ศิลปะทวารวดี - we love chao sam phraya museum | …¸ล าวว...

6
ศิลปะทวารวดี บรรยายโดย รศ.ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห การรับอิทธิพลจากอินเดีย ทางความเชื่อและศาสนาที่เขามาในไทยมีทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ทั้งแบบหินยานและมหายาน ภาพดานบนเปนภาพที่เขียนโดยชาวเดินเรือสมัยโบราณ “สุวรรณภูมิ” เปนเสนทาง การคาระหวางจีนและอินเดียที่ผานทางชองแคบมะละกา หลักฐานที่เกาสุดในเอกสารของจีน ในชวงพุทธ- ศตวรรษที่ 4 มีการบันทึกวาเมื่อมาหาของปาก็มีการแวะพักที่สุวรรณภูมิ ซึ่งอาจเปนบริเวณอาวไทยหรือพมา ชวงนี้ไมพบงานศิลปกรรม มาพบศิลปกรรมในชวงพุทธศตวรรษที9 - 10 เปนงานศิลปกรรมในดานศาสนา มี การบันทึกวาในชวงพุทธศตวรรษที10 ชาวจีนตองการรับศาสนาพุทธโดยการสงพระภิกษุไปอินเดีย และรับ พระภิกษุมาจากอินเดียมาจีน ดังนั้นเราจึงเริ่มพบศิลปกรรมที่เขามาสูเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทวารวดีอาจเกิดขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที9- 10 หลักฐานที่สามารถยืนยันไดนั้นพบในชวง พุทธศตวรรษที12 เปนหลักฐานทางศิลปกรรมและจารึก ซึ่งชวงนี้ศิลปกรรมสวนใหญเปนของที่นําเขามาจากผู เผยแพรศาสนาหรือการคา โดยพบพระพุทธรูปกลุมหนึ่งเปนพระพุทธรูปองคเล็กๆ เราเรียกวา “พระพุทธรูปรุนเกา” ตอมามีการเผยแพรพุทธศาสนาเราจึงเริ่มมีรูปแบบงานศิลปกรรมของเราเองคือ ทวารวดี ซึ่งตรงกับราชวงศคุปตะ ของอินเดีย และตะวันออกของอินเดียทางอมราวดี ทางตอนใตของอินเดียสูลังกา บางทีผานกวางตุงเปนเอกสารทีกลาวในเอกสารของพระภิกษุอี้จิง หรืออี้ชิง ที่เดินทางไปจาริกศาสนาในอินเดียและเดินทางกลับทางสุมาตรา

Upload: trinhthu

Post on 12-Apr-2018

230 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

ศิลปะทวารวด ีบรรยายโดย รศ.ดร.ศักด์ิชัย สายสิงห

การรับอิทธิพลจากอินเดีย ทางความเช่ือและศาสนาท่ีเขามาในไทยมีท้ังศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธท้ังแบบหินยานและมหายาน ภาพดานบนเปนภาพท่ีเขียนโดยชาวเดินเรือสมัยโบราณ “สุวรรณภูมิ” เปนเสนทางการคาระหวางจีนและอินเดียท่ีผานทางชองแคบมะละกา หลักฐานท่ีเกาสุดในเอกสารของจีน ในชวงพุทธ-ศตวรรษท่ี 4 มีการบันทึกวาเม่ือมาหาของปาก็มีการแวะพักท่ีสุวรรณภูมิ ซ่ึงอาจเปนบริเวณอาวไทยหรือพมา ชวงนีไ้มพบงานศิลปกรรม มาพบศิลปกรรมในชวงพุทธศตวรรษท่ี 9 - 10 เปนงานศิลปกรรมในดานศาสนา มีการบันทึกวาในชวงพุทธศตวรรษท่ี 10 ชาวจีนตองการรับศาสนาพุทธโดยการสงพระภิกษุไปอินเดีย และรับพระภิกษุมาจากอินเดียมาจีน ดังนั้นเราจึงเริ่มพบศิลปกรรมท่ีเขามาสูเอเชียตะวันออกเฉยีงใต ทวารวดีอาจเกิดขึ้นในชวงพุทธศตวรรษท่ี 9- 10 หลักฐานท่ีสามารถยืนยันไดนั้นพบในชวงพุทธศตวรรษท่ี 12 เปนหลักฐานทางศิลปกรรมและจารึก ซ่ึงชวงนีศิ้ลปกรรมสวนใหญเปนของท่ีนําเขามาจากผูเผยแพรศาสนาหรือการคา โดยพบพระพุทธรูปกลุมหนึ่งเปนพระพุทธรูปองคเล็กๆ เราเรียกวา “พระพุทธรูปรุนเกา” ตอมามีการเผยแพรพุทธศาสนาเราจึงเริ่มมีรูปแบบงานศิลปกรรมของเราเองคือ ทวารวดี ซ่ึงตรงกับราชวงศคปุตะของอินเดีย และตะวันออกของอินเดียทางอมราวดี ทางตอนใตของอินเดียสูลังกา บางทีผานกวางตุงเปนเอกสารท่ีกลาวในเอกสารของพระภิกษุอ้ีจิง หรืออ้ีชิง ท่ีเดินทางไปจารกิศาสนาในอินเดียและเดินทางกลับทางสุมาตรา

กลาววาศาสนาพุทธมหายายในสุมาตรารุงเรืองมากและมีการติดตอคาขายและรับอิทธิพลอินเดียเปนระยะๆ กอนพุทธศาสนาเขามาสังคมของไทยเปนชวงกอนประวัติศาสตร อยูแบบดั่งเดิมหาของปา ตัวท่ีกําหนดการรับอิทธิพลภายนอกส่ิงหนึ่ง คือ วัฒนธรรมการฝงศพ แตพอรับอิทธิพลจากอินเดียจึงเริ่มมีการเผาศพ ตัวอยางช้ินแรก

ภาพเขียนสีท่ีผาแตมเปนศิลปกรรมในชวงกอนประวตัิศาสตร ในการศึกษาทางดานประวัติศาสตรเดิมจะเริ่มเม่ือมีการจารึก แลวอานออกเราถือเปนชวงประวัติศาสตร อักษรท่ีเกาแกท่ีสุดพบทางภาค ใตคือ “อักษรปาลวะ” ภายหลังชาวพ้ืนเมืองรูจักเขียนตัวอักษรใชเองแตไมใชอักษรปาลาวะ เราจึงเรียก “อักษรหลังปาลาวะ” พบในชวงพุทธศตวรรษท่ี 12 – 14 และเปล่ียนไปเปนอักษรมอญ เปนอักษรขอมและในสมัยพอขุนรามคําแหงก็นําอักษรมอญและขอมมาผสมกันเปนอักษรไทย จารึกดานขวามือเปนจารึกท่ีเกาอีกช้ินท่ีพบทางตะวันออกเฉียงเหนือ เปนจารึกของพระเจาจิตเสน อยูในชวงพุทธศตวรรษท่ี 11 – 12

* ภาพเขียนสีท่ีสีคิ้ว เปนภาพเกี่ยวกับพิธีการตางๆ ของคนกอนประวัติศาสตร * ภาพเขียนสีท่ีกาญจนบุรี เปนภาพพิธีกรรม มีการตีฆองขอฝน

* หลักฐานกอนประวัติศาสตรตอนปลายท่ีเราพบบริเวณริมทะเล สวนใหญพบลูกปดรวมกับโครงกระดูก เริ่มมีรูปเคารพทางศาสนาเขามาแลวลูกปดและตางหูทําจากหินคาเนเรียล สีสม เปนหินท่ีพบในอินเดีย

* พบตะเกียงโรมันท่ีอําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงเปนตะเกียงท่ีมีมากในอเล็กซานเดีย ปจจุบันคอืประเทศอียิปต นาจะมากับพวกพอคาท่ีมาคาขาย * พบรูปเคารพในศาสนา กลุมแรกเปนพระพุทธรูปเนื่องในพระพุทธศาสนาเปนศิลปะอมราวดีของอินเดีย พระพักตร

กลม จีวรหมเฉียงเปนริ้ว แสดงปางดวยพระหัตถ ชายผาขางหนึ่งมาพันท่ีมือซาย

* พระพุทธรูปแบบคปุตะเปนงานศิลปะท่ีสวยท่ีสุดในอินเดีย เปนสกุลชางสารนาถ ไมทําเปนริ้วผา หมเรียบ แกะสลักจากหินสีชมพู ยืนในทาติภังค คือยืนเอียงตัว พบท่ีอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี อยูใน ชวงพุทธศตวรรษท่ี 9 - 11

ช่ือทวารวดมีาจากคําวา “ทวารวต”ิ ในเอกสารจีนเรียก “โถโลโปต”ี บันทึกไวตั้งแตรุนพระถังซําจั๋ง อาณาจักรโถโลโปตี อยูระหวาอาณาจักรศรีเกษตร (พมา) และอิสานปุระ (เขมร) ศาสตราจารยยอรช เซเดย พบเหรียญเงินท่ีมีจารึก วา “ศรีทวารวติ ศวรปุณยะ” แปลวาบุญกศุลของพระราชาแหงทวารวดี นาจะมีอาณาจักรและมีกษัตริยปกครอง ศูนยกลางอยู ทาง

ภาคกลางของประเทศไทย นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี เล่ือยไปจนถึงลําพูน สวนสายตะวันออกชลบุร ี บุรีรัมยจนถึงอีสานเหนือเปนดินแดนท่ีแพรหลายใหญท่ีสุด * ขอสันนิฐานเกี่ยวกับศูนยกลางของทวารวดีมี 3 แหง คือ อูทอง นครปฐมและลพบุรี - ท่ีอูทองพบหลักฐานท่ีเกาแกท่ีสุด คือ ประติมากรรมดินเผาพระสงฆอุมบาตร 3 องค มีจารึกบนแผนทองแดงกลาวถึงพระนามของกษัตริยท่ีอูทอง

- ท่ีนครปฐมเปนศูนยกลางท่ีใหญท่ีสุด เม่ือดูจากแผนท่ีทางอากาศท่ีเปนเมืองนครชัยศรีหรือนครปฐมโบราณเปนเมืองทวารวดีท่ีใหญท่ีสุด ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต พบศาสนสถานท่ีใหญท่ีสุด คือ พระปฐมเจดีย และพบศิลปกรรมท่ีมากท่ีสุด - ท่ีลพบุรีพบศาสนสถานมาก แตปจจุบันแยกลพบุรีออกจากทวารวดี เพราะ ไดพบหลักฐานเหรียญเงินท่ีจารึกเกี่ยวกับละโวหรือละวะปุระ แสดงวาลพบุรี

เปนศูนยกลางของอีกอาณาจักรหนึ่ง อาณาเขตของทวารวดีเปนลักษณะส่ีเหล่ียมแตจะโคงเวาตามภูมิประเทศ มีการพบเหรียญเงินท่ีจารึก ท่ีอูทองพบเหรียญท่ีมีการจารึกนามกษัตริยทําใหทราบวานาจะมีการปกครองระบบกษัตริยแลว

ประติมากรรมพระพุทธรูปทางพุทธสาสนา เปนพุทธศาสนาแบบมหายาน มีมหายานและฮินดูอยูบางแตนอย พระพุทธรูปทวารวดี แบงออกเปน 3 รุน 1. รับอิทธิพลโดยตรงมาจากอินเดีย มีอิทธิพลอมราวดีและคปุตะ พุทธศตวรรษท่ี 12 – 13 2. เปนแบบพ้ืนเมือง แตมีการแตงกายเหมือนอินเดีย เรียกวา อิทธิพลแบบทองถ่ินซ่ึงพบมาก พุทธศตวรรษท่ี 13-15 ลักษณะคิ้วตอ หนากลม ครอง

จีวรหมคลุม จีวรเรียบไมมีริ้ว การทําวิตรรกะยกพระหัตถ 2 ขาง 3. ทวารวดีท่ีมีศิลปะเขมรเขามาปะปน พุทธศตวรรษท่ี 16

เร่ืองประติมานวิทยา การตีความภาพเลาเร่ือง * ภาพสลักท่ีผนังถํ้า ท่ีถํ้าพระโพธิสัตว อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุร ี เปนภาพเลาเรื่องขนาดใหญ ซายสุดเปนภาพพระพุทธเจาศรศีากยมุนีประทับนั่งหอยพระบาทแบบยุโรป แสดงวิตรกะ 2 พระหัตถ พนักนั่งเปนสิงห คนท่ียืน คือ พระนารายณ มี 4 กร มือขวาบนถือจักร มือซายบนถือสังข 2 มือลางกอดอก บุคลท่ีดานบนศีรษะมีพระจันทรเส้ียว คือพระอิศวร ถักเสนผมเปนรอนๆ มีเทวดาเหาะลงมาและมีคนกมหนา

การท่ีพระนารายณกอดอกเรียกวา “สวัสดิกะมุธา” คือ การแสดงความเคารพอยางสูงสุด เทพจะไมไหวกัน เปนภาพเลาเรื่องท่ีตองการแสดงวาศาสนาพุทธอยูเหนือศาสนาพราหมณ ผูท่ีสรางภาพนี้คือผูท่ีนับถือพุทธมหายาน ทําใหทราบวามีพุทธศาสนาแบบมหายานแทรกอยูในพุทธศาสนาแบบหินยาน

* เปนฐานส่ีเหล่ียมซ่ึงสันนิฐานวา นาจะเปนฐานธรรมจักร พบท่ีนครปฐมมีพระพุทธเจาอยูตรงกลาง นั่งแบบยุโรป มีพระอินทรและพระพรหมขนาบขาง ดานขางขวามือถักผมคลายเปนนักบวช ซายเปนกลุมบุคคลท่ีโกนศีรษะ ซ่ึงเปนตอนท่ีพระพุทธเจาทรงปฐมเทศนาท่ีปาอิสิมฤคทายวัน โดยเทศนาโปรดปญจวคีท้ังหาภาพทางขวา เม่ือฟงคําส่ังสอนแลวจึงโกนศีรษะเปนภาพกลุมบุคคลทางซาย

* เปนประติมากรรมท่ีสมบูรณท่ีสุด ตั้งแตรัชกาลท่ี 2 สรางพระศรศีากยมุณี ท่ีวัดสุทัศนและยายมาอยูบริเวณฐานดานหลัง สันนษิฐานวานาจะยายมาจากนครปฐมเปนภาพพุทธประวัติ 2 ตอนตอกัน ตอนลางเปนตอนยมกปฏิหารยิ สวนตอนบนเปนตอนโปรดพุทธมารดาท่ีสวรรคช้ันดาวดึงส ท้ัง 2 ตอนเปนพุทธประวัติท่ีตอกัน

* ไดจากวัดจีน (วัดรัตนชัย) เปนพุทธประวัตติอนยมกปฏิหาริย มีตนมะมวง

* ใบเสมาสมัยทวารวดีในวัฒนธรรมอีสานพบในแถบอีสานเหนือ ใชปกแสดงขอบเขต ในภาคกลางจะปกรอบโบสถ แตภาคอีสานอาจปกบอกทิศท้ังส่ี สําหรับใหคนมาวนรอบ จึงมีการสลักพุทธประวัติหรือชาดก ภาพนี้พบท่ีเมืองฟาแดดสงยาง ปจจุบันอยูท่ีพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ขอนแกน เปนพุทธประวัติตอนท่ีพระพุทธเจา โปรดพุทธมารดาและนางพิมพา (ช่ือเต็มของนางพิมพา คือ พิมพาพิราบ) นางพิมพารับแสดงโดยการสยายผมเพ่ือรองรับพระบาทของพระพุทธเจา เปนวิธีการเคารพแบบสูงสุดของอินเดียโบราณ

* ในสมัยทวารวดีนิยมทํา ธรรมจักรและกวางหมอบ เปนลักษณะเฉพาะของทวารวดี เพราะไมพบในรูปแบบ ของศิลปกรรมท่ีอ่ืน เปนสัญลักษณในพุทธ ประวัติตอนปฐมเทศนา พบมากท่ีสุดในเขต นครปฐม วัฒนธรรมทวารวดีเผยแพรไปทาง ไหนก็จะพบธรรมจักรท่ีนั้น ซ่ึงธรรมจักรกับกวาง หมอบทํามาก ในสมัยพระเจาอโศก ในชวงพุทธ ศตวรรษท่ี 3 – 6 จึงผูกพันกับตํานานเรื่องสุวรรณภูมิ พระเจาอโศกสงสมรทูตไปเผยแพรพุทธศาสนา และจุดท่ี 9 สงพระโสณะเถระและพระอุตรเถระมายังสุวรรณภูมิ แตประวัติศาสตรเกาแกท่ีสุดของไทยท่ีศึกษา อยูในชวงพุทธศตวรรษท่ี 9 – 10 เกาแกกวาทวารวดี ธรรมจักรบางช้ินมาจารึกท่ีกรงเปนอักษรปาลาวะและหลังปาลวะ เปนอักษรในชวงพุทธศตวรรษท่ี 12 , 13 ,14 ซ่ึงคนละชวงกับพระเจาอโศกซ่ึงเปนอักษรคนละแบบ ลวดลายของธรรมจักร เปนลายดอกกลมผสมส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูนเราพบในศิลปะอินเดียสมัยคปุ ตะ กอนหนานี้ไมใชลายนี้จึงไมนาจะใชสมัยพระเจาอโศก มีจารึกภาษาบาลีซ่ึงเปน ศาสนาพุทธแบบเถรวาทถาพุทธมหายานจะใชภาษาสันสกฤต ตัวธรรมจักรตองตั้งอยูบน เสาตั้งสูง คลายรูปเคารพช้ินหนึ่ง ชองดานลางเปนท่ีเสียบพนัสบดีหรือพระอาทิตย หมายถึงแสงสวาง ถาตรงฐานมีพระนางรัศมีและชาง หมายถึง ความอุดม สมบูรณเปนศิริมงคล * พระพิมพทวารวดีรุงหลัง เปนศิลปะแบบปาละ พระพักตรกลม ขัดสมาธิเพชร นิยมทําพิมพพุทธคยา สัญลักษณตองมีวิหารพุทธคยาอยูขางบน * นอกจากภาพพุทธประวัติแลวยังนิยมทําภาพเลาเรื่อง เชน ชาดก ในชุดทศชาติชาดก ชาดกหารอยหาสิบพระชาติ หรือนิทานทองถ่ิน เชน สังขทอง ชาดกหารอยหาสิบพระชาติ พบท่ีนครปฐม พบบริเวณฐานเจดียท่ีเจดียจุลประโทนมีชาดก

* ภาพบุคคลเปนภาพวิถีชีวิตความเปนอยูทําใหทราบวานาตาคนทวารวดีมีหนาตาอยางไร เชน พวกสนมนางในมีลักษณะอยางไร มีการมวยผม มีพวกอุบะการสวมตางหู วัฒนธรรมของทวารวดีมีการใสตางหู โดยเม่ือเริ่มสาวจะเจาะหูและคอยๆ ใชตางหูถางหูเม่ือหูกวางออกก็จะนําตะกั่วหรือหินสีตางๆใสเขาไป หูจะยานถึงไหปลาราซ่ึงพบเฉพาะคนช้ันสูงเทานั้น การนุงผาปกปดจะไมใสเส้ือ เครื่องดนตรีมีหลายประเภท เชน ฉิง กระจับป พิณน้ําเตา กรับ

สถาปตยกรรม สถาปตยกรรมของทวารวดีมีอยูนอยสวยใหญเหลือเพียงฐานเจดีย ซ่ึงวัฒนธรรมของชาวพ้ืนท่ีลุม ไมมีหินขนาดใหญแบบเขมร เราใชอิฐ ซ่ึงเปนพุทธศาสนาแบบเถรวาทซ่ึงยึดถึงหลักธรรม สถาปตยกรรมสวนฐานมีการเรียกตางกัน เชน ยกเกร็ด * ฐานเจดียมีถือวาใหญท่ีสุด รองจากพระปฐมเจดีย คือ วัดพระเมรุ มีฐานบัว พบ

พระพุทธรูปทวารวดส่ีีทิศ องคท่ีเปนศิลาเขียวนาจะคงประดิษฐานในวิหารซ่ึงใกลเคียงกับพุกามและ แควนเบงกลอ * เจดียสมัยทวารวดี มีฐาน ฉัตรทําเปนช้ันๆ เปนเจดียทรงปราสาท ท่ีฐานมีจารึกท่ีคอระฆัง การพบช้ินสวนแบบนี้ทําใหทราบวาในสมัยทวารวดีนิยมทําเจดียทรงปราสาท * เจดียหริภุญชัย เปนเจดียทรงแปดเหล่ียม ฐานแปดเหล่ียมรูปแบบเจดียของทวารวดีอาจเปนเชนนี้ก็ได * เจดียกูกุดเปนส่ีเหล่ียมเปนช้ันๆ และประดิษฐานพระพุทธรูปเปนช้ัน เจดียท่ีมีฐานบัวไมใชรูปแบบของทวารวดีเพราะนิยมในชวงพุทธศตวรรษท่ี 19 เปนตนมา สุโขทัย ลานนา อยุธยา