเครื่องจักรเฉพาะบุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของ

( ) 4) ถูกทุกขอ 11. ขอใดผิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน ( ) 1) กมตวัยกของหนัก ( ) 2) การลาก จูง รถ HAND LIFT ( ) 3) สวมใสอุปกรณ PPE กอนปฏิบัติงาน ( ) 4) ไมเดินใตเครนขณะมีการยกของ 12. ขอใดตอไปนี้ถือเปนอุปกรณ PPE ( ) 1) หมวกกันน็อค ( ) 2) ถุงมือ ( ) 3) แวนลดแสง ( ) 4) ทุกขอ 13. ขอใดตอไปนี้ ถูกตอง ( ) 1)สีฟา หมายถึง ความปลอดภัย ( ) 2) สีแดง หมายถึง การเตือนภัย ( ) 3) สีเขียว หมายถึง เขตอันตราย หรือ หาม ( ) 4) ไมมีขอถูก 14.ขอใดถูกตอง ( ) 1) ผูประสบเหตุสารเคมีร่ัวไหลใหเขาไปปดกั้นพื้นที่ทันที ( ) 2) ผูประสบเหตุกาซ LPG ร่ัวไหลใหกดสวิทซพัดลมเพื่อเปาระบายอากาศทันที ( ) 3) พื้นที่กาซ LPG ร่ัวไหล ใหดึงปลั๊กไฟและปดสวิทซไฟทั้งหมด ( ) 4) ไมมีขอใดถูกตอง 15. อุบัติเหตุ เกิดจาก.............................

( ) 1) สภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย ( ) 2) สภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย ( ) 3) การกระทําที่ไมปลอดภัย ( ) 4) ถูกทุกขอ

ขอขอบพระคุณทุกทานที่สละเวลาและใหความรวมมอืตอการศึกษาในครั้งนี ้

Page 108: 01 หน้าปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19634.pdf2.8 งานว จ ยท เก ยวข อง 38 9 บทท 3 ว ธ การด าเน นการว

ประวัติผูเขียน

ชื่อ - นามสกุล นายวิทติ กมลรัตน

ประวัติการศึกษา อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟา) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษา 2539

ประสบการณ 2550 – ปจจุบนั : เจาหนาทีค่วามปลอดภยัในการทํางาน

(จป.วิชาชพี) บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมีคัลส (ประเทศไทย)จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)

2540 – 2550 : วิศวกรไฟฟา บริษัทอดิตยา เบอรลา เคมคีัลส (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิช่ัน)