โครงการ apsco 53

27
โครงการประยุกต์ใช้ดาวเทียมสาหรับการเฝ้าระวัง และระบบเตือนภัยดินถล่ม ภายใต้ความร่วมมือ องค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชีย แปซิฟิก สรุปผลการดาเนินโครงการ 16 ธันวาคม 2553 โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Upload: sunt-uttayarath

Post on 28-May-2015

619 views

Category:

Technology


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการ Apsco 53

โครงการประยุกต์ใชด้าวเทียมส าหรับการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัยดนิถล่ม ภายใต้ความร่วมมือ

องค์การความร่วมมอืด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก

สรุปผลการด าเนินโครงการ16 ธันวาคม 2553

โดย

รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรงศ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Page 2: โครงการ Apsco 53

บทน า วัตถุประสงค์ การด าเนินกิจกรรมด้านวิศวกรรมดินถล่ม การด าเนินกิจกรรมแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน การประเมินความสูง การประเมินสิ่งปกคลุมดิน

สรุป การให้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS และดาวเทียมอื่นๆ ภายใต้

โครงการแบ่งปันข้อมูลของ APSCO

Page 3: โครงการ Apsco 53

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อพัฒนาความร่วมมือภายใต้ความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก ในการใช้ข้อมูลร่วมกัน (Spatial Data Sharing) ในการบริหารจัดการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเพื่อประยุกต์ใช้ดาวเทียมส าหรับการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัย

ศึกษาวิจัยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะดินถล่มในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อประโยชนใ์นการพัฒนาระบบแจ้งเตือนภัย

Page 4: โครงการ Apsco 53

ขอบเขตการด าเนินงานศึกษาแนวทางการประมวลผลข้อมูลดาวเทียมเพื่อสนับสนุนการจัดท าแบบจ าลองประเมินโอกาสการเกิดดินถล่ม• การประเมินปริมาณน้ าฝนจากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา • การจัดท าข้อมูลความสูงของพื้นที่จากข้อมูล G-DEM

ศึกษาบัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ มาประมวลผลสร้างเป็นแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ (Model)• ส ารวจข้อมูลจากพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม อย่างน้อย 2 จุด เพื่อจ าแนกพื้นที่ที่มีโอกาศเกิด

ดินถล่ม• ศึกษาปัจจัยที่ใช้วิเคราะห์พื้นที่เส่ียงภัย เช่น พืชพรรฒ สภาพการใช้ดิน ลักษณะดิน

ความลาดชัน ปริมาณน้ าฝน รวมถึงใช้ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาประกอบใช้ในการวิเคราะห์พื้นที่เส่ียงต่อดินถล่ม

จัดสัมมนา/ฝึกอบรมเพื่อวิภาคงานศึกษาและถ่ายทอดความรู้งานวิจัย

Page 5: โครงการ Apsco 53

ผลการด าเนินกิจกรรมดา้นแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม

จากการศึกษาด้านวิศวกรรมดินถล่มพบว่า ปริมาณน้ าฝนเป็นปัจจัยหลักที่สามารถกระตุ้นให้เกิดดินถล่ม และยังมีปัจจัยที่เกิดจากความลาดชันของพื้นที่อีกด้วย สามารถประเมินค่าปริมาณน้ าฝนที่คาดว่าจะตก (rainfall

estimate) จากข้อมูลดาวเทียม FY-2D/E โดยให้ค่าความแม่นย า R2

ในระดับที่น่าพอใจ (0.8-0.9 ขึ้นอยู่กับพื้นที่ศึกษา) สามารถน าข้อมูล G-DEM มาปรับใช้กับภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อ

จัดท าแผนที่ความสูงของพื้นที่ เพื่อน ามาจัดท าเป็นผลิตภัณฑ์ข้อมูลความชันของพื้นที่เสี่ยงภัยพพิบัติในอนาคต

Page 6: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน ได้มีการศึกษาพฤติกรรมการเกิดปริมาณน้ าฝนในพื้นที่ภาคเหนือ

ตอนล่าง และข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน มาช่วยในการเริ่มต้นสร้างสมการความสัมพันธ์ จ านวน 129 สถานี

มาตรวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา มาตรวัดของกรมชลประทาน

Page 7: โครงการ Apsco 53

ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้คาดการณ์ปริมาณน้ าฝน (KU-MET)

Page 8: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน

R2 ยังคงมีค่าต่ าเกินกว่าที่จะน าไปใช้ได้ เนื่องจาก ลักษณะของการเกิดฝนไม่ได้มีเพียงแบบเดียว

Page 9: โครงการ Apsco 53

การคาดการณ์ปริมาณน้ าฝน

อย่างไรก็ตามปริมาณฝนที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งไม่ได้เกิดจากเมฆประเภท Cumulonimbus (Cb) เพียงอย่างเดียว

แต่อาจเกิดจากเมฆที่อยู่ระดับต่ า ซึ่งมีอุณหภูมิยอดเมฆค่อนข้างสูง (มากกว่า 253 K) หรือที่เรียกกันว่าเมฆอุ่น (warm cloud) เช่น Stratocumulus

Page 10: โครงการ Apsco 53

ผลการคาดการณ์ปริมาณน้ าฝนที่เกิดจากเมฆ CUMULONIMBUS

Page 11: โครงการ Apsco 53

การใช้ข้อมูล G-DEM เพื่อจัดสร้างแผนที่ความสูง

ใช้ G-DEM ขนาดความละเอียด 30 เมตร มาประยุกต์ใช้ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ด้วยซอฟต์แวร์ Global Mapper

ลักษณะความสูงจะอยู่ในช่วง 300-2,500 เมตรจากระดับน้ าทะเล และลักษณะของพื้นที่เป็นหุบเขา

Page 12: โครงการ Apsco 53

ผลการด าเนินงานด้านวิศวกรรมดินถล่ม

น าเสนอโดย ผศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมภ์ ในช่วงบ่าย

Page 13: โครงการ Apsco 53

สรุป การประเมินปริมาณน้ าฝน พบว่าไม่สามารถน าโมเดลที่มี

การศึกษาในอดีตมาใช้ประเมินปริมาณน้ าฝนได้ในทุกพื้นที่ จ าเป็นต้องมีการศึกษาลักษณะและพฤติกรรมของการเกิดฝน

ควบคู่กัน เพื่อให้เกิดความถูกต้องมากย่ิงขึ้น

การประเมินค่าความสูง เป็นการด าเนินการโดยใช้ข้อมูล G-DEM ซึ่งมีความเหมาะสมกับข้อมูลที่ใช้งาน ท าให้สามารถระบุความสูงของพ้ืนที่ และลักษณะภูมิประเทศใน

เบื้องต้น

Page 14: โครงการ Apsco 53

ตารางคุณลักษณะดาวเทียม HJ-1A/B/C ภายใต้องค์การ APSCO

Satellite Payload Band no.

Spectral range (µm)

Spatial resolution

(m) Swath (km)

Side looking

(o)

Repetition cycle (days)

Data rate (Mbps)

HJ-1A CCD camera

1 2 3 4

0.43-0.52 0.52-0.60 0.63-0.69 0.76-0.90

30 30 30 30

700 - 4 120

Hyperspectral Imager

115 0.45-0.95 100 50 ±30 4

HJ-1B

CCD camera

1 2 3 4

0.43-0.52 0.52-0.60 0.63-0.69 0.76-0.90

30 30 30 30

700 - 4

60

Infrared Multispectral

Camera

5 6 7 8

0.75-1.10 1.55-1.75 3.50-3.90 10.5-12.5

150 150 150 300

720 - 4

HJ-1C Synthetic

Aperture Radar (SAR)

1 S-band

20 (4 looks, scan mode)

5 (single look, strip

mode)

100/40 (scan/strip)

31/44.5 4 160x2 (8:3

compression)

Page 15: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของพื้นดินจากแผ่นดินไหว

Page 16: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของพื้นดินบริเวณภูเขาไฟเอทน่า อิตาลี

Page 17: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างประยุกต์การใช้ข้อมูล SAR-การประเมินการเคลื่อนตัวของโครงสร้างของดิน

Page 18: โครงการ Apsco 53

ศูนย์วิจัยและบริหารจัดการข้อมลูดาวเทียม

ให้บริการข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทียมส ารวจโลก ที่ผลิตภัณฑ์ระดับ 2 โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย (ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต) ปรับแก้ข้อมูลดาวเทียมในเชิงแสงและเชิงพื้นที่ ท าการวิจัยเพื่อจัดท าผลิตภัณฑ์จากข้อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

และดาวเทียมส ารวจโลก (Optical/SAR) เช่น ประเมินพื้นที่เพาะปลูก พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติดินถล่ม การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของพ้ืนที่ ฯลฯ

ชั้น 9 อาคารวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์

Page 19: โครงการ Apsco 53

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์

Page 20: โครงการ Apsco 53
Page 21: โครงการ Apsco 53
Page 22: โครงการ Apsco 53
Page 23: โครงการ Apsco 53
Page 24: โครงการ Apsco 53
Page 25: โครงการ Apsco 53
Page 26: โครงการ Apsco 53
Page 27: โครงการ Apsco 53

Thank You for Your Attention

Question??

facebook.com/SMMSThailand