แผ่นพับสวัสดิการชุมชน ต.ท่างาม...

2
“ไม่เจ็บ ไม่จน ไร้ โรคภัย สุขกายสบายใจ” ดูว่าจะเป็นพรทีทุกคนอยากจะได้รับ แต่ความเป็นจริงแล้วน้อยคนนักที่จะ หลีกหนีวัฏจักรของความเจ็บไข้ ได้ป่วย หรือการสูญเสียตาย จากได้ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ล้วนเป็นวงจรชีวิตที่มนุษย์อย่างเราๆ ต้องเผชิญทั้งสิ้น และเพราะว่าวัฏจักรเช่นนี้เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องเผชิญนั่นเอง การสร้างหลักประกันการดูแลรักษาเยียวยาจึงเป็นสิ่งจำ เป็นอย่างหนึ่งที่คนแต่ละคนควรที่จะต้องมี ทั้งนี้ สวัสดิการบุคคล สวัสดิการชุมชน คือระบบการจัดการ ช่วยเหลือ ดูแล เป็นหลักประกันที่คนในสังคมควรจะได้รับ การคุ้มครองดูแลจากรัฐ ในรูปแบบการจัดการรัฐสวัสดิการ หากแต่ในความเป็นจริงของสังคมไทย เรายังห่างไกลนักกับ ระบบรัฐสวัสดิการ ที่ดูแล เข้าถึงผู้คนทุกระดับชั้น ทุกเงื่อนไข หรือครอบคลุมคุ้มครองคนทุกคนในสังคมในฐานะพลเมือง ตั้งแต่เกิดจนตายอย่างเป็นระบบ เป็นรูปธรรม สำหรับตำบลท่างาม การขยับขึ้นมาจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ ชุมชนจนเป็นรูปเป็นร่างได้นั้น ต้นทุนที่สำคัญที่ทำให้เกิดการ ขับเคลื่อนได้อย่างจริงจังคือ แกนนำที่มีประสบการณ์ และมี ทุนความรู้จากการไปเรียนรู้จากชุมชนอื่นๆ มีกลุ่มองค์กรใน ชุมชนที่ทำให้ชุมชนมีฐานประสบการณ์การทำงาน ขณะเดียว กัน บทบาทของพี่เลี้ยงอย่างเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน จังหวัดสิงห์บุรีก็เป็นสิ่งสำคัญ รวมทั้งการเข้ามาสนับสนุนของ ภาคีพัฒนาอย่าง พอช. ก็ยิ่งทำให้ฐานแน่นขึ้น จุดเริ่มของกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรีนั้น เริ่มเมื่อ ปี พ.ศ.2546 - 2547 จากฐานการมีกองทุนสวัสดิการผู้นำของ แต่ละจังหวัด จังหวัดละ 45 คน โดยเป็นกองทุนที่รัฐจัดให้แกผู้นำคนละ 360 บาท/ ปี แต่ท่ผ่านมาในแต่ละปี คนก็เจ็บป่วย กันน้อยใช้สิทธิน้อย ทำให้มีเงินเหลือจำนวนมาก แต่เงินที่เหลือ นั้น ชาวบ้านพบว่าเงินกลับไปกองอยู่ที่บริษัทประกันชีวิต เลย เกิดความคิดที่จะทำเอง โดยให้แต่ละตำบลเป็นเจ้าของ กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี เริ่มวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 โดยพอช.เข้ามาสนับสนุนงบประมาณจัดตั้งจนเป็น รูปเป็นร่าง จนมีการจัดงานสวัสดิการแก้จนคนเมืองสิงห์โดย มี 9 ตำบลเข้าร่วม มีผู้ว่าราชการจังหวัดเข้าร่วมงาน เกิดการ จัดตั้งคณะกรรมการจังหวัดเข้ามาทำงาน มาร่วมกันร่าง ระเบียบ มีการสมัครสมาชิก และมีการปรับเปลี่ยนกันจน เหมาะสม โดยใช้เกณฑ์ตามหลักการการประกันชีวิต แต่ความ ต่างคือเน้นการช่วยเหลือกันจริงๆ เป็นเรื่องการช่วยเหลือกัน การบริหารจัดการกองทุนจังหวัดนั้น ทำโดยการเอาทุกกองทุน สวัสดิการในจังหวัดสิงห์บุรีมารวมตัวกัน มีกรรมการมาดูแล บริหารจัดการ โดย 9 กองทุนสวัสดิการระดับตำบลที่จัดตั้งนั้น จะเชื่อมร้อยกันโดยการนำเงินจากแต่ละกองทุนตำบลมากอง รวมกันในระดับจังหวัด ซึ่งเงินส่วนดังกล่าวนั้นก็หักมาจากเงิน ออมสวัสดิการ 12 บาท เพื่อนำมาใช้เป็นค่าบริหารจัดการ สวัสดิการชุมชนคนท่างาม ‘สุขภาพดี ชีวีมีสุข’ ต.ท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี ปัจจุบันกองทุนสวัสดิการจังหวัดสิงห์บุรี จัดตั้งกองทุนสวัสดิ การชุมชนจำนวน 44 พื้นที่ แยกเป็น 43 ตำบล พื้นที่เทศบาล 1 พื้นทีสมาชิกรวม 17,235 คน เงินกองทุนสวัสดิการ รวม 17,025,425 บาท * สมทบจากสมาชิก 14,061,785 บาท * สมทบจากองค์กรปกครองท้องถิ่นและอื่นๆ 1,118,640 บาท * สมทบจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 1,845,000 บาท ผู้รับผลประโยชน์สมาชิกและไม่ใช่สมาชิกรวม 3,314 คน รวมเป็นเงิน 8,404,617 บาท เกณฑ์การพิจารณาการเป็นกองทุนสวัสดิการชุมชน 1.มีสมาชิกครอบคลุมทุกหลังคาเรือนในตำบล 2.มีความร่วมมือจากท้องถิ่นอย่างชัดเจน 3.มีการสนับสนุนเรื่องงบประมาณจากภาคีพัฒนา 4.ขึ้นทะเบียนองค์กรสวัสดิการชุมชน กับ พมจ. 5.มีคณะกรรมการบริหารกองทุน + เอกสารที่ชัดเจน 6.มีการขับเคลื่อนเรื่องสภาองค์กรชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ : องค์การบริหารส่วนตำบลท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี 16110 โทรศัพท์ 036-582-190 โทรสาร 036-581-192 website www.tarngam.go.th กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี

Upload: tuminthira

Post on 28-Jul-2015

945 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

ชุมชนท้องถิ่นที่มีกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดสวัสดิการชุมชน เพื่อชุมชน และโดยชุมชน

TRANSCRIPT

Page 1: แผ่นพับสวัสดิการชุมชน ต.ท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

“ไม่เจ็บ ไม่จน ไร้ โรคภัย สุขกายสบายใจ” ดูว่าจะเป็นพรที่

ทุกคนอยากจะได้รับ แต่ความเป็นจริงแล้วน้อยคนนักที่จะ

หลกีหนวีฏัจกัรของความเจบ็ไข้ ไดป้ว่ย หรอืการสญูเสยีตาย

จากได ้เกดิ แก ่เจบ็ ตาย ลว้นเปน็วงจรชวีติทีม่นษุยอ์ยา่งเราๆ

ต้องเผชิญทั้งสิ้น

และเพราะว่าวัฏจักรเช่นนี้เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องเผชิญนั่นเอง

การสร้างหลักประกันการดูแลรักษาเยียวยาจึงเป็นสิ่งจำ

เป็นอย่างหนึ่งที่คนแต่ละคนควรที่จะต้องมี

ทั้งนี้ สวัสดิการบุคคล สวัสดิการชุมชน คือระบบการจัดการ

ช่วยเหลือ ดูแล เป็นหลักประกันที่คนในสังคมควรจะได้รับ

การคุ้มครองดูแลจากรัฐ ในรูปแบบการจัดการรัฐสวัสดิการ

หากแต่ในความเป็นจริงของสังคมไทย เรายังห่างไกลนักกับ

ระบบรฐัสวสัดกิาร ทีด่แูล เขา้ถงึผูค้นทกุระดบัชัน้ ทกุเงือ่นไข

หรือครอบคลุมคุ้มครองคนทุกคนในสังคมในฐานะพลเมือง

ตั้งแต่เกิดจนตายอย่างเป็นระบบ เป็นรูปธรรม

สำหรับตำบลท่างาม การขยับขึ้นมาจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ

ชุมชนจนเป็นรูปเป็นร่างได้นั้น ต้นทุนที่สำคัญที่ทำให้เกิดการ

ขับเคลื่อนได้อย่างจริงจังคือ แกนนำที่มีประสบการณ์ และมี

ทุนความรู้จากการไปเรียนรู้จากชุมชนอื่นๆ มีกลุ่มองค์กรใน

ชุมชนที่ทำให้ชุมชนมีฐานประสบการณ์การทำงาน ขณะเดียว

กนั บทบาทของพีเ่ลีย้งอยา่งเครอืขา่ยกองทนุสวสัดกิารชมุชน

จงัหวดัสงิหบ์รุกีเ็ปน็สิง่สำคญั รวมทัง้การเขา้มาสนบัสนนุของ

ภาคีพัฒนาอย่าง พอช. ก็ยิ่งทำให้ฐานแน่นขึ้น

จุดเริ่มของกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรีนั้น เริ่มเมื่อ

ปี พ.ศ.2546 - 2547 จากฐานการมีกองทุนสวัสดิการผู้นำของ

แต่ละจังหวัด จังหวัดละ 45 คน โดยเป็นกองทุนที่รัฐจัดให้แก่

ผู้นำคนละ 360 บาท/ ปี แต่ที่ผ่านมาในแต่ละปี คนก็เจ็บป่วย

กนันอ้ยใชส้ทิธนิอ้ย ทำใหม้เีงนิเหลอืจำนวนมาก แตเ่งนิทีเ่หลอื

นั้น ชาวบ้านพบว่าเงินกลับไปกองอยู่ที่บริษัทประกันชีวิต เลย

เกิดความคิดที่จะทำเอง โดยให้แต่ละตำบลเป็นเจ้าของ

กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี เริ่มวันที่ 14 กุมภาพันธ์

พ.ศ.2548 โดย พอช. เขา้มาสนบัสนนุงบประมาณจดัตัง้จนเปน็

รูปเป็นร่าง จนมีการจัดงานสวัสดิการแก้จนคนเมืองสิงห์ โดย

มี 9 ตำบลเข้าร่วม มีผู้ว่าราชการจังหวัดเข้าร่วมงาน เกิดการ

จัดตั้งคณะกรรมการจังหวัดเข้ามาทำงาน มาร่วมกันร่าง

ระเบียบ มีการสมัครสมาชิก และมีการปรับเปลี่ยนกันจน

เหมาะสม โดยใช้เกณฑ์ตามหลักการการประกันชีวิต แต่ความ

ต่างคือเน้นการช่วยเหลือกันจริงๆ เป็นเรื่องการช่วยเหลือกัน

การบรหิารจดัการกองทนุจงัหวดันัน้ ทำโดยการเอาทกุกองทนุ

สวัสดิการในจังหวัดสิงห์บุรีมารวมตัวกัน มีกรรมการมาดูแล

บริหารจัดการ โดย 9 กองทุนสวัสดิการระดับตำบลที่จัดตั้งนั้น

จะเชื่อมร้อยกันโดยการนำเงินจากแต่ละกองทุนตำบลมากอง

รวมกันในระดับจังหวัด ซึ่งเงินส่วนดังกล่าวนั้นก็หักมาจากเงิน

ออมสวัสดิการ 12 บาท เพื่อนำมาใช้เป็นค่าบริหารจัดการ

ตนทุน: ÊÇÑÊ´Ô¡ÒêØÁª¹¤¹·‹Ò§ÒÁµ.·‹Ò§ÒÁ Í.ÍÔ¹·Ã�ºØÃÕ ¨.ÊÔ§Ë�ºØÃÕ

สวัสดิการชุมชนคนท่างาม

‘สุขภาพดี ชีวีมีสุข’

ต.ท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

ปัจจุบันกองทุนสวัสดิการจังหวัดสิงห์บุรี จัดตั้งกองทุนสวัสดิ

การชุมชนจำนวน 44 พื้นที่ แยกเป็น 43 ตำบล พื้นที่เทศบาล

1 พื้นที่

สมาชิกรวม 17,235 คน

เงินกองทุนสวัสดิการ รวม 17,025,425 บาท

* สมทบจากสมาชิก 14,061,785 บาท

* สมทบจากองค์กรปกครองท้องถิ่นและอื่นๆ

1,118,640 บาท

* สมทบจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

1,845,000 บาท

ผู้รับผลประโยชน์สมาชิกและไม่ใช่สมาชิกรวม

3,314 คน

รวมเป็นเงิน 8,404,617 บาท

เกณฑ์การพิจารณาการเป็นกองทุนสวัสดิการชุมชน

1.มีสมาชิกครอบคลุมทุกหลังคาเรือนในตำบล

2.มีความร่วมมือจากท้องถิ่นอย่างชัดเจน

3.มีการสนับสนุนเรื่องงบประมาณจากภาคีพัฒนา

4.ขึ้นทะเบียนองค์กรสวัสดิการชุมชน กับ พมจ.

5.มีคณะกรรมการบริหารกองทุน + เอกสารที่ชัดเจน

6.มีการขับเคลื่อนเรื่องสภาองค์กรชุมชน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ : องค์การบริหารส่วนตำบลท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี 16110 โทรศัพท์ 036-582-190โทรสาร 036-581-192website www.tarngam.go.th

กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรีกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรีกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรีกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี

Page 2: แผ่นพับสวัสดิการชุมชน ต.ท่างาม อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

“สวัสดิการท่างาม”“สวัสดิการท่างาม”“สวัสดิการท่างาม”“สวัสดิการท่างาม”

สถานะการเงินสถานะการเงินสถานะการเงินสถานะการเงิน

สถานะการเงินขององค์กรสวัสดิการชุมชน

811,980.16 บาท

(ข้อมูล ณ 9 กันยายน 2553)

เงินกองทุนสวัสดิการ

ยอด ณ เดือนกันยายน 2553 จำแนกเป็น

เงินสด 20,270 บาท

เงินออม 487,835.71 บาท

เงินฝากประจำ 101,874.24 บาท

ซื้อสลากออมสิน 200,000 บาท

ดอกเบี้ยถูกสลาก 2000.21 บาท

สมาชิกคือ คนในตำบลท่างามเป็นหลัก ส่วนคนนอก

พื้นที่ก็เป็นรายๆ ไป เพราะอาจจะมีปัญหาในการติดตามติดต่อ

โดยเน้นที่สมาชิกในตำบลที่อาศัยอยู่และเห็นตัวตนจริงๆ

สมทบเงนิ 365 บาทตอ่ป ี และคา่บรหิารจดัการแรกเขา้

50 บาท (จ่ายครั้งเดียว) รวมทั้งสิ้น 415 บาท

วันเปิดกองทุนตำบลท่างาม คือ 1 สิงหาคม 2551

ดังนั้นการสมัครและเก็บเงินจะทำทั้งหมดในเดือนกรกฎาคม

คุณสมบัติสมาชิก และการบริการคุณสมบัติสมาชิก และการบริการคุณสมบัติสมาชิก และการบริการคุณสมบัติสมาชิก และการบริการ

โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่างาม เริ่มขับเคลื่อนใน

ปี พ.ศ.2551 โดยกระบวนการของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

นั้นเป็นเรื่องการส่งเสริมสร้างสุขภาพให้ประชาชน เกิดการขับ

เคลื่อนงานเชื่อมโยงกับกองทุนสวัสดิการชุมชน ทั้งนี้ ภาพการ

เชื่อมระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชน

นั้น ส่วนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามข้อตกลงคือท้องถิ่น

ต้องอุดหนุนไม่ต่ำกว่า 20% ทาง อบต.ก็อุดหนุน 37.50 บาท/คน

โดยให้ ในอัตราเท่ากับที่รัฐจัดให้ พอในปีเดียวกันก็จัดตั้งกองทุน

สวัสดิการขึ้นมาเก็บ 365 บาทต่อปี โดยกองทุนหลักประกัน

สุขภาพ ทำเรื่องสุขภาพของประชาชน การดูแลคนท้อง หลัง

คลอด และเรื่องกองทุนสวัสดิการชุมชนทำเรื่องรักษาพยาบาล

งานศพ ทุนการศึกษา ทำให้เกิดการดูแลสุขภาพของคนท่างาม

ทั้งระบบ พอทั้ง 2 กองทุนเชื่อมโยงสอดคล้องกันแล้ว ท้องถิ่นก็

มีงบที่ดูแลเรื่องนี้ ให้กับประชาชนได้อย่างครอบคลุม

รับตั้งแต่อายุ 1 - 70 ปี โดยก่อนหน้านี้ ในปีแรกใช้ฐาน

อายุที่ 75 ปี แต่เนื่องจากกลัวเรื่องความคุ้มทุน ความเสี่ยงจึง

มีการปรับเปลี่ยนอิงกับระเบียบของกองทุนสวัสดิการชุมชน

จังหวัดสิงห์บุรี

เมื่อระบบการบริหารจัดการสวัสดิการจากรัฐยังไม่รองรับและ

เข้าถึงคนในสังคมทุกคนได้ ชุมชนท้องถิ่นหลายๆ แห่งจึงลุกขึ้น

มาจุดประกายและจัดทำระบบสวัสดิการชุมชนเพื่อดูแลกัน

และกัน

ตำบลท่างามมีประชากรทั้งสิ้น 5,462 คน เป็นชาย 2,700 คน

และเป็นหญิง 2,762 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 1,289 ครัวเรือน

ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านโคกขาม หมู่ 2 บ้าน

โคกขาม หมู่ 3 บ้านโคกขาม หมู่ 4 บ้านบางเล็ก หมู่ 5 บ้านเกาะ

แก้ว หมู่ 6 บ้านท่าข่อย หมู่ 7 บ้านท่างาม หมู่ 8 บ้านบางตา

โฉม หมู่ 9 บ้านปลาไหล หมู่ 10 บ้านหัวดง และหมู่ 11 บ้านโพธิ์

สำนัก

ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเนื่องจากสภาพ

พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

พืชเศรษฐกิจส่วนใหญ่ได้แก่ ข้าว อ้อย พืชสวน

จุดเริ่มต้นในการจัดตั้งสวัสดิการชุมชนตำบลท่างาม ขยับโดย

ใช้ฐานองค์การบริหารส่วนตำบล ฐานท้องถิ่นเป็นกลไกในการ

ขยับ ภายใต้การหนุนเสริมของเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน

จังหวัดสิงห์บุรี องค์กรที่มีสถานะเป็นทั้งพี่เลี้ยงให้คำปรึกษา

แนะนำและกลไกกลางในการประสานเชื่อมร้อยการทำงานใน

ระดับจังหวัด

ระบุกลุ่มเป้าหมาย สมาชิกที่ได้ รับประโยชน์ (ทุกคนหรือ บางกลุ่ม)

สิ่งที่ได้รับ เงื่อนไข อื่นๆ

1. สมาชิกป่วย แพทย์สั่งนอนโรงพยาบาล

เงินช่วยเหลือกรณีที่นอนโรงพยาบาล คืนละ 100 บาท ปีละไม่เกิน 10 คืน ( 1,000 บาท)

- ต้องเป็นสมาชิกไม่น้อย กว่า 6เดือน- ส่งเงินสมทบรายปี- แนบใบรับรองแพทย์ ที่ระบุนอนโรงพยาบาล

2. สมาชิกคลอดบุตร และเงินรับขวัญบุตร

เงินช่วยเหลือกรณีคลอดบุตร 500 บาท และเงินรับขวัญบุตร 1,000 บาท

- ต้องเป็นสมาชิกไม่น้อย กว่า 6 เดือน- ส่งเงินสมทบรายปี- แนบใบรับรองแพทย์- เงินคลอดบุตร(เฉพาะ มารดาเป็นสมาชิก เท่านั้น)- แนบสูติบัตร

3. สมาชิกเสียชีวิต เงินสวดอภิธรรมศพ 500 บาท เงินค่า พวงหรีดไม่เกิน 500 บาท เงินค่าจัดการศพเบื้องต้น 2,000 บาท และเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต ตั้งแต่ 10,000 - 22,000 บาท(ตามปีที่เป็นสมาชิก)

- ต้องเป็นสมาชิกไม่น้อย กว่า 6 เดือน- ส่งเงินสมทบรายปี- แนบใบมรณบัตร

เงินชดเชยกรณีเสียชีวิต(จากกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบล)

สิทธิการช่วยเหลือสิทธิการช่วยเหลือสิทธิการช่วยเหลือสิทธิการช่วยเหลือ