สารานุกรม (encyclopedias)

32
สารานุกรม (Encyclopedias) จัดทาโดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2553

Upload: srion-janeprapapong

Post on 21-May-2015

4.872 views

Category:

Education


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: สารานุกรม  (Encyclopedias)

สารานุกรม (Encyclopedias)

จัดท าโดยอาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์

สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

2553

Page 2: สารานุกรม  (Encyclopedias)

หัวข้อบรรยาย:

1. ความหมาย

2. ประโยชน์

3. ประเภท

4. การประเมินค่า

5. สารานุกรมที่ควรรู้จัก

6. การใช้สารานุกรมในการตอบค าถาม

Page 3: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ความหมาย:* เป็น Reference Resources ประเภทหนึ่ง

* ให้ ความรู้ & สารสนเทศทั่วไป/ เชิงวิชาการ อย่างกว้างขวาง ทุกเรื่อง/ ทุกสาขาวิชา

* เรื่องเกี่ยวกับ บุคคล สถานที่ เหตุการณ์ องค์กร สถาบัน นวกรรมต่าง ๆ

Page 4: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ความหมาย: (ต่อ)* Ex. - ประวัติ ลักษณะ & การสร้าง Thesaurus - World War I, II

- World Bank - Language - กีฬาคาราเต้

- คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส - Valentine Day - พระแก้วมรกต

- เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย - Coconut - Hawaii ฯลฯ

* แต่ละเรื่องให้รายละเอยีด: ความหมาย ลักษณะ ประวัติ สถานภาพปัจจุบัน ข้อมูลสถิติ ภาพประกอบ ฯลฯ

(แตกต่างไปตามเน้ือหาของแต่ละเรื่อง)

* เขียนในรูปบทความ (มีทัง้ขนาดสั้น & ยาว ถ้าบทความยาวจะมีสารบัญ & บรรณานุกรม)

* จุดมุง่หมาย: ให้ความรู้พื้นฐานเรื่องใดหนึ่ง, จุดเริ่มต้นการค้นหาเรื่องใดหนึ่ง

* จัดเรียงเนื้อหา: 1) ตามล าดับอักษรของเรื่อง 2) ตามหัวข้อวิชา

Page 5: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประโยชน์:

1. ตอบค าถามที่เป็นข้อเท็จจริงสั้นๆ เกี่ยวกับบุคคล สถานที่ เหตุการณ ์ สถิติตัวเลข

Ex. - สงครามโลกครั้งที่ 2 เกดิปี ค.ศ. ใด? - เมืองหลวงประเทศไนจีเรีย ชื่ออะไร?

- อยากทราบปีเกิด - ปีตาย ของนโปเลียน - จ านวนประชากรโลกในปัจจุบัน

ฯลฯ

Page 6: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประโยชน:์ (ต่อ)

2. ตอบค าถามที่ต้องการข้อมูลพอสังเขป ซึ่งเป็นค าอธิบายเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ

Ex. - ประวัติความเป็นมาของการสร้างก าแพงเมอืงจีน

- ผลกระทบเกิดจากสงครามโลก ครัง้ที่ 2

- ความหมาย ลักษณะ & วิธีการสร้างธีซอรัส

ฯลฯ

Page 7: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประโยชน์: (ต่อ)

3. เป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนการท าวิจัย

Ex. ผู้ใช้จะท าวิจัยเรื่อง “ การศึกษาความพึงพอใจของผูใ้ช้ต่อการใช ้OPAC”

ค้นข้อมูลจาก Encyclopedia of Library and Information Science

OPAC = ความหมาย ประวัติ ประโยชน์ โครงสร้างการท างาน

Research in LIS = วิธีการท าวิจัยทาง LIS วิธีการส ารวจผู้ใช้

+ Bibliography

Page 8: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ตัวอย่างสารบัญเรื่อง

Page 13: สารานุกรม  (Encyclopedias)
Page 16: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประเภท:

ในที่นี้ แบ่งเป็น

1. สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedias)

1.1 สารานุกรมส าหรับผู้ใหญ่ (Adult Encyclopedias)

1.2 สารานุกรมส าหรับเด็ก (Children Encyclopedias )

2. สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Encyclopedias)

Page 17: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประเภท: (ต่อ)

1. สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedias)

* รวมความรู้ทุกสาขาวิชา สารสนเทศทุกเร่ือง

* เนื้อหากว้าง ๆ ไม่ละเอียดลึกซึ้ง

* กลุ่มผู้อ่านทั่วไป

* แบ่งออกเป็น

1) สารานุกรมส าหรับผู้ใหญ่

2) สารานุกรมส าหรับเด็ก

Page 18: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประเภท: (ต่อ)

1.1 Adult Encyclopedias* ขอบเขตเน้ือหากว้างมาก เพราะ ผู้อ่านหลายกลุ่ม/ ระดับ

* บทความยาว ละเอียดมากกว่าพบในสารานุกรมส าหรับเด็ก* ภาษา & ศัพท์ยากกว่าพบในสารานุกรมส าหรับเด็ก* Ex. Encyclopedia Americana , Britannica Online

สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ

1.2 Children Encyclopedias * ขอบเขตเนื้อหาแคบกว่า เพราะกลุ่มผู้อ่านชัดเจน Goal ชัดเจน & แคบกว่า * บทความสั้นๆ ภาพเยอะ * ภาษาง่าย ตัวอักษรโต * Ex. World Book Encyclopedia, สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน โดยพระราช

ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

Page 19: สารานุกรม  (Encyclopedias)

1.1 แตกต่างจาก 1.2 ในประเด็นต่อไปนี้

1. ขอบเขตเนื้อหา (A กว้าง ---- C แคบ)2. วัตถุประสงค์การจัดท า (C ชัดเจน ---- A ไม่ชัดเจน)3. รายละเอียดเนื้อหา (A ยาว ---- C สั้น)4. ภาษา (A ยาก ---- C ง่าย)

Page 20: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประเภท: (ต่อ)

2. สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Encyclopedias)

* รวมความรู้เฉพาะสาขาวิชา + ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาขานั้นๆ

* ลักษณะเนื้อหา เขียนโดยละเอียด ลึกซึ้ง ใช้ศัพทเ์ทคนิค

* กลุ่มผู้อ่าน = นักวิชาการ/นักศึกษาสาขานั้น + ผู้สนใจสาขานั้น

* Ex. Encyclopedia of Library and Information Science

สารานุกรมเศรษฐศาสตร์ สารานุกรมคอมพิวเตอร์

ฯลฯ

Page 21: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การประเมินค่า :1. ความน่าเชื่อถือ

* ชื่อบรรณาธิการ/คณะบรรณาธิการ (มี ความรู้ + ความเชี่ยวชาญ มากกว่า 2 สาขาวิชา)

* ผู้เขียนบทความ & ที่ปรึกษา (คุณวุฒิ + ความเชี่ยวชาญ + ประสบการณ์ + ต าแหน่งงาน)

* ส านักพิมพ์ (ความมีชื่อเสียง) (เช่น Grolier World Book ราชบัณฑิตยสถาน)

* บทความมีชื่อผู้เขียนก ากับหรือไม่ ชื่อเต็ม/ ชื่อย่อ มีบัญชีรายชื่อ? อยู่ไหน?

* มีบรรณานุกรมประกอบบทความหรือไม่? (โดยเฉพาะบทความส าคัญ ๆ) อยู่ไหน?

Page 22: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การประเมินค่า : (ต่อ)

2. วัตถุประสงค์ & ขอบเขตเนือ้หา

* รวบรวมความรู้ทุกสาขาวิชา หรือ เฉพาะวิชา

ดูความครอบคลุม / ความลึกซึ้งของเนื้อหา

* เนื้อหา สมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย

* น าเสนอข้อมูลอย่างเป็นกลาง (ความเช่ือทางศาสนา การท าแท้ง สิทธิสตรี)

* อ่านเข้าใจง่าย เป็นเหตุเป็นผล

* เหมาะกับระดับผู้อ่าน

Page 23: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การประเมินค่า : (ต่อ)3. ความสะดวกรวดเร็วในการค้นหาข้อมูล

* หนังสืออ้างอิง- การจัดเรียงเนื้อหา (แบบตามล าดับอักษรของเรื่อง หรือ แบบหัวข้อวิชา)- เครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายใน (Volume Guide Guide Word Index)

* ฐานข้อมูล

- วิธีสืบค้น 1. Search

2. Browse 2.1 Index (ชื่อเรื่องบทความ ค าส าคัญจากเนื้อหาบทความ)2.2 ตามล าดับอักษรของชื่อเรื่องบทความ2.3 Subject (หัวข้อเรื่อง)

- เทคนิคการค้นคืน

Page 24: สารานุกรม  (Encyclopedias)

browse

search

Page 25: สารานุกรม  (Encyclopedias)

http://www.encyclopedia.com/

search

browse

Page 26: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การประเมินค่า : (ต่อ)

4. รูปแบบ (Format)* Reference Books = ภาพประกอบ (ชัดเจน เหมาะสม ตรงเรื่อง)

การวางหน้ากระดาษ (เป็นคอลัมน)์ตัวพิมพ์ (หลายขนาด คมชัด)

เย็บเล่มทนทาน

* Databases = เป็น Multimedia น่าสนใจ หน้าจออ่านง่าย เป็น Hypertext เสียงชัดเจน ดูข้อมูลแบบทั้งหมด/ บางส่วนได้

Print/ Save/Mail ได้

5. ลักษณะพิเศษ ห้องสมุดยังไม่มีชื่อเรื่องนั้น มีส่วนพิเศษที่ไม่มีในสารานุกรมชื่ออื่น

Page 27: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การประเมินค่า : (ต่อ)

6. นโยบายการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย* มี / ไม่มี ถ้ามี --> ปรับปรุงเพิ่มเติม 5-10 % ต่อปี, ทุกเดือน…, ลักษณะใด

* รักษามาตรฐานเดิม (การจัดเรียงเนื้อหา แบบแผนการน าเสนอ)* Reference Books = หนังสือรายปีของสารานุกรม * Databases = บ่อยครั้งมากกว่า Reference Books

7. เปรียบเทียบกับชุดที่มีเนื้อหาคล้ายกัน

ดู ---> เนื้อหา ส านักพิมพ์ ราคา สถิติข้อมลูใหม่ๆ ฯลฯ

Page 28: สารานุกรม  (Encyclopedias)

สารานุกรมที่ควรรู้จัก:

ประเด็นที่ต้องรู ้

1) สารานุกรมชื่อเรื่องนั้นเป็นสารานุกรมประเภทใด

2) สารานุกรมชื่อเรื่องนั้น มีขอบเขตเนื้อหาอะไร

Page 29: สารานุกรม  (Encyclopedias)

การใช้สารานุกรมในการตอบค าถาม:

1. ดูค าถามว่าควรใชส้ารานุกรมประเภทใด -----> ชื่อเรื่องใด ตอบ* ถ้าเป็นค าถามทั่วไป + ต้องการข้อมูลพอสังเขป เช่น

กีฬาฟุตบอล ก าเนิดพระเยซู ------> ใช้ ? ตอบ * ถ้าเป็น เรื่องเฉพาะสาขา + ต้องการ ข้อมูลละเอียดลึกซึ้ง

DNA กฎหมายระบบโทรคมนาคม ------> ใช้ ? ตอบ

2. ก าหนดหัวเรื่อง หรือ ค าส าคัญ (Keyword) เพื่อการค้นหาตัวเล่ม, ตัววัสดุ/ สื่อ, URL

3. ค้นหาเรื่องที่ต้องการ * Reference Books ใช้ Index, เปิดดูเรื่อง

* Databases ใส่ค าค้น ค้นตามหมวดหมู่ ค้นจากคลังค า

4. ถ้าค้นหาประวัติบุคคล * ชาวไทย (ชื่อ และนามสกุล)

* ชาวต่างประเทศ (นามสกุล และชื่อต้น)

Page 30: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ประเด็นค าถาม

จากค าถามต่อไปนี้ จงอธิบายขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากสารานุกรม

1. ต้องการแผนที่การเดินทางของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (ผู้ค้นพบทวีปอเมริกา)

2. ต้องการเรื่อง “บ้องไฟ”

3. ต้องการระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษ

Page 31: สารานุกรม  (Encyclopedias)

สรุปขั้นตอนการค้นหาสารสนเทศจากสารานุกรม1. พิจารณาจากค าถามว่าผู้ใช้ต้องการแผนที่การเดินทางของคริสโตเฟอร์

โคลัมบัส (ผู้ค้นพบทวีปอเมริกา) ต้องใช้ Encyclopedia Americana ช่วยในการตอบเพราะเป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอเมริกา

2. ก าหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา Encyclopedia Americana

เนื่องจากเป็นสารานุกรมทั่วไป จึงก าหนดหัวเรื่องเป็นEncyclopedias and dictionaries

3. เมื่อพบ Encyclopedia Americana ใหจ้ดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ห้องอ้างอิง

4. ค้นหาเรื่องที่ต้องการโดยเปิดดูที่เรื่องคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ที่ตัวอักษร C หรือใช้ Index เล่มที่ 30 ช่วยค้น.

Page 32: สารานุกรม  (Encyclopedias)

ค าถามที่ 2 ต้องการเรื่อง “บ้องไฟ” ใช้หัวเรื่องสารานุกรมและพจนานุกรมไทย

ค าถามที่ 3 ต้องการระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษ ใช้หัวเรื่องEncyclopedias and dictionaries

ถ้าเป็นสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ใช้หัวเรื่อง

สารานุกรมและพจนานุกรมไทยส าหรับเด็ก