คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ...

160
คูมืออบรมเชิงปฏิบัติการ คูมืออบรมเชิงปฏิบัติการ พระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน พระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนทีรุนที๒๖ ๒๖ - ๓๐ ๓๐ มิถุนายน มิถุนายน ๒๕๔๕ ๒๕๔๕ ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับ รวมกับ สํานักงานพุทธมณฑล สํานักงานพุทธมณฑล การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการคายคุ การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการคายคุ ณธรรม ณธรรม และศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล และศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา .... บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ ...... เหมือนเพชรรอเวลาเจียรไน เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน .. งายตอการหลงตามความแปลกใหม เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน พระศาสนาดังน้ําดับความรอน ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน

Upload: niralai

Post on 28-May-2015

9.948 views

Category:

Education


58 download

DESCRIPTION

คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

คูมืออบรมเชิงปฏิบัติการคูมืออบรมเชิงปฏิบัติการ พระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียนพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน

รุนท่ีรุนท่ี ๑๑ ๒๖๒๖ -- ๓๐๓๐ มิถุนายนมิถุนายน ๒๕๔๕๒๕๔๕

ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับรวมกับ

สํานักงานพุทธมณฑลสํานักงานพุทธมณฑล การอบรมเชิงปฏิบัติการน้ีเปนสวนหน่ึงของโครงการคายคุการอบรมเชิงปฏิบัติการน้ีเปนสวนหน่ึงของโครงการคายคุณธรรมณธรรม

และศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑลและศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล

บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา.... บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ

เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ...... เหมือนเพชรรอเวลาเจียรไน

เส่ียงตอการติดกับความหยาบกราน.. งายตอการหลงตามความแปลกใหม เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพ่ือจะไดกาวม่ันถูกขั้นตอน หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน พระศาสนาดังน้ําดับความรอน ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน

Page 2: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

กําหนดการ พิธีเปดโครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับพุทธมณฑล ณ หองประชุมหอสมุดพุทธศาสนา พุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม

วันพุธ ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕ ******************

เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา ๐๙.๐๐ น.-๐๙.๓๐ น. ผูเขารับการฝกอบรมพรอมเพียงกัน ณ หองประชุมหอสมุด

พุทธมณฑล เวลา ๐๙.๓๐ น.–๑๐.๓๐ น. พิธีเปดโครงการฯ

- อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานในพิธี จุดธูป เทียน บูชาพระรัตนตรัย

- ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศ สํานักสงเสริมพระพุทธศาสนาและบริการสังคม กลาวรายงาน

- ประธานในพิธี ใหโอวาทและกลาวเปดโครงการฯ - ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศถวายเคร่ืองไทยธรรม

เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๐.๑๕ น. การกลาวตอนรับและบรรยายพิเศษเร่ือง พุทธมณฑล โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑล

เวลา ๑๑.๑๕ น.-๑๒.๐๐ น. พัก/ฉันภัตตาหารเพล

Page 3: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓กําหนดการฝกอบรมประจําวัน

โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที ่๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับพุทธมณฑล

ณ หองประชุมหอสมุดพุทธมณฑล ระหวางวันที ่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕

**************************** วันพุธที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น. พรอมกัน ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล

เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. พิธีเปดโครงการ ฯ - อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย - รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน - อธิการบดีใหโอวาทเปดการอบรม - ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑลถวายเครื่องไทย

ธรรม เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๑.๑๕ น. กลาวถวายการตอนรับและบรรยายพิเศษเรื่อง พุทธ

มณฑล โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑล

เวลา ๑๑.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. บรรยายเรื่อง วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด

โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง การใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม

โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันพฤหัสบดีที ่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร

Page 4: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่ม ี

ประสิทธิภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา

เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. (ตอ) วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธ ิ

ภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง จริยธรรมพระธรรมวิทยากร

โดย พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล ผูอํานวยการสํานักสงเสริมพระพุทธศาสนาและ บริการสังคม มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันศุกรที ่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๓๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ) เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ) เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันเสารที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา

Page 5: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕ เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึก -

ทางคุณธรรม จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ

เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม -

จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ (ตอ)

เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พัก /ทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม -

จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ (ตอ)

เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันอาทิตยที ่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน / ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๓๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. กิจกรรม ฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๓.๐๐ น. พรอมกันที่หองประชุม / ซอมพิธีรับประกาศนียบัตร เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. พิธีมอบประกาศนียบัตร

- อธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย

- รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน - รักษาการหัวหนาฝายบริการฝกอบรมขานรายชื่อ

ผูสําเร็จการฝกอบรมเขารับประกาศนียบัตร - อธิการบดี ใหโอวาทปดโครงการ ฯ - ผูอํานวยการสํานักพุทธมณฑลถวายเครื่องไทยธรรม - ไหวพระพรอมกันเปนอันเสร็จพิธ ี

Page 6: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖ขอควรปฏิบัติ

สําหรับผูเขารับการฝกอบรม โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน

ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล ระหวางวันที่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕

************************* ๑. นุงหมเปนปริมณฑล (หมดองรัดอก) ในขณะเขารับการฝกอบรม ๒. ถามีความจําเปนจะออกนอกสถานท่ีฝกอบรม ควรครองจีวรใหเรียบรอย ๓. หามสูบบุหรี ่ ในสถานท่ีฝกอบรม ๔. ไมใชเครื่องมือส่ือสารในขณะเขารับการฝกอบรม ๕. ปฏิบัติตามกําหนดการอยางพรอมเพรียงกัน ๖. ใหความรวมมือกับวิทยากรและคณะผูใหการฝกอบรมในโครงการ ฯ ๗. ทุกรูปตองอยูอบรมครบตามกําหนดการท่ีกําหนดไวทุกกิจกรรมจึงจะมีสิทธ์ิรับวุฒิบัตร ๘. เพ่ือความเรียบรอย และความงดงามของหมูคณะ จงอยูดวยกันตามหลักสาราณียธรรม

Page 7: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

ตารางอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑

มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับสํานักงานพุทธมณฑล ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม

ระหวางวันที่ ๒๖–๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา

วัน ๘.๐๐ น.-๙.๐๐ น. ๙.๐๐ น.-๑๑.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น.-๒๑.๐๐ น.

พุธ ๒๖ ม.ิย.

ลงทะเบียน รายงานตัว พิธีเปด

วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล

การใชสื่อเทคโนโลยีในการใหการฝกอบรม โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล

พฤหัสบดี ๒๗ ม.ิย.

วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธิภาพ โดย..อาจารยปนทอง ใจสุทธิ ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา

จริยธรรมพระธรรมวิทยากร โดย..พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล

ผ.อ.สํานักสงเสริมพระพุทธศาสนา ฯ มจร.

ศุกร ๒๘ ม.ิย.

เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั และคณะ

เสาร ๒๙ ม.ิย.

เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณธรรม จริยธรรม โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และคณะ

อาทิตย ๓๐ ม.ิย.

กิจกรรมฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล โดย...เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม พิธีมอบประกาศนียบัตร

Page 8: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

หลักสูตร โครงการอบรมพระธรรมวิทยากร คายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสําหรับนักเรียน

************ หลักสูตรและระยะเวลาดําเนินการ รวม ๕๐ ชั่วโมง

หมวดที่ ๑ วิชาทั่วไป ๑๑ ชั่วโมง หมวดที่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต ๒๗ ชั่วโมง หมวดที่ ๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ ๑๒ ชั่วโมง

เน้ือหารายละเอียดหลักสูตรประจําหมวดวิชา

หมวดที ่ ๑ วิชาทั่วไป ๑.๑ พิธีเปดโครงการ / ปฐมนิเทศ จุดประสงค เพ่ือชี้แจงหลักการและเหตุผลในการจัดฝกอบรมโครงการอบรมพระธรรมวิทยากรสําหรับนักเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตอผูเขารับการฝกอบรม และปลุกใจใหผูเขารับการมีฉันทะในการฝกอบรมจากโครงการ ขอบขายเนื้อหา

• เปาหมายของการพัฒนาบุคลากรสอนศีลธรรม • สภาพการณการสอนศีลธรรมใหกับเด็กและเยาวชน • ประสิทธิภาพการสอนศีลธรรมของพระวิทยากร

เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยายปลุกใจ

๑.๒ พิธีมอบประกาศนียบัตร / ปจฉิมนิเทศ วัตถุประสงค เพ่ือเปนการใหกําลังใจในการทํางานและความม่ันใจในการปฎิบัติอยางมี

ประสิทธิภาพ • ประธานในพิธีนําบูชาพระรัตนตรัย • ประธานมอบประกาศนียบัตรและ • ใหโอวาท

เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการอบรม ประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรและใหโอวาทปจฉิมนิเทศ

Page 9: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙ ๑.๓ วิชาการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาประวัติความสําคัญของสถานท่ีสําคัญทางพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล ขอบขายเนื้อหา

• ประวัติ/วัตถุประสงค/ภารกิจ/วิสัยทัศนและความสําคญัของพุทธมณฑล

• ศึกษาสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล • หอพระไตรปฎกหินออน • พระประธานพุทธมณฑล • สถานท่ีสําคัญในพุทธมณฑล

เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม แบงกลุม/ระดมความคิด/สรุปผล ๑.๓ การจัดระเบียบวินัยเด็ก

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการฝกอบรมไดศึกษาวิธีการสรางระเบียบ วินัย ในหมูคณะ ในการควบคุมผูเขารับการอบรมในโครงการ เพ่ือใหเกิดความเรียบรอยสวยงาม

ขอบขายเนื้อหา • การฝกระเบียบโดยการออกคําสั่ง

• การลงโทษตอผูฝาฝนระเบียบท่ีเหมาะสม เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต /ชมวิดีทัศน ๑.๔ วิชาการบริหารกิจกรรมคายคุณธรรม

จุดประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดมีระบบการบริหารโครงการและทีมงานฝกอบรมท่ีมีประสิทธิภาพ

ขอบขายเนื้อหา • การจัดสรรทีมงาน • การเตรียมการ • การประสานงาน

• เทคนิคการสรางกําลังใจและมอบหมายงาน • การตัดสินใจ เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / กิจกรรมสัมพันธ

Page 10: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐หมวดที ่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต

๒.๑ วิชาเทคนิคการใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาเทคนิคการใชเครื่องมืออุปกรณเทคโยโลยีและเลือกใชสื่อท่ีเหมาะสมในการใหการอบรมแกนักเรียนและเยาวชน ขอบขายเนื้อหา

• อุปกรณเครื่องมือท่ีจําเปน • การเลือกเนื้อหาของสื่อท่ีเปน ภาพ –เสียง • การนําเสนอท่ีมีประสิทธิภาพ

เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย / ชมวิดีทัศน /ซักถาม

๒.๒ เทคนิคการผลิตส่ือธรรมะ

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรม สามารถผลิตสื่อจากวัสดุใหเปนอุปกรณสอนธรรมะ และนําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอบขายเนื้อหา

• การเลือกวัสดุมาผลิตเปนสื่อ • ขั้นตอนการผลิตสื่อ • เปาหมายของสื่อกับเนื้อหาธรรมท่ีซอนอยูในสื่อ • ขั้นตอนการผลิตสื่อ • เทคนิคการนําเสนอ เวลา ๖ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ

๒.๓ เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมธรรมนันทนาการ (เกมส) วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรม ไดเรียนรูเทคนิคการสอนธรรมโดยใชเกมสหรือ

การแสดง เปนสื่อในการสอนธรรมะเปนลักษณะการละลายพฤติกรรม กอนการฝกอบรมภาควิชาการ ขอบขายเนื้อหา

• ประเภทของเกมสหรือการแสดงตอหนาชุมชน • ความเหมาะสมในการใชเกมสในการอบรม • สาธิตรูปแบบเกมสหรือการแสดงในแบบตางๆ • ฝกทักษะและวิธีการนําเสนอ

• สรุปธรรมะ

Page 11: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑ เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย/ สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ

๒.๔ เทคนิคปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรมในรูปแบบกิจกรรมสัมพันธ วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการฝกอบรม ไดมีเทคนิครูปแบบการจัดกิจกรรมท่ีมี

คุณธรรม ปลุกจิตสํานึกใหเปนเด็กดี ศรัทธาตอพระพุทธศาสนาและคุณคาแหงความกตัญูกตเวทิตาธรรม มุงม่ันตอการกระทําความดี ขอบขายเนื้อหา

• แนวคิดและเหตุผลในการใชกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณ ธรรม • การเลือกกิจกรรมการสอนและเทคนิคการนําเสนอ

- กิจกรรมจุดเทียนอุดมการณ ๒ ช.ม.

- กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณพอแม ๒ ช.ม.

- กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณคุณคร ู ๒ ช.ม. - ฝกภาคปฏิบัติ ๓ ช.ม.

• สรุปผลการนําเสนอ เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ / อภิปราย / ซักถาม / ชมวีดีทัศน

หมวดที ่๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ

๓.๑ วิชาจริยธรรมพระธรรมวิทยากร

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูรับการอบรมตระหนักถึงหนาท่ีและลักษณะของนักเผยแผท่ีมีความรูคูคุณธรรม สามารถรักษาศรัทธาของพุทธศาสนิกชนท่ัวไปอยางม่ันคง

ขอบขายเนื้อหา • จรรยาของพระธรรมวิทยากร • การเตรียมตัวเปนนักเผยแผท่ีดี

เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย

๓.๒ วิชา การพัฒนาจิต (ทําวัตรเชา-เย็น)

วัตถุประสงค เพ่ือเอื้อเฟอตอพระธรรมวินัย ปฏิบัติกิจวัตรรวมกัน และพอกนพูนศรัทธาแกสาธุชนท่ัวไป

Page 12: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒ขอบขายเนื้อหา

• สวดมนตทําวัตรเชาเย็น • สมาธิภาวนา

เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการอบรม ประชุมพรอมกัน / สวดมนต / จิตภาวนา

Page 13: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓

๑.ภาคสาธิตกิจกรรม

๑.ตัวอยางกําหนดการคาย

กําหนดการอยูคายพุทธบุตร -------------------

วันที่ ๑ ของการอบรม

๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. นักเรียนลงทะเบียนรายงานตัว ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. นักเรียนทุกคนพรอมกันในท่ีประชุม ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร

- เปดเพลงพระรัตนตรัย - ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล - นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ - อาราธนาศีล และรับศีล - ประธานฝายฆราวาสรับการรายงาน - กลาวรายงาน - ประธานกลาวเปดการอบรม

๐๙.๓๐-๑๐.๑๕ น. ประธานสงฆกลาวสัมโมทนียกถา ๑๐.๑๕-๑๐.๓๐ น. แนะนําพระวิทยากร วิทยากร และคณะครูพ่ีเล้ียง ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น. พิธีมอบตัวเปนศิษย สัญญาใจ คําปฏิญาณพุทธบุตร กติกาการอยูคายพุทธบุตร ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. พบครูอาจารยพ่ีเล้ียง ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียน ๔ ฐาน ฐานท่ี ๑ ศาสนพิธี

Page 14: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔ ฐานท่ี ๒ มารยาทชาวพุทธ ฐานท่ี ๓ กฎแหงกรรม ฐานท่ี ๔ กลุมสัมพันธ ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. นักเรียนอาบน้ํา ทําภารกิจสวนตัว ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๑๙.๓๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา ๑๙.๓๐-๒๐.๓๐ น. กิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร ๒๐.๓๐-๒๑.๓๐ น. ฉายสไลดเรื่องพุทธประวัต ิ๒๑.๓๐ น. นักเรียนเขานอน

วันที่ ๒ ของการอบรม

๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น. บริหารกาย ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น. กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น. บําเพ็ญประโยชน ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๐๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียนมาตรฐาน ๔ ฐาน ฐานท่ี ๑ พระคุณของพระรัตนตรัย ฐานท่ี ๒ พระคุณของคุณพอคุณแม ฐานท่ี ๓ พระคุณของคุณคร ู ฐานท่ี ๔ พระคุณของพระมหากษัตริย ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. พบครูอาจารยพ่ีเล้ียง ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียนตามฐาน ๔ ฐาน ฐานท่ี ๑ เพ่ือนท่ีด ี ฐานท่ี ๒ พลเมืองท่ีด ี ฐานท่ี ๓ พุทธศาสนิกชนท่ีด ี ฐานท่ี ๔ สุขภาพอนามัยท่ีด ี

Page 15: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕ ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. นักเรียนอาบน้ํา ทําธุรกิจสวนตัว พระวิทยากรและผูรวมงานประชุม ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๒๐.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา ๒๐.๐๐-๒๑.๓๐ น. นักเรียนแสดงละครธรรมะเรื่อง

§ ความสนใจใฝรูและสรางสรรค § ความมีน้ําใจ § ความมีวินัย § ความเปนไทย

๒๑.๓๐ น. นักเรียนเขานอน วันที่ ๓ ของการอบรม

๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น. บริหารกาย ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น. กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น. บําเพ็ญประโยชน ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ น. อภิปรายเรื่องศิษยดีมีคุณธรรม ๐๙.๓๐-๑๐.๓๐ น. แบงกลุมเขียนเรียงความ เรื่องพระคุณของคุณพอคุณแม พระคุณของคุณคร ู๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น. สนทนาธรรม ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. อธิษฐานจิตเพ่ือชีวิตใหม ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. พิธีปดการอยูคายพุทธบุตร

§ ประธานฝกอบรมมอบวุฒิบัตร § ประธานฝกอบรมมอบศิษยคืน ผูบริหารโรงเรียนรับศิษยคืน และกลาวปดการอบรม

§ พระอาจารยนํากราบพระ

Page 16: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๖ รายละเอียดและข้ันตอนการดําเนินงานการอยูคายพุทธบุตร

การลงทะเบียนรายงานตัว

๑. จัดโตะรับรายงานตัว และมีครูรับรายงานตัว ๒. จัดนักเรียนเปน ๘ กลุม พรอมรายช่ือนักเรียนท่ีเขาคายพุทธบุตร ดังนี ้

กลุมฉันทะ ๑ ปายช่ือ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๑ ปายช่ือสีน้ําเงิน กลุมฉันทะ ๒ ปายช่ือ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๒ ปายช่ือสีน้ําเงิน กลุมวิริยะ ๑ ปายช่ือสีฟา กลุมวิมังสา ๑ ปายช่ือสีเขียว กลุมวิริยะ ๒ ปายช่ือสีฟา กลุมวิมังสา ๒ ปายช่ือสีเขียว

๓. นักเรียนลงช่ือรายงานตัวและรับปายช่ือ ๔. ครูนํานักเรียนไปหองประชุม

การเขาหองประชุม

- จัดรวมเด็กท่ีสนาม ตามกลุมท่ีจัดไว - จัดเด็กใหยืนตามลําดบัไหล ใหคําต่ําท่ีสุดยืนหัวแถว - ปลอยเด็กใหเดินแถวไปเขาหองประชุม - ถึงหองประชุมเขายืนประจําท่ีของตัวเอง - ส่ังใหเด็กจัดแถวใหคนหนาสุดยืนเปนแบบคนอ่ืน ๆ ยกมือขวายื่นมาขางหนาแลวถอยหลังไป จนปลายน้ํามือหางจากแผนหลังของคนท่ียืนอยูขางหนาประมาณ สองคืบ

- ส่ังเด็กใหขวาหันเม่ือขวาหันแลวใหแถวท่ีอยูหนาสุดยืนเปนแบบแถวอ่ืน ๆ จัดตัวเองใหยืนจมูกตรงคอคนหนา

- ส่ังเด็กใหซายหัน ใหทุกคนยืนใหจมูกตรงคอคนหนา - วิธีนั่งใหหยอนเขาซายลงกอน แลวตามดวยเขาขวา - นั่งลงแลวคุกเขา ผูชายนั่งทาเทพบุตร ผูหญิงนั่งทาเทพธิดา - กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้งแลวจึงนั่งพับเพียบดวยการตวัดปลายเทาลงมาทางดานหลัง

วิธียืน-นั่ง-เปลี่ยนทานั่ง

ถาเรานั่งพับเพียบอยูแตตองการจะยืน ตองปฏิบัติดังนี ้- นั่งคุกเขา ยกเขาขางขวาตั้งตรงขึ้น (คลายนักกรีฑาเตรียมวิ่ง) แลวยืนขึ้น (พึงสังเกตวาถาจะยืนยกเขาขวาขึ้นกอน ถาจะนั่งหยอนเขาซายลงกอน)

เม่ือนั่งพับเพียบนาน ๆ รูสึกเม่ือยหรือปวด ใหเปล่ียนทานั่งดังนี ้- นั่งคุกเขาขึ้น แลวตวัดปลายเทาเปล่ียนไปอีกขางหนึ่งทางดานหลัง

Page 17: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๗ วิธีกราบ

- กราบพระรัตนตรัย ใหกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง - กราบพอแม ครูอาจารย นั่งพับเพียบ ยื่นมือออกไปขางหนาไมตองแบมือ กราบเอาหนาผากลงบนสันกระพุมมือ ๑ ครั้ง

กราบทานประธาน

- พระอาจารยตั้งหัวหนานักเรียน ๑ คน ใหทําหนาท่ีส่ังนักเรียน - เม่ือประธานนั่งเรียบรอยแลว หัวหนานักเรียนส่ังวา “นักเรียนทําความเคารพทานประธาน” นักเรียนท้ังหมดกราบ ๑ ครั้ง แลวลุกขึ้นนั่งตัวตรงแบบนั่งตอหนาผูใหญ

- พิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - พอประธานลุกขึ้นเดินไปจุดธูปเทียน นักเรียนนั่งคุกเขาขึ้น พระวิทยากร ครูอาจารย แขกผูมีเกียรติ ท่ีนั่งเกาอ้ีท้ังหมดยืน

- ประธานจุดเทียนเลมท่ี ๑ ทุกคนประนมมือ - ประธานทําหนาท่ีบนเวทีเสร็จแลวลงมายืนหันหนาไปทางโตะหมู - พระอาจารยนํากลาวบูชาพระรัตนตรัย ทุกคนวาตาม - ประธานยืนท่ีสแตนดรับฟงคํากลาวรายงาน - นักเรียนนั่งพับเพียบ และทุกคนนั่ง ณ ท่ีของตน - ประธานปราศรัยเสร็จนักเรียนรับวา “สาธุ” (ไมปรบมือ) - พิธีกร “นักเรียนทําความเคารพ” นักเรียนท้ังหมดกราบ ๑ ครั้ง นั่งตัวตรง

เสร็จพิธีฝกซอม หมายเหต ุ วิธีกราบประธานและคําพูดของนักเรียนท่ีแนะนํามานี้ใชสําหรับประธานท่ีเปน

ฆราวาส (ถาประธานเปนพระใหนักเรียนกราบเพญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง) พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร

๑. เปดเพลงพระรัตนตรัย ๒. ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ๓. ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล นั่งอาสนะ ๔. นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ ๕. ตัวแทนนักเรียนอาราธนาศีล ทุกคนรับศีลพรอมกัน ๖. ประธานยืนท่ีสแตนด ฟงคํากลาวรายงาน

Page 18: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๘ ๗. ผูรับผิดชอบโครงการกลาวรายงาน ๘. ประธานรับรายงานแลวกลาวเปดการอบรม ๙. นักเรียนกวา “สาธุ” นักเรียนกราบประธาน

พิธีมอบตัวเปนศิษย เตรียมสถานที ่- จัดเกาอ้ีเทาจํานวนพระอาจารยและครูอาจารยตั้งเปนแถวตรงหนานักเรียนซ่ึงนั่งเรียบรอยอยูกอนแลว ในหองประชุม (สําหรับครู ใชเส่ือปูนั่ง หรือนั่งบนเกาอ้ี)

เตรียมบุคคล - เตรียมเด็กนํากลาวมอบตัวเปนศิษย ๑ คน เตรียมอุปกรณ - เตรียมดอกไมใสพานเทาจํานวนกลุมนักเรียน ท่ีแบงไวใหตัวแทนกลุมเปนผูมอบใหพระอาจารย และครูอาจารย

ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย - คณะพระอาจารยและครูอาจารยนั่งเกาอ้ี - นักเรียนกราบ ๓ ครั้ง - พระอาจารยกลาวถึงความสัมพันธระหวางครูกับศิษย - ตัวแทนนักเรียนนํากลาวมอบตัวเปนศิษย - นักเรียนนั่งตัวตรงหลับตาระลึกถึงพระคุณของคุณครู (เปดเพลงพระคุณท่ีสาม) - ตัวแทนกลุมนักเรียนประเคนพานดอกไมและพานธูปเทียนแพ - นักเรียนท้ังหมดกราบ ๓ ครั้ง - รับศีล ๕

ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย พูดโนมนาวใหนักเรียนซาบซ้ึงในพระคุณของแม เจริญสุขคณะครูอาจารย นักเรียนท่ีรักทุกคน พระอาจารยรูสึกดีใจมากท่ีไดเห็นความพรอมเพรียง ของคณะครูอาจารย ตลอดจนนักเรียนทุกคนท่ีมาพรอมกัน ณ ท่ีนี้เพ่ือเขารับการอบรมธรรมะขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เพ่ือเปนดวงประทีปสองแสงสวางนําทางชีวิตใหแกตนเอง นักเรียนทุกคน ชีวิตของคนเรานั้นเลือกเกิดไมได แตทุกคนมีโอกาสท่ีจะเลือกประพฤติดีปฏิบัติชอบได แตเพราะเหตุวานักเรียนมีสติปญญายังไมกลาแข็ง ประกอบกับส่ิงแวดลอมท่ีเลวรายบางประการจึงทําใหการดําเนินชีวิตของนักเรียนแตละคน มีชีวิตท่ีนาเปนหวง คุณครู คุณพอ คุณแม ตลอดจนพระอาจารยมีความรูสึกเปนหวงนักเรียนทุกคนเปนอยางยิ่ง จึงไดจัดการอบรมคุณธรรมจริยธรรมขึ้น ก็ดวย

Page 19: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๙ หมายใจวาจะใหนักเรียนอันเปนท่ีรักไดมีวิถีชีวิตท่ีถูกตอง สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัยปราศจากอันตรายท้ังปวง พระคุณของคุณพอคุณแม เลิศลํ้าหาท่ีสุดมิได เพราะทานรักลูกดังดวงใจจึงมีความเห็นวาการดําเนินชีวิตท่ีขาดธรรมะ ขาดสติปญญา ก็เชนเดียวกันกับเรือท่ีขาดหางเสือจึงไดตัดใจมอบลูกรักมารับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแหงนี้ มาอยูในความดูแลของพระอาจารยและครูอาจารยทุกทาน นักเรียนทุกคน คุณครูเปรียบเสมือนพอแมคนท่ีสองของนักเรียนมีพระคุณตอนักเรียนมาก ครูอบรมส่ังสอนใหศิษยไดรับความรูโดยไมเลือกท่ีรักมักท่ีชัง ตอไปนี้จะใหตัวแทนนักเรียนมากลาวคํามอบตัวเปนศิษยสืบตอไป

- ตัวแทนนักเรียนนําดอกไมธูปเทียนประเคนพระวิทยากร (๒ คน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง)

- ตัวแทนนักเรียนกลาวนํามอบตัวเปนศิษย และยินยอมรับคําส่ังสอนของพระอาจารย - พระอาจารยและครูกลาวรับวา สาธุ คํากลาวนํามอบตัวเปนศิษย (กลาวกอนถวายดอกไมธูปเทียน) กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูป และขอกราบอาจารยทุกทาน นับเปนโอกาสอันดีงามของพวก

ขาพเจาท่ีจะไดรับการอบรมธรรมะอันประเสริฐวันนี ้ชีวิตของพวกขาพเจาตั้งแตเกิดมามีพอแมอุปการะเล้ียงดูไดรับความอบอุนเสมอมา แตบัดนี้พวกขาพเจาเขามารับการอบรมท่ีนี่เพ่ือแสวงหาความด ีในโครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติธรรมเพ่ือพัฒนาจิต

ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจากบานจากพอแมมา แตเพ่ือความดีและม่ันใจในความปรารถนาดีของทานท้ังหลาย ทานยอมเหน็ดเหนื่อย เสียสละเวลามาอบรมส่ังสอนใหพวกขาพเจาเปนคนดี พวกขาพเจาจะตั้งใจรับการอบรมส่ังสอนดวยความเต็มใจดังคํากลอนสอนใจดังนี.้..

ขอประนม กมกราบ ครูอาจารย นมัสการ พระอาจารย ผูส่ังสอน พร่ําฝากฝง สอนศิษย ใจอาวรณ ดวยอาทร หวังศิษย เปนคนด ี วางระเบียบ วินัย ไวแจมแจง จงเขมแข็ง สูชีวิต มีศักดิ์ศร ีสอนใหศิษย ละช่ัว ยึดส่ิงดี เปนไมงาม ประดับชีว ี ใหกาวไกล ดวยดวงจิต มุงมาตร ปรารถนา ขอสัญญา ยึดม่ัน ไมหวั่นไหว จะกราบไหว พระอาจารย สุดหัวใจ

Page 20: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๐องคทาวไท รูเห็น เปนพยาน จะเนิ่นนาน เพียงใด ใจสํานึก นอมรําลึก ในพระคุณ อบอุนผสาน ทานฝกฝน ช้ีแนะให ใจเบิกบาน นิรันดรกาล ขอเทอด พระคุณเอย

ณ โอกาสนี ้ พวกขาพเจาขอปฏิญานมอบกายใจแกทานท้ังหลาย (ขอใหทุกคนโปรดประนมมือ) กลาวตามขาพเจา ดังนี.้.....

เอเต มยํ ภณฺเต อาจริยา อตฺตภาวํ ตุมฺหาก ํ ปริจฺจชามฺ (เอเต มะยัง ภันเต อาจะริยา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจจะชามะ)

ขาแตพระอาจารยและอาจารยผูเจริญ ขาพเจาท้ังหลายขอมอบกายและใจเปนศิษยท่ีดีของพระอาจารยและครูอาจารย ขาพเจาท้ังหลายจะตั้งใจศึกษา เช่ือฟงคําส่ังสอนและปฏิบัติตามดวยความเคารพทุกประการ ดวยสัจจะวาจานี้ขอใหขาพเจาท้ังหลายจงมีแตความสุขความเจริญตลอดกาลนานเทอญ

ตัวแทนนักเรียนนําพานธูปเทียนแพ มอบถวายพระอาจารย รองเพลงพระคุณท่ี ๓ หัวหนาคณะวิทยากร กลาวรับเปนศิษย และใหโอวาท นักเรียนท่ีรักท้ังหลาย ณ บัดนี ้พระอาจารยและคุณครูทุกทาน ยินดีรับนักเรียนท้ังหมดเปนศิษย

ท่ีดีดวยความเต็มใจ ขอใหศิษยทุกทานจงประพฤติตนใหอยูในระเบียบวินัยของการองรม เช่ือฟงคําแนะนําส่ังสอนของพระอาจารยดวยความเต็มใจ มีความสงบสํารวมไมสงเสียงดังรบกวนผูอ่ืน รักใครสามัคคีมีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผเพ่ือน ๆ ในการอบรมดวยกันใหมีความซ่ือสัตยตอตนเองและผูอ่ืนอยูเสมอ สํารวมกายวาจาและใจมีสัมมาคารวะสามัคคีพยายามใฝใจในการอบรม เรียนรู ทําเปน มีวินัย ใจเย็น เห็นแกประโยชนสวนรวมเสมอ

บัดนี้ขอใหนักเรียน ศิษยท่ีรักทุกคน ตั้งใจรับฟงคําแนะนํากติกาสัญญาใจตอไป

สัญญาใจ น อนริยํ กริสฺสามิ

(นะ อะนะริยัง กะริสสามิ) (เราจักไมทําส่ิงท่ีต่ําทราม)

คําปฏิญาณ ๑. ใหกําหนดในใจวา เรามาเขาคายพุทธบุตร เพ่ือฝกฝนตนเองใหเปนคนดี จึงควรพยายามละเวนเรื่องตาง ๆ ทางโลกเสีย มุงประคองจิตใหดําเนินไปในทางธรรม

๒. พยายามสํารวมตนเองท้ังกาย วาจา ใจ ๓. การพูดคุยควรอยูเฉพาะในวงแหงธรรมะ และตามความจําเปนเทานั้น

Page 21: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๑๔. เจริญสติทุกอิริยาบถ ใหรูตัววาขณะนี้กําลังทําอะไรอยู ๕. ลดละทิฐิมานะเดิม ตั้งใจเจริญภาวนาและเจริญเมตตาใหมาก ๖. อดทนตอความยากลําบากทุกกรณ ี๗. เม่ือมีปญหาหรือสงสัยส่ิงใดใหถามวิทยากรผูใหการอบรม ๘. แตงกายสุภาพเรียบรอย เก็บรองเทาใหเปนระเบียบในท่ีกําหนด ๙. ชวยกันทําความสะอาดท่ีพักทุกคน และรักษาความสะอาดในการใชหองน้ํา ๑๐. หามสมาชิกชายหญิง อยูในท่ีลับสองตอสอง ๑๑. มีมารยาทในการรับประทานอาหาร และสุภาพเรียบรอยตอสมาชิกรวมคาย ๑๒. ตรงตอเวลา ๑๓. ขณะมีการฝกฝนกรรมฐาน หามทําเสียงดังเปนอันขาด ๑๔. หามนําอาหารหรือขนม เขาไปรบัประทานในเขตอบรมหรือเก็บไวในหองพัก ๑๕. ขอปฏิบัติอ่ืน ๆ นอกไปจากนี้ใหพิจารณาตามความเหมาะสมแกกาลเทศะ เพศ วัย

ปฏิธานพุทธบุตร จะอดทนขมใจใฝฝกฝน จะขยันสรางตนไมเหหัน จะประหยัดใชจายประจําวัน จะซ่ือสัตยตอกันม่ันไมคลาย จะกตัญูรูบุญคุณทุกทาน จะมีวินัยรวมประสานงานท้ังหลาย จะ ละ เลิก อบายมุข ไมเยี่ยมกราย จวบชีพวายจะทําดีทุกวี่วัน

อดทน ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย กตัญู รูวินัย หางไกลอบายมุข

กติกาการเขาคายพุทธบุตร ๑. เราจะตรงตอเวลา ๒. เราจะสุภาพเรียบรอย ๓. กอนพระวิทยากรบรรยายใหพูดวา “สวัสดีครับ สวัสดีคะ” กราบ ๓ ครั้ง ๔. เม่ือพระวิทยากรบรรยายจบใหพูดวา “ขอบคุณครับ ขอบคุณคะ” กราบ ๓ ครั้ง

Page 22: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๒๕. เม่ือพระวิทยากรบรรยายจบหรือชอบใจ ใหพนมมือกวาคําวา “สาธุ” ไมปรบมือ ๖. เม่ือพูดคุยกับพระอาจารยหรือครูอาจารย เราจะประนมมือทุกครั้ง ๗. เราจะวางรองเทาใหเปนระเบียบ ๘. เราจะไมพูดสงเสียงดังในทุก ๆ สถานท่ี ๙. เราจะมีระเบียบในการเดินแถวและเขาออกหองประชุม หรือทําธุรกิจอ่ืน ๆ๑๐. ขณะรับประทานอาหารจะไมมีการพูดคุยกัน ๑๑. เราจะมีความสุภาพเรียบรอยตอวิทยากร พระอาจารย ครูอาจารยพ่ีเล้ียง ๑๒. เราจะเช่ือฟงและปฏิบัติตามคําส่ังของพระอาจารย ครูอาจารยพ่ีเล้ียงอยางเครงครัด ๑๓. เราจะไมเปนคนเห็นแกตัว พรอมท่ีจะเสียสละทุกเม่ือ ๑๔. เม่ือเห็นคนอ่ืนทํางานเราจะชวยทันที ๑๕. เราจะไมมีการทะเลาะเบาะแวงกัน ๑๖. เราจะพูดคุยกับเพ่ือน ๆ ดวยความสุภาพทุกเม่ือ ๑๗. เราจะไมมีการออกไปนอกสุถานท่ีอบรมกอนไดรับอนุญาต ๑๘. เราจะมีความอดทน อดกล้ันไดในทุก ๆ กรณ ี๑๙. เราจะไมแอบรับประทานอาหารหรือขนมและส่ิงเสพติดทุกชนิด ๒๐. เม่ือเราไมสบายหรือเห็นเพ่ือนไมสบายหรือมีส่ิงใดผิดปกติเกิดขึ้นใหรีบแจงพระอาจารย

หรือครูอาจารยพ่ีเล้ียงทันที ๒๑. เราจะใหความรวมมือและตั้งใจในการปฏิบัติงานเปนอยางดี ๒๒. เส้ือผา ส่ิงของ ๆ ตน ตองมีช่ือหรือเครื่องหมาย เพ่ือปองกันการสับเปล่ียนกัน ๒๓. อยานําส่ิงของมีคามาเขาคายอบรม ถามีใหนํามาฝากครูอาจารยพ่ีเล้ียง ๒๔. เราจะรักษาความสะอาดเรียบรอย และชวยกันรักษาท่ีพักอยูตลอดเวลา

การรับประทานอาหาร

- ใหนักเรียนนําอุปกรณ เชน จาน ชอน แกวน้ํา ฯลฯ มาเรียบรอย - ใหนักเรียนวางอุปกรณไวทางขวามือ ใหเปนแถวตรงกันดูสวยงาม - ใหนักเรียนกราบพระพรอมกัน ๓ ครั้ง - ใหนักเรียนทองพุทธศาสนสุภาษิต คํากลอน เตรียมความพรอม - ใหนักเรียนออกรับอาหารเปนแถวอยางมีระเบียบ - ใหนักเรียนกลุมท่ีไมไดออกรับอาหาร ทองสุภาษิต หรือนั่งสมาธิ แลวแตกรณ ี- นักเรียนรับอาหารมาแลววางไวทางขวามือเปนแถวตรงกัน - ตัวแทนกลุมท่ีมีน้ําใจเอ้ือเฟอเอาน้ําใสเหยือกบริการใหเพ่ือน (ครูท่ีปรึกษาชวยบริการดวยก็ได)

Page 23: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๓- นักเรียนกลาวคําพิจารณาอาหารพรอมกัน (ใชคําปลุกสํานึก กอนรับประทานอาหาร) - พระอาจารยพูดธรรมะหรือประโยชนของอาหารเปนการใหอาหารใจไปดวย - ใครรับประทานอาหารเสร็จกอนใหนั่งตัวตรงหลับตาทําสมาธิ - รับประทานอาหารเสร็จแลวกลาวคําขอบคุณผูมีอุปการะพรอมกัน - พระอาจารยปลอยใหไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ

ปลุกสํานึกกอนรับประทานอาหาร ในการอยูคายพุทธบุตรนั้นเราฝกใหเด็กรับประทานอาหารอยางมีระเบียบเรียบรอยสวยงาม พระอาจารยจึงจัดเด็กออกไปรับอาหารทีละกลุมอยางมีระเบียบ และเม่ือกลับมานั่งท่ีเดิมหมดทุกคนแลว กอนจะรับประทานอาหาร พระอาจารยจะกลาวนําใหวาตาม ดังนี ้

“ขาวทุกจาน อาหารทุกอยาง อยากินท้ิงขวาง เปนของมีคา หลายคนเหนื่อยยาก ลําบากนักหนา สงสารบรรดา คนยากคนจน

ในโลกนี้ยังมีคนท่ีจนยาก แสนลําบากอัตคัดและขัดสน อยากินท้ิงขวางตามใจตน สงสารคนอ่ืนท่ีไมมีกิน

ฉันจะประหยัด ซ่ือสัตยเกื้อหนุน สํานึกบุญคุณ ใหคุมขาวคํา กติกาในการับประทานอาหาร “เราชาวพุทธบุตร รับประทานอาหารดวยความตั้งใจวา ไมดัง ไมหก ไมเหลือ” คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา เม่ือขาพเจาไดชีวิต ไดเลือดเนื้อ จากอาหารม้ือนี้แลว ขาพเจาจะไมลืมพระคุณของผูมีพระคุณ และขอใชกาย วาจา ใจ เปนไปในทางท่ีมีประโยชนแกตนเอง และผูอ่ืนตลอดไป เม่ือกลาวคําอธิษฐานเสร็จแลว พระอาจารยใหนักเรียนออกไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ มีคุณครูคอยแนะนําเด็กอยู ณ ท่ีลางจาน พบครูอาจารยพ่ีเลี้ยง การพบครูอาจารยพ่ีเล้ียง มีจุดประสงคเพ่ือ

๑. ใหรูจักนักเรียนเปนรายบุคคลในกลุมท่ีรับผิดชอบ ๒. ใหนักเรียนนําของท่ีมีคาฝากไวท่ีครูอาจารยพ่ีเล้ียง

Page 24: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๔๓. แนะนําสถานท่ีตาง ๆ ใหนักเรียนรูจัก เชน ท่ีพัก ท่ีรับประทานอาหาร ท่ีอาบน้ํา สถานท่ีเรียนกรรมฐาน เปนตน

๔. เปนท่ีปรึกษานักเรียนขณะอยูคายพุทธบุตร คอยดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน ๕. สนทนาซักถามความเปนอยู และปญหาตาง ๆ ขณะอยูคายพุทธบุตร

การประชุมพระวิทยากรและผูรวมงาน การประชุมพระวิทยากร และผูรวมงาน มีจุดประสงคเพ่ือ

๑. สนทนาถึงกิจกรรมท่ีจัดในแตละวันในเรื่อง ๑.๑ สภาพความสําเร็จการจัดกิจกรรม ๑.๒ ปญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรม ๑.๓ ขอเสนอแนะในการปรับปรุงกิจกรรมในวันตอไป

๒. การนําเสนอกิจกรรมวันตอไปในเรื่อง ๒.๑ การเตรียมการจัดกิจกรรม ๒.๒ ภารกิจความรับผิดชอบในแตละงาน ๒.๓ การเตรียมอุปกรณและของใชในแตละกิจกรรม ๒.๔ การเตรียมบุคลากรรับผิดชอบกิจกรรม ๒.๕ การซักซอมความเขาใจในกิจกรรมตาง ๆ

ธรรมนันทนาการ ธรรมนันทนาการมีจุดมุงหมายเพ่ือใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานมีอารมณสุนทรียในบทเพลง และสุภาษิตคําพังเพย เพลงท่ีนําเสนอในคายพุทธบุตรตองเปนเพลงท่ีปลูกฝงอุดมการณและจิตสํานึกท่ีดีในดานคุณธรรมจริยธรรม

วันท่ี ๑ ของการอบรม เปนเพลงท่ีมีจังหวะและทํานองสนุกสนานเราใจ วันท่ี ๒ ของการอบรม เปนเพลงท่ีรองแลวเกิดความซาบซ้ึงในคุณธรรม วันท่ี ๓ ของการอบรม เปนเพลงท่ีรองแลวเกิดความซาบซ้ึงและประทับใจ และไมมีดนตรี

ประกอบ เนื้อเพลงประกอบกิจกรรมธรรมนันทนาการไดพิมพไวในคูมือนี้แลว การแบงกลุมเรียนตามฐาน

๑. กําหนดสถานท่ีเรียนตามฐาน และเขียนปายช่ือฐานท่ีเรียน ๒. เตรียมอุปกรณและส่ือประจําฐาน เชน เครื่องขยายเสียง และส่ือประกอบการเรียนฐาน ๓. ใหนักเรียนแตละกลุมเดินเรียงแถวไปตามฐานท่ีกําหนด ๔. เม่ือไปถึงในแตละฐานใหนักเรียนปฏิบัติดังนี ้

Page 25: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๕ ๔.๑ ในกรณีวิทยากรเปนพระสงฆใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/

คะ พระอาจารย” แลวกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวยอาการสํารวจ เม่ือจบการเรียนใหนักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ พระอาจารย” แลวกราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง

๔.๒ ในกรณีวิทยากรเปนฆราวาสใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/คะ อาจารย” แลวกราบ ๑ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวยอาการสํารวย เม่ือจบการเรียนใหนักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ อาจารย” และกราบ ๑ ครั้ง กิจกรรมท่ีเรียนตามฐานตาง ๆ รายละเอียดกิจกรรมอยูในภาคผนวก การทําวัตรสวดมนต

- ใชหนังสือสวดมนตแปลฉบับพุทธบุตร (หรือฉบับของสวนโมกข) - นั่งคุกเขาเทพบุตร-เทพธิดา (จนกวาพระอาจารยจะส่ังเปล่ียน) - พระอาจารยจุดเทียนเลมท่ี ๑ ทุกคนประนมมือ - จุดเทียนและธูปเสร็จแลว กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้ง - พระอาจารยท่ีเปนหัวหนาในท่ีนั้นนําสวดมนตไปจนจบ

อานิสงสของการสวดมนต

- ทําใหอานหนังสือคลอง ออกเสียงไดถูกตอง สมองไดรับการพัฒนา - ขับไลความเกียจคราน จิตใจแชมช่ืนเบิกบาน ไมเบ่ือไมเซ็ง กระปรี้กระเปรา) - ตัดความเห็นแกตัวลงได เพราะขณะสวดมนต โลภะ โทสะ โมหะ ไมเกิด - จิตเปนสมาธิ เพราะจิตแนวแนอยูกับบทสวด ไมฟุงซาน จิตเยือกเย็น - ไดปญญาเขาใจความหมายและรูจักหลักคําสอนของพระพุทธเจา - ไดเขาเฝาพระพุทธเจา และถึงพรอมดวย ศีล สมาธิ ปญญา

การเจริญจิตตภาวนา

- ทําวัตรสวดมนตเสร็จแลวนั่งคุกเขากราบ ๓ ครั้ง - พระอาจารยนํากลาวคําสมาทานกรรมฐาน ทุกคนวาตามดังนี ้

คําสมาทานกรรมฐาน อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบัดนี ้ขาพเจาขอมอบอัตตภาพรางกายนี้ แดพระรัตนตรัย เพ่ือท่ีจะเจริญกรรมฐาน ขอใหสมาธิและวิปสสนาญาณ จงบังเกิดขึ้น ในขันธสันดานของขาพเจา

Page 26: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๖ ขาพเจาจักตั้งสติไวในอารมณปจจุบัน เพ่ือท่ีจะใหเห็นอนิจจัง เปนทุกขัง เปนอนัตตา

เพ่ือท่ีจะใหจิตเกิดความเบ่ือหนายคลายกําหนัด เพ่ือท่ีจะใหจิตหลุดพนจากอาสวะกิเลส เครื่องหมักดองสันดาน ณ กาลบัดนี้เทอญ

วิธีนั่งสมาธ ิ- นั่งขัดสมาธิเทาขวาวางบนเทาซาย มือขวาวางทับบนมือซาย นั่งตัวตรง วางใบหนาตรง ดํารงสติเฉพาะหนา มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสต ิ

- กําหนดรูลมหายใจเขา กําหนดรูลมหายใจออก จนสมควรแกเวลา การเดินจงกรม

- การเดินจงกรม คือการเดินกลับไปกลับมาอยางมีสติสัมปชัญญะ - การฝกเดินจงกรม มีวัตถุประสงคเพ่ือฝกสติสัมปชัญญะใหวองไว จนสามารถควบคุมจิตใจใหอยู

- กับการเคล่ือนไหวของรางกาย คือ ใหกายกับใจ อยูรวมกันมีความรูสึกตัวท่ัวพรอมอยูตลอดเวลา

- การฝกเดินจงกรมเช่ือวาไดปฏิบัติตามสติปฏฐานหมวด “อิริยาบถ” และหมวด “สัมปชัญญะ” นับเปนกรรมบานช้ันสูงประการหนึ่ง

อานิสงสของการเดินจงกรม

- ทําใหอดทนตอการเดินทางไกล - ทําใหอดทนตอการทําความเพียร - ทําใหอาหารยอยงาย - ทําใหไมเจ็บปวย - ทําใหจิตเปนสมาธิและตั้งอยูไดนาน

วิธีเดินจงกรม

- พระอาจารยประจํากลุมพาเดิน แยกกันเปนกลุม ๆ - เลือกสถานท่ีเดินใหเหมาะสม - พรอาจารยจัดนักเรียนใหยืนแถวอยาใหแถวยาว ถาหากนักเรียนมากใหจัดเปนหลายแถว

- ใหนักเรียนบริกรรมวา “ยืนหนอ ยืนหนอ ยืนหนอ”

Page 27: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๗- การบริกรรมพูดออกเสียงก็ได หรือจะบริกรรมในใจก็ได แตทําใหเหมือนกันท้ังกลุม

- เม่ือบริกรรม”ยืนหนอ ๆ” ๓ ครั้งแลว ใหยกเทาขึ้นพรอมกับบริกรรมวา “ขวา” ยางเทาไปขางหนาพรอมบริกรรมวา “ยาง” เหยียบเทาไปพรอมกับบริกรรมวา “หนอ”

- ยกเทาซายขึ้นพรอมบริกรรมวา “ซาย” ยางเทาไปพรอมบริกรรมวา “ยาง” เหยียบเทาลงพรอมบริกรรมวา “หนอ”

- พระอาจารยสอนใหเดินกําหนด “ขวา ยาง หนอ ซาย ยาง หนอ” ไปเรื่อย ๆ

- เม่ือเห็นวาเดินมาไกลพอสมควรแลว (ประมาณ ๑๕ กาว) ก็ยืนพรอมบริกรรมวา “ยืนหนอ ยืนหนอ ยืนหนอ” แลวหมุนตัวกลับไปทางขวา พรอมกับบริกรรมวา “กลับหนอ กลับหนอ กลับหนอ” รวม ๓ ครั้ง กลับเสร็จแลว ยืนบริกรรมวา “ขวา ยาง หนอ ซาย ยาง หนอ” ฯลฯ

- ปฏิบัติอยูอยางนี้จนกวาจะสมควรแกเวลา

คําแผเมตตา สัพเพ สัตตา สัตวท้ังหลายท่ีเปนเพ่ือนทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันท้ังหมดท้ังส้ิน อะเวรา โหนต ุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรซ่ึงกันและกันเลย อัพพะยาปชฒา โหนต ุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดอาฆาตพยาบาทซ่ึงกันและกันเลย อะนีฆา โหนต ุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีความทุกขกายทุกขใจเลย สุข ีอัตตานัง ปะริหะรันต ุ จงมีความสุขกาย สุขใจและรักษาตนใหพนทุกขภัยท้ังส้ินเถิด กิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร

- เตรียมเทปเพลง และวิทยุเทป (เพลงพระรัตนตรัย ลมพัดชายเขา พุทธประวัต)ิ - เตรียมติดเครื่องขยายเสียงใหเรียบรอย - เตรียมโตะหมูบูชา ดานหนามีพระพุทธรูป จัดดอกไมรอบ ๆ พระพุทธรูป - เตรียมถาดทรายขนาดใหญตรงกลางถาดวางเทียนพรรษาขอบถาดทรายประดับดอกไม - เตรียมเทียนขนาดยาว ๖ นิ้ว ใหพอกับจํานวนคร ูนักเรียน และผูรวมกิจกรรม - เลือกตัวแทนนักเรียน ๑ คน กลาวคําม่ันสัญญา - นิมนตพระสงฆนั่งเปนแถว เบ้ืองหนาพระพุทธรูป - จัดนักเรียนนั่งเปนแถว เวนชองทางเดินใหเดินไดสะดวก

Page 28: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๘ การเร่ิมกิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร นิมนตพระสงฆท่ีเปนประธานจัดกิจกรรมยืนหรือนั่งบนท่ีท่ีจัดไวและกลาวแกนักเรียนดังนี ้ เจริญสุขนักเรียน ผูใฝในธรรมท้ังหลาย ณ โอกาสนี้ เราจะไดประกอบพิธีอันศักดิ์สิทธ์ิซ่ึงจะมีความหมายตอจิตใจของเรามาก ขอใหนักเรียนอยูในความคิดท่ีสงบ สํารวมกาย วาจา ใจ นอมไปสูคุณงามความด ี(ไฟคอย ๆ ดับหมดทุกดวงเหลือเทียนคูบนโตะหมูบูชา) ขออาราธนาคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ บารมี..........และเทวดาผูมีสัมมาทิฏฐิท้ังหลาย จงเปนสักขีพยานในการจุดเทียนปญญา ณ กาลบัดนี้ดวยเถิด ขออาราธนาพระ...........ไดโรปดเปนประธานจุดเทียนปญญาจากโตะหมูบูชา นําแสงสวางแหงดวงธรรม มาสูพิธีอันศักดิ์สิทธ์ินี้เถิด (พระคุณเจาผูเปนประธานจุดเทียน เดินมาจุดเทียนเลมใหญ หนาพระประธานพิธี) และ (ดนตร ีองคใดพระสัมพุทธ...๒ ตอน) จกฺขุ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปฺญา อุทปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิ (จักขุ อุทะปาทิ ญานัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ) ดูกร ภิกษุท้ังหลาย จักษุเกิดขึ้นแลวแกเรา ญาณเกิดขึ้นแลวแกเรา ปญญาเกิดขึ้นแลวแกเรา วิชชาเกิดขึ้นแลวแกเรา แสงสวางเกิดขึ้นแลวแกเรา ในธรรมท่ีเราไมเคยฟงมากอน นักเรียนท้ังหลาย แสงเทียนท่ีปรากฏขึ้น ณ แทนบาขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเปรียบเสมือนดวงตา ปญญาท่ีพระพุทธองคไดทรงตรัสรูและไดทรงกรุณานําดวงตาปญญานั้นสงสวางในจิตใจแกประชาชนชาวโลก ณ บัดนี ้ ขอใหนักเรียนทุกคนจงสงบนิ่งรําลึกยอนหลังไปในอดีต ระลึกถึงประวัติของพระพุทธเจาในสมัยพุทธกาลนั้นเถิด กอนพุทธศักราช ๘๐ ป พระมหาบุรุษไดประสูติจากพระครรภของพระราชมารดาคือ พระนางสิริมหามายา ไดบังเกิดเหตุอัศจรรยแผนดินไหวนั้นเล่ือนล่ันส่ันสะเทือนไปท้ังสามโลก (เสียงฟาผา ...๒ ชวง....สงบลง......เพลงขึ้น) พระมหาบุรุษประสูติแลว เปนศุภนิมิตรอันประเสริฐแกชาวโลก ท้ังปวงเทวดา พรหมท้ังหลาย อวยพรโปรดปรายดอกไมทิพย...เปนการนมัสการแกพระองค เหลาสรรพสัตวตางราเริงยินด ี โดยท่ัวหนา (เสียงนก...สัตว ๒ ตอน) นักเรียนท่ีรักท้ังหลาย พระสงฆเปนบุคคลแรกท่ีไดรับแสงสวางแหงพระธรรมนั้น ณ โอกาสนี้เปนมงคลฤกษ เปฯนิมิตหมายท่ีดีแลว ขออาราธนาพระวิทยากรไดโปรดจุดเทียนแสงสวางปญญาจากโตะหมูบูชาขององคสมเด็จพระสัมมนาสัมพุทธเจาแดคุณครู และขอใหพระอาจารย และคุณครูไดตอเทียนปญญานี้ใหแกนักเรียนดวย (เปดเพลงเบา ๆ ) ตลอดเวลานักเรียนอยางตอเทียนใหกัน ใหตอเทียนกับพระอาจารย (เม่ือสังเกตวาเทียนจุดหมดทุกเลมแลว)

Page 29: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๒๙ นักเรียนเทียนแตละดวงท่ีถูกจุดขึ้นแลวก็ไมตางไปจากชีวิตของแตละคนท่ีอุบัติขึ้นงอกงามขึ้นผานกาลเวลาไปทุก ๆ ขณะ เราเคยคิดบางไหมวา...นั้นคือทางส้ินไปหมดไปของชีวิตพระพุทธองคทรงตรัสวา ทหรา จ มหนฺตา จ เยพาลา เยจ ปณฺฑิตา สพฺเพ มจฺจุวลํ ยนฺต ิ สพฺเพ มจฺจ ุ ปรายนา (ทะหะรา จะ มหันตา จะเยพาลา เยจะ ปณฑิตา สัพเพ มัจจุวะลัง ยันต ิสัพเพ มัจจุ ปะรายะนา) คนหนุม คนแก คนโง คนฉลาด ยอมไปสูอํานาจแหงความตาย มีความตายเปนเบ้ืองหนาดวยกันท้ังหมด กาลเวลายอมกลืนกินสรรพสัตวท้ังหลายพรอมกันไปกับตัวของมันเอง ท้ังเด็กท้ังผูใหญ คนพาล บัณฑิต ท้ังคนร่ํารวย ยากจน ลวนเดินทางไปสูความตายท้ังหมด มองดูแทงเทียนและเปลวเทียนมีอะไรเปนแงคิดท่ีนอมชีวิตของเราไปเปรียบเทียบไดบาง ในขณะท่ีเทียนไดละลายตัวเองดวยแสงไฟนั้น เปรียบเสมือนชีวิตของพวกเราทุกคนกําลังจะหมดไปส้ินไป ชีวิตเปนของไมเท่ียง เราไมรูกาลเวลาของชีวิตเรา แตในขณะนี้เราไดเคยทําความดี ความช่ืนใจเพ่ือท่ีจะฝากไวในความทรงจําของพอแม ครูอาจารยบางหรือไม ขอใหนักเรียนทุกคนอธิษฐานตอหนาดวงเทียนวา เปลวเทียนที่สงแสงสวางแจงละลายตน ชีวิตของเยาวชน สลายตนเพ่ือทําความด ี เทานี้ก็เปนความภูมิใจในปณิธานของเราแลว ขอนิมนตพระคุณเจาครูอาจารย นักเรียนปกเทียนดวยความสงบ ไมใหมีเสียงพยายามปกเทียนใหตรง ใครปกแลวใหถอยหางออกไป ขอใหนักเรียนทุกคนนั่งพับเพียบใหเรียบรอย ทําจิตใหสงบเพงมองไปท่ีดวงเทียน ดวงเทียนกลุมนอย ๆ มารวมกันใหความสวาง ขจัดความมืดมนไดฉันใด อุปสรรคของชีวิตแตละคนท่ีมีมากมายนั้นก็สามารถขจัดไปดวยสติปญญา ฉันนั้นกันเดียวกับการจัดกิจกรรมเขาคายคุณธรรมจริยธรรมในครั้งนี้ ดวยความสามัคค ี ดวยความสามารถ จัดงานไดเรียบรอยงดงาม ก็เกิดจากสติปญญาของคณะครูอาจารยทุกทาน นกัเรียนทุกคนขอใหทานจงขจัดปญหาตาง ๆ ดวยสติปญญา จงชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันเปรียบเสมือนเทียนแตละดวงท่ีมารวกันใหแสงสวางฉันนั้น งานนี้จัดขึ้นเพ่ือเยาวชน ณ โอกาสนี้ ขอใหตัวแทนของนักเรียนไดมากลาวถึงความรูสึกในการมาอยูพุทธบุตรนี ้

Page 30: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๐ตัวแทนนักเรียนมากลาวคํามั่นสัญญา

กราบนมัสการพระอาจารยท่ีเคารพ คณะครูอาจารยทุกทานและเพ่ือนนักเรียนผูปฏิบัติธรรมท้ังหลาย แสงสวางอันเรืองรองและเจิดจา เพ่ือขจัดความมืดในขณะนี ้ แสงอันออนนุมนี้นาทัศนายิ่งนัก เปรียบไปแลวก็เปนเชนปญญาของพวกเรา ท่ีแจมแจงเพ่ือขจัดอวิชชาความโงเขลาใหหมดไปฉันนั้น การอบรมคุณธรรมจริยธรรมในครั้งนี้ พวกเราไดรับปญญาและแสงสวาง อันเปนอริยทรัพยอันประเสริฐในชีวิต ชีวิตของพวกเรานั้นเคยจมอยูในอวิชชาแหงความโงเขลา ตกอยูในหวงมายาของโลกมานานแสนนานแลว บัดนี้พวกเราไดรับดวงตา แสงสวางในธรรมแลวนับวาเปนโชคดีของพวกเราเปนอยางมาก ตอแตนี้ไปพวกเราจะใชชีวิตตอไปในภายภาคหนาดวยความม่ันใจ มีธรรมะเปนเครื่องพยุงจิตใจในการดําเนินชีวิต การใชชีวิตท่ีมีความสะอาด สงบ สวาง มีเมตตาเปนท่ีตั้ง เปนชีวิตท่ีมีประโยชนกอใหเกิดความสงบสุข ท้ังแกตนเองและผูอ่ืน ขอใหพวกเราท้ังหลาย ตั้งอยูในคําม่ันสัญญาดังตอไปนี ้

ขอตั้งจิต ปณิธาน อยางแรงกลา ดวงใจขา จะคงม่ัน ไมหวั่นไหว จะนับถือ สักการะ พระรัตนตรัย จะปฏิบัติ ตามหลักธรรม คําสอนส่ัง เพ่ือเหนี่ยวรั้ง ดวงใจ ไมผันผวน แมจะมี ผูใด มุงใฝชวน จะไมดวน เปล่ียนใจ ไปศรัทธา จะแนวแน ซ่ือตรง องคพุทธะ ดวยสัจจะ ยึดม่ัน พระศาสนา จะทําทาน รักษาศีล ภาวนา ขอสัญญาถือไตรรัตน เปนฉัตรชัย มาเขาคาย คุณธรรม นอมนําจิต

ส่ิงใดผิด พรอมปรับปรุง และแกไข เพ่ือเล่ือนช้ัน ตัวเอง สูงขึ้นไป ยกตัวให สูงคา กวาคําคน ตอไปนี ้ มีช่ือวา พุทธบุตร ไมยั้งหยุด ตั้งใจ ใฝฝกฝน จะรักเกียรต ิ และศักดิ์ศร ี ความดีตน

Page 31: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๑เพ่ือทุกคน เอาอยาง ในทางด ีจักเดินตาม รอยบาท องคพระพุทธ พุทธบุตร ยอมตระหนัก ซ่ึงศักดิ์ศร ีไมกระทํา ส่ิงต่ําทราม ความอัปรีย จงทําด ี ดวยกาย วาจาใจ จะชวยเหลือ ผูอ่ืน ใหพนทุกข เปนความสุข ของชีวิต ท่ีแจมใส ทําความด ี โดยไมหวัง ผลจากใคร แตทําเพ่ือ ยกจิตใจ ใหถึงธรรม สุดทายนี้ ลูกขอย้ํา ในคําม่ัน ตามปณิธาน อยาม่ันใจ ไมถลํา แมมีทุกข ปางตาย ไมท้ิงธรรม รักษาความ เปนพุทธบุตร สุดชีพเอย

บัดนี ้ขอใหพวกเราท้ังหลายตั้งจิตอธิษฐานรวมกัน (ประนมมือขึ้น วาตามขาพเจา) ขาพเจาท้ังหลายถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ เปนสรณะท่ีพ่ึงตลอดชีวิต

ขอเปนบุตรท่ีด ี ของบิดามารดา ขอเปนศิษยท่ีด ี ของพระอาจารย และอาจารย ขอเปนเพ่ือนท่ีด ี ของเพ่ือน ขอเปนพลเมืองท่ีด ี ของชาต ิ ขอเปนสาวกท่ีด ี ของพระศาสดา ขอเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ตลอดไป

ขอใชกาย วาจา ใจ ประพฤติตนใหเปนประโยชนท้ังตนเองและผูอ่ืนทุกเม่ือ ขอใชชีวิตท่ีรมเย็นสะอาด สงบ สวาง ช้ีนําทางตลอดไป พระสงฆผูเปนประธานในพิธ ี กลาวตอไปวา นักเรียนมองเห็นดวงเทียนท่ีส้ันลง ๆ ทุกขณะบางไหม เทียนท้ังหลายนี้ก็เปรียบเสมือนพอแม พระอาจารย และนักเรียนท้ังหลายซ่ึงนับวันจะรวงโรยลมหาย เปลวเทียนละลายแทง เพ่ือเปลงแสงอันอําไพ ชีวิตมลายไป เหลือส่ิงใดไวทดแทน

Page 32: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๒ พอแมจะอยูกับเราไมไดนานถาลูกทุกคนประพฤติตนเปนคนช่ัว เปนคนไมดีชีวิตของพอแมก็เรารอนเศราหมอง ตรอมใจ บ่ันทอนชีวิตของทานใหส้ันลงทุกขณะ ถานักเรียนประพฤติตนเปนคนดี เชิดชูวงศสกุลก็เหมือนชุบชีวิตของพอแม ใหสดช่ืนอยูเสมอ ตออายุของทานใหยืนนาน ขอใหทุก ๆ คนจงดําเนินชีวิตอยางมีอุดมคต ิไมสรางปญหาใหกับตัวเองและผูอ่ืน เช่ือฟงพอแม ครูอาจารย นักเรียนท่ีรักท้ังหลาย เบ้ืองตนคือ พระรัตนตรัยอันมีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปนสรณะท่ีพ่ึงสูงสุดของเรา ขออํานาจแหงการจุดเทียนปญญาสูความเปนพุทธบุตรในครั้งนี ้ จงมาเปนแสงธรรม สองสวางในจิตใจของทุก ๆ ทานขอใหทานจงยังประโยชนใหแกตนเอง ผูอ่ืนและประเทศชาติตลอดไป กิจกรรมหนาเสาธง - เตรียมติดตั้งเครื่องขยายเสียงไวเรียบรอย - เตรียมธงชาติผูกไวเรียบรอย - จัดเด็กนักเรียนเขาแถวหนาเสาธง - พระอาจารยพูดปลุกความสํานึกใหนักเรียนเห็นความสําคัญของชาต ิศาสนา พระมหากษัตริย - นักเรียนเชิญธงชาติขึ้นสูยอดเสาตัวแทนนักเรียนนํารองเพลงชาต ิ - พระอาจารยนําแผเมตตา - พระอาจารยนํากราบพระรัตนตรัย - พระอาจารยมอบนักเรียนใหอาจารยท่ีปรกึษา เสร็จพิธี

ปลุกสํานึกหนาเสาธง จุดประสงค

๑. เพ่ือปลุกสํานึกใหรักชาติ เคารพศาสนา เทิดทูนพระมหากษัตริย ๒. เพ่ือใหเขาใจความหมายของสีธงชาต ิ๓. เพ่ือความสามัคคีของหมูคณะ ๔. เพ่ือฝกใหมีระเบียบวินัย ๕. เพ่ือปลุกสํานึกใหทุกคนพัฒนาตนเองใหเปนพลเมืองทีด ี

ความสําคญัของกิจกรรมหนาเสาธง กิจกรรมหนาเสาธงเปนกิจกรรมท่ีบรรพบุรุษไดจัดขึ้นเพ่ือปลุกสํานึกของคนในชาติใหรักชาต ิและภูมิใจในเกียรติและศักดิ์ศรีของตน และใหระลึกถึงสถาบันอันสูงสุด อันเปนท่ียึดเหนี่ยวจิตใจของ

Page 33: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๓คนในชาติ คือ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซ่ึงสถาบันท้ัง ๓ นั้นไดถูกยอมาอยูในผืนธงชาติ ในฐานะเปนสัญลักษณของชาติไทย โดยใช ๓ สี เปนเครื่องหมาย

๑. สีแดง หมายถึง สถาบันชาต ิ ไดรวมเอาความหมายของส่ิงที่มีคายิ่งของชาติมาไวดวยกันโดยยอ ๔ ประการ คือ ๑.๑ ทรัพยากรของชาต ิ ไดแก ผืนแผนดินท่ีมีรูปเปนขวานทอง ทรัพยากรท้ังหมดท่ีอยูใน

แผนดินท่ีเราเคยพูดกันวา “ในน้ํามีปลา ในนามีขาว” ฯลฯ ๑.๒ ประเพณีวัฒนธรรมของชาต ิท้ังหมด เชน

๑.๒.๑ วัฒนธรรมทางคติธรรม ๑.๒.๒ วัฒนธรรมทางเนติธรรม ๑.๒.๓ วัฒนธรรมทางวัตถุธรรม ๑.๒.๔ วัฒนธรรมทางสหธรรม

๑.๓ บุคคลในชาต ิไดแก คนไทยทุกคนท่ีเปนเช้ือชาติไทย และสัญชาติไทย ท่ีดําเนินชีวิตอยูภายใต กฎหมาย ประเพณี วัฒนธรรมอันเดียวกัน

๑.๔ อํานาจอธิปไตยของชาต ิคือ ๑.๔.๑ อํานาจนิติบัญญัต ิ๑.๔.๒ อํานาจบริหาร ๑.๔.๓ อํานาจตุลาการ

๒. สีขาว หมายถึง สถาบันศาสนา อันเปนคําส่ังสอนท่ีใหชนในชาติยึดถือปฏิบัติตามเพ่ือความอยูเย็นเปนสุขรวมกัน สีขาวในผืนธงชาติไทยนั้นบรรพบุรุษมุงเนนใหเปน “พระพุทธศาสนา” เพียงศาสนาเดียววา “เปนศาสนาประจําชาต”ิ พึงเห็นจากบทพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระองคผูทรงคิดรูปแบบธงไตรรงค และทรงใหความหมายแหงสีท้ัง ๓ ในผืนธงไววา “ขอพรํ่ารําพันบรรยาย ความคิดเคร่ืองหมาย แหงสีทั้งสามงามถนัด ขาวคือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ ์ หมายพระไตรรัตน และธรรมะคุมจิตไทย แดงคือโลหิตเราไซร ซ่ึงยอมสละได เพ่ือรักษาชาติศาสนา น้ําเงินคือสีโสภา อันจอมประชา ธ โปรดเปนของสวนองค จัดร้ิวเขาเปนไตรรงค จึงเปนสีธง ที่รักแหงเราชาวไทย ทหารอวตารนําไป ยงยุทธวิชัย

Page 34: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๔ วิชิตก็ชูเกียรติสยามฯ” อนึ่ง จารึกในศาลพระเจาตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม ก็มีขอความบอกไวอยางชัดเจนวาบรรพบุรุษของเราทรงมุงหวังใหประชาชนคนไทยมีพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาต ิ ในจารึกนั้นมีความวา “อันตัวพอชื่อวาพระเจาตาก ทนทุกขยากกูชาติพระศาสนา ถวายแผนดินใหเปนพุทธบุชา แดพระศาสดาสมณะพระพุทธโคดม

ใหยืนยงคงลวนหาพันป สมณพราหมณชีวปฏิบัติใหพอสม เจริญสมถะวิปสสนาพอชื่นชม ถวายบังคมรอยบาทพระศาสดา คิดถึงพอพออยูคูกับเจา ชาติของเราคงอยูคูพระศษสนา พุทธศาสนาอยูยงคูองคกษัตรา พระศาสดาฝากไวใหคูกันฯ” ๓. สีน้ําเงิน หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย อันเปนจุดรวมแหงดวงใจของคนไทยในฐานะ

ผูนําสูงสุดของชนเผาไทยและชาติไทยหรือท่ีเราชาวไทยนิยมเรียกวา “พระประมุขของชาต”ิ คําวา “พระมหากษัตริย” แปลได ๓ ความหมาย ดังนี ้๑. ยอดนักรบ ฉะนั้นพระมหากษัตริยไทยจึงทรงดํารงตําแหนง “จอมทัพไทย”

๒. ผูเปนใหญแหงนา พระองคทรงมีพระราชอํานาจเต็มบริบูรณในผืนแผนดินนี้ เราจึงเรียกพระองควา “พระเจาแผนดิน”

๓. ผูเปนท่ีตั้งแหงความยินดขีองปวงชนความหมายนี้มาจากคําวา “ราชา” ซ่ึงแปลเต็มความหมายไดวา “ผูประกอบกรณียกิจอันเปนที่รักที่ชื่นชมยินดีของปวงชน”

พลเมืองท่ีดีพึงปฏิบัติตอสถาบันท้ัง ๓ ดังตอไปนี ้ รักราชาจงจิตนอม ภักด ี ทานนา รักชาติกอปร กรณี แนวไว รักศาสนกอปรกุญชร สุจริต ทั่วเทอญ รักศักดิ์จงจิตให โลกซอง สรรเสริญฯ

การบําเพ็ญประโยชน การบําเพ็ญประโยชน เปนกิจกรรมท่ีนักเรียนท่ีเขาคายพุทธบุตรไดปฏิบัติตนตามภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย เชน การทําความสะอาดสถานท่ีประชุม บริเวณท่ีพักของวิทยากร และนักเรียน หองน้ํา หองสวม บริเวณสถานท่ีจัดอบรม เปนตน โดยคณะครูอาจารย พ่ีเล้ียงเปนผูกําหนดงานท่ีจะใหนักเรียนแตละกลุมเปนผูชวยปฏิบัติงานในวันท่ี ๒ และ ๓ ของการอบรม

Page 35: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๕ ละครธรรมะ ละครธรรมะ เปนกิจกรรมท่ีใหนักเรียนแสดงในคืนวันท่ี ๒ ของการอบรม โดยใหนักเรียนเปนผูคิดเรื่องท่ีจะแสดง วางแผนเตรียมการแสดง จัดหาเครื่องแตงกายของใชท่ีหาไดงายในทองถ่ิน และเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง มีครูอาจารยพ่ีเล้ียงประจํากลุมเปนท่ีปรึกษา เรื่องท่ีนํามาแสดงละครธรรมะใหพิจารณา ๔ พุทธบุตร เชน

๑. ความสนใจใฝรูและสรางสรรค ๒. ความมีน้ําใจ ๓. ความมีวินัย ๔. ความเปนไทย คณะพระวิทยากรและวิทยากร ประสานงานคณะผูจัดเตรียมของขวัญใหนักเรียนท่ีแสดงทุก

กลุม การอภิปรายเร่ืองศิษยดีมีคุณธรรม

- ใหเลือกตัวแทนนักเรียน กลุมละ ๑ คน เพ่ือเปนผูอภิปราย - จัดพิธีกร ๑ คน เปนผูนําการอภิปราย และรวมสรุปสาระท่ีไดรับ - จัดโตะและเกาอ้ีในรูปการอภิปราย ๕ ท่ีนั่ง - จัดเตรียมเครื่องขยายเสียงพรอมเครื่องพูด ๒ จุด - ประเด็นการอภิปรายใหครอบคลุมคุณธรรม ดานความใฝรูและสรางสรรค ความมีน้ําใจ

ความเปนไทย ความมีวินัย และการบริโภคดวยปญญา โดยเปดโอกาสใหนักเรียนผูฟงไดรวมแสดงความคิดเห็นดวยตามความเหมาะสม การเขยีนเรียงความ

- การเขียนเรียงความ ใหแบงนักเรียนออกเปน ๔ กลุมใหญ แตละกลุมแบงเปน ๒ กลุมยอย เลือกเขียนเรียงความเรื่อง พระคุณของคุณพอคุณแม ๑ กลุม และพระคุณของคุณครู ๑ กลุม การเขียนเรียงความส่ิงท่ีคํานึงถึงคือ การเขียนจากความรูสึกท่ีกล่ันกรองมาจากใจไดอยางซาบซ้ึง

- ใหครูอาจารยพ่ีเล้ียงคัดเลือกเรียงความท่ีนักเรียนเขียนสงพระอาจารยวิทยากรหรือวิทยากร โดยคัดเลือกเรื่องละ ๓ ฉบับ จัดอันดับท่ี ๑ ๒ และ ๓ พระคุณของคุณพอคุณแม ๓ ฉบับ พระคุณของคุณครู ๓ ฉบับ รวม ๖ ฉบับ

- ใหเตรียมกระดาษเขียนเรียงความ พรอมปากกาหรือดินสอ ใหนักเรียนทุกคน หรือใหนักเรียนเปนผูเตรียม

Page 36: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๖ การสนทนาธรรม

- นิมนตพระสงฆท่ีเปนพระวิทยากรจํานวน ๔-๘ รูป เพ่ือสนทนาธรรมกับนักเรียน - การสนทนาธรรมใหนักเรียนตั้งคําถามทีเกี่ยวกับธรรมะท่ีเรียนในฐาน หรือขอธรรมท่ีสงสัยและตองการคําตอบ

- แบงนักเรียนเปนกลุมยอย ๔-๕ กลุม ตามกลุมของนักเรียน ใหนั่งลอมพระวิทยากรเปนรูปวงกลม พระสงฆนั่งบนเกาอ้ีตรงกลาง

- ถานักเรียนไมถามคําถาม พระวิทยากรโดยตรง ครูอาจารยพ่ีเล้ียง อาจเตรียมกระดาษแผนเล็ก ๆ ใหนักเรียนเขียนถามและรวมสนทนาก็ได

- ถาไมสะดวกท่ีจะจัดแบงนักเรียนเปน ๔-๘ กลุม อาจจัดเปนกลุมใหญกลุมเดียว โดยมีพระวิทยากร ๒-๔ รูป เปนผูตอบปญหาธรรมของนักเรียน

พิธีอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม

การเตรียม ๑. เตรียมสถานที่และอุปกรณ

๑.๑ จัดเกาอ้ีเทาจํานวนครูตั้งดานหลังหรือดานขางหอประชุม ๑.๒ จัดเกาอ้ีเทาจํานวนพระอาจารยตั้งดานหนานักเรียน ๑.๓ จัดหองประชุมโดยเวนตรงกลางไวสําหรับครูนั่ง ๑.๔ โตะหมูบูชาตั้งไวตรงจุดศูนยกลางเวทีดานหนา ๑.๕ เตรียมเทปเพลงท่ีจําเปนตอกิจกรรม ๑.๖ เตรียมกระดาษแผนเล็ก ๆ สําหรับเขียนสารภาพความผิด ๑.๗ เตรียมบาตรและเทียนสําหรับจุดเผากระดาษ

๒. เตรียมบุคคล

๒.๑ ตัวแทนครูฝายอาหารแสดงความรูสึก ๒.๒ ตัวแทนนักเรียนแสดงความประทับใจในการอยูคาย ๒.๓ ตัวแทนครูกลาวถึงศิษยท่ีครูปรารถนา ๒.๔ ตัวแทนครูทําหนาท่ีแทนแมอานบทกลอนของแม

ขั้นตอนพิธ ี

- จัดนักเรียนเขาท่ีนักเรียบรอย - ครูอาจารยนั่งเกาอ้ีท่ีจัดไว

Page 37: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๗- พระอาจารยนั่งเกาอ้ีท่ีจัดไว - พระอาจารยดําเนินการบรรยายสรุปการอยูคาย - เชิญตัวแทนครูอาจารยหญิงตัวแทนแมอานบทความแสดงความรูสึก - ตัวแทนนักเรียนอานบทความแสดงความรูสึกจากการเขาคายพุทธบุตร - เชิญครูเดินเขามานั่งระหวางกลางนักเรียน - นักเรียนชนะการประกวดอานเรยีงความพระคุณคร ู- สรภัญญะบทเคารพคุณคร ู- นักเรียนชนะการประกวดอานเรียงความพระคุณของแม - ใหนักเรียนเขียนส่ิงท่ีเคยกระทําความผิดพลาดตอพอแมครูอาจารยและเพ่ือนนักเรียน - พระอาจารยบิณฑบาตกระดาษเขียนการกระทําผิด - เรียกใหนักเรียนท่ีสมัครใจจะสารภาพความผิดตอท่ีประชุมออกมากลาวสารภาพ ๓-๕ คน - ทําพิธีเผากระดาษคําสารภาพ - นักเรียนทุกคนกลาวคําปฏิญาณอธิษฐานจิตจะไมทําความช่ัว จะทําแตความด ีและกลาวคําวา

“ชิต ํเม เราชนะแลว” - มอบวุฒิบัตร - ประธานกลาวมอบศิษยคืน - ผูบริหารโรงเรียนหรือผูแทนกลาวรับศิษยคืน - เชิญประธานจุดเทียน ธูป กลาวคําปราศรัย ปดการอบรม - พระอาจารยกลาวนําบูชาพระรัตนตรัย - ทุกคนยืนตรงรองเพลงสรรเสริญพระบารมี

กิจกรรมอธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม

- นักเรียนนั่งเปนแถวหันหนาสูตรงกลาง เวนชองกลางหองประชุมไวใหครูอาจารยเดินมานั่งตอหนานักเรียน

- ตัวแทนนักเรียนสวดบทเคารพคุณคร ู(หัวหนา) ปาเจรา จริยา โหนต ิ คุณุตตะรา นุสาสะการ

ขาขอประณตนอมสักการ บุรพคณาจารย ผูกอรปเกิดประโยชนศึกษา ท้ังทานผูประสาทวิชา อบรมจริยา แกขาในกาลปจจุบัน ขาฯ ขอเคารพอภิวันท ระลึกคุณอนันต ดวยใจนิยมบูชา

Page 38: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๘ ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา ปญญาใหเกิดแตกฉาน ศึกษาสําเร็จทุกประการ อายุยืนนาน อยูในศีลธรรมอันด ี ใหไดเปนเกียรติเปนศร ี ประโยชนทว ีแกชาติ และประเทศไทย เทอญ

(หัวหนา) ปญญา วุฒฺฒ ิ กเรเตเต ทินฺโนวาเท นมามิหํ (ปญญา วุฒฒิ กะเรเตเต ทินโนวาเท นะมามิหัง)

- ใหอาจารยเดินเปนแถวตรงกลางชองท่ีเวนไวแลวนั่งเม่ือสรภัญญะบทเคารพคุณครูจบ - นักเรียนกราบคุณคร ู๑ ครั้ง - ดนตรีเพลงพัดชายเขาเบา ๆ - หัวหนาพระวิทยากรบรรยายเรื่อง พระคุณของคุณคร ูลูก ๆ ท่ีรักทุกคน ขณะนี้ ณ เบ้ืองหนาของลูกท่ีรักทุกคน คือ คุณครูผูซ่ึงทานเสียสละกําลังกาย

กําลังใจ ความอดทน พยายามในการจัดกิจกรรม เขาคายอบรมคุณธรรมจริยธรรมขึ้นในครั้งนี ้พระคุณของคุณครูมีมากลนเหลือท่ีจะพรรณนา ทานอบรมส่ังสอนศิษยดวยใจเมตตาปรารถนา

ท่ีจะใหลูกศิษยอันเปนท่ีรักของทุกคน ไดประสบความสําเร็จในการเรียนรูมีความประพฤติท่ีดีงามเปนท่ีช่ืนชมแกพอแมและบุคคลท่ัวไป ครูจะเสียใจมากท่ีสุด ถาลูกศิษยประพฤติช่ัวไดรับการสาปแชงจากบุคคลท้ังหลาย และครูจะปล้ืมใจจนน้ําตาคลอด ถาลูกศิษยของครูมีความเจริญกาวหนาประสบความสําเร็จดีเดนกวาคนอ่ืน ครูจะรูสึกอยางไร

พอแมหวังพ่ึงพาเจา ครูเลาหวังเจาสรางช่ือ ชาติหวังกําลังฝมือ เจาคือความหวังท้ังปวง ความหวงใยของครูนั้น ลูกศิษยมักมองไมเห็น ครูอาจารย เปรียบเสมือน ทิศเบ้ืองขวา ใหวิชา อบรม บมนิสัย ดวยเมตตา กรุณา จากดวงใจ เหนื่อยแคไหน ก็ไมบน ทนสอนไป บางครั้ง ก็ดุดา วาเฆ่ียนต ี หวังศิษยมี อนาคต อันสดใส เปนกําลัง ของชาต ิ เติบโตไป ศิษยจําไว อยาได ลืมบุญคุณ ครูดุดาวากลาวบางครั้งใชถอยคํารุนแรง เพ่ือจะใหลูกศิษยจดจํา บางครั้งครูจําตองลงโทษเพ่ือ

เข็ดหลาบ วาอยาทําอยางนี้นะลูกนะมันไมด ี บางครั้งศิษยเกลียดครู แตครูจะเกลียดลูกศิษยของครูได

Page 39: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๓๙ อยางไร คําวาลูกศิษยหมายถึงศิษยท่ีครูรักเสมือนลูก เฝาอบรมส่ังสอนโดยไมเลือกท่ีรักมักท่ีชัง ความหวงใยท่ีครูมีตอศิษยนั้นมีมากมายสุดจักคณานับ

หวงอะไรไหนเลาเทาศิษยรัก หวงวาจักเติบใหญไรสมอง หวงวาจักคบใครไมไตรตรอง หวงวาจักคึกคะนอง ลําพองใจ ครูหวงใยลูกศิษยของครูเหลือเกินหวงวาจะเดินทางผิด พาใหหมดอนาคต ศิษยจะรูไหนวายาม

ใดท่ีครูมองเห็นศิษยของครูตาดํา ๆ เรียนอยูซํ้าช้ัน ครูจะรูสึกอยางไร ครูอาจารย เปรียบชาง สรางชีวิต ปรุงแตงศิษย ใหเปนคน ทันสมัย ใหรูคิด ปฏิบัติด ี มีวินัย รูแกไข ใหส่ิงราย กลายเปนด ี คุณครูคือ ผูทํางาน เพ่ือสรางสรรค สรางชีวัน ใหศิษยรัก มีศักดิ์ศร ี หากขาดคร ู อยางพึงหวัง เด็กจะด ี คุณครูนี ้ จึงสูงยิ่ง เหนือส่ิงใด มองเห็นศิษย เรียงราย ไรเรียงสา อนิจจา เจาจะนึก รูสึกไหม เวนพอแม ผูกพัน รักขวัญใจ จะมีใคร รักเจา เทียบเทาครู ถึงยากแคน แสนเบ่ือ แจวเรือจาง ใชเหินหาง ธรรมะ ดอกนะหน ู มองเห็นศิษย ตาดําดํา อยากค้ําชู ถายความรู มอบศิษย ไมปดบัง สักวันหนึ่ง เธอจะรู วาครูรัก สักวันหนึ่ง คงประจักษ เปนสักข ี สักวันหนึ่ง เธอจะรู วาครูด ี สักวันหนึ่ง จะไดด ี เพราะเช่ือครู จําไวใหดีศิษยท่ีรักท้ังหลาย อยาคิดวาครูไมรัก ครูรักลูกศิษยของครูทุกคน ตอไปนี้ขอใหลูก

ศิษยของครูท่ีเขียนเรียงความเรื่อง “พระคุณของคุณคร”ู ชนะเลิศมาแสดงความรูสึกท่ีมีตอคร ู....................................................นักเรียนอานบทเรียงความจนจบ........................................ ศิษยท่ีรักท้ังหลาย ตัวแทนของเธอไดออกมาแสดงความรูสึกท่ีมีตอครูแลว ขอใหศิษยทุกคน

ลองมองดูท่ีคุณครูทุกคนซิลูก ขณะนี้ศิษยจะเห็นวา คุณครูทุกทานจะมองศิษยดวยสายตาแหงความรักความหวงใย และเมตตา ขอใหศิษยของคุณครูทุกคนคลานเขาไปใกล ๆ ซิลูกเขาไปกราบทาน กราบ

Page 40: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๐คุณครูดวยความสํานึกในพระคุณของคุณคร ู และลูกศิษยของครูคนไหนเคยลวงเกินครูดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี และขณะนี้ลูก ๆ สํานึกผิดแลว กข็อใหเขาไปใกล ๆ คุณครูทุกทาน กราบท่ีตักคุณครูนะลูกนะ ขอขมาคุณคร ู ทําไดไหมลูก พระอาจารยคิดวาไมมีคูคนใดจะลงโทษศิษยของทาน พรอมท่ีจะใหอภัยลูกศิษยของครูไดเสมอ (ครูรับกราบจากลูกศิษย) ศิษยท้ังหลาย ระยะ ๒ คืน ๓ วัน ท่ีศิษยท่ีรักท้ังหลายมาเขาคายพุทธบุตร ปานนี้ผูท่ีรองคอยการกลับของลูก ๆ ดวยความหวงใยก็คือคุณแมของลูก ๆ ทุกคน คุณแมคงเปนหวงลูกมาก เพราะแมทุกคนรักลูกจิตใจของแมติดตามลูกไปเสมอ

ลูกจะไป หนใด ใจแมชวย เหมือนไปดวย คุมครอง ปองเกศี อวยพร ใหลูกพิพัฒน สวัสดี ทุกวันมี แมเปนเพ่ือน อุนเรือนใจ อันมารดา เปนมิตร สนิทนัก ในเรือนจัก หาใครเทียบ มาเปรียบได ยามเราทุกข ทานคอยปลุก และปลอบใจ สุขสดใส พลอยยินดี ปล้ืมปรีดา คนท้ังโลก เกลียดเรา ไมเอาเรื่อง แมมิเคือง แตยังรัก เราหนักหนา ทานสละ ความสุข ทุกเวลา ควรบูชา เปนเนืองนิตย มิตรในเรือน แมรักลูกดวยความบริสุทธ์ิใจ ไมมีความรักอันใดท่ีจะยิ่งใหญเทากับความรักของแมท่ีมีตอลูก

ลูกบางคนหาวาแมไมรัก แตแทท่ีจริงแลวแมรักลูกมาก รักอะไรแนแทเทาแมรัก ผูกสมัครรักม่ันไมหวั่นไหว หวงใดเลาเทาหวงลูกผูกดวงใจ รักแมมอบใหแกลูกอยูทุกครา ยามลูกขื่นแมขมตรมหลายเทา ยามลูกเศราแมโศกวิโยคกวา ยามลูกหายแมหวงดังดวงตา ยามลูกมาแมทุกขหมดลดหวงใย ยามมีกิจหวังเจาเฝารับใช ยามปวยไขหวังเจาเฝารักษา ยามถึงคราลวงลับดับชีวา หวังใหเจาเฝาปดตาเวลาตาย ศิษยท่ีรักท้ังหลายคงทราบแลวใชไหมวา ความรักของแมท่ีมีตอลูกแมชีวิตก็เสียสละใหลูกได

แมยอมยาก ยอมหิว เพียงเพ่ือใหลูกมีความสุข แมทนได ถึงแมจนทนไดไมทุกขหนัก เทาลูกรักทําตนเปนคนช่ัว ลูกกี่คนแมเล้ียงไดไมหมองมัว ไมโศกเศราเทาลูกตัวช่ัวอัปรีย ลูกคนใดกระทํากรรมแกแม สุดเลวแทช่ัวชาส้ินรา ศร ี

Page 41: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๑ ลูกฆาแมลูกตีแมลูกกาลี ลูกไมดีทําแมชํ้าน้ําตาริน น้ําตาแมรินไหลเม่ือลูกราย น้ําตาแมเปนสายเม่ือลูกหม่ิน น้ําตาแมหล่ังลงรดแผนดิน เม่ือไดยินลูกเลวรายคลายทรพี มีไมเทาใชยันหยุดกันราง คลําหาทางแกวงกวัดสัตวรายหน ี ปองกันตัวปองกันตนผลทว ี ดีกวามีลูกรั้นอกตัญู แมทําทุกอยางเพ่ือลูก แมทนไดทุกอยางเพ่ือลูกรักของแมมีความสุขความเจริญกาวหนาเพ่ือให ลูกรักของแมกินอ่ิมนอนหลับ ตอนเม่ือลูกเกิด แมทุกขขนาดไหน ลองฟงแมซิลูก เม่ือลูกเกิด กายแมเจ็บ เหมือนเหน็บศร เม่ือลูกมรณ ใจแมเจ็บ เหมือนเหน็บหนาม ตอนลูกอยู แมชวยชู ใหเดนงามล เห็นลูกทราม แมหวงนัก คอยตักเตือน หากลูกทุกข แมพลอยทุกข ไปกับเจา ลูกหายเศรา แมสุขใจ ใครจักเหมือ แมกับลูก ผูกพันจิต มิตรในเรือน เปนท้ังเพ่ือน เปนท้ังแม มิตรแทเอย ตอไปนี้ขอใหตัวแทนของแมไดออกมาแสดงความรูสึกถึงความรักลูกวามากมายสักปานใด .....................................ตัวแทนแมแสดงความ รูสึก................................... ลูกรักของแมทุก ๆ คน แมคือผูใหชีวิตของลูกวันนีแ้มดีใจมากท่ีมองเห็นลูกท้ังหลายมานั่ง

พรอมหนากันอยูตรงหนา แมปล้ืมใจ ช่ืนใจมาก ท่ีเห็นลูกรักของแมไดเขามาอบรมจริยธรรมและทําตัวเปนพุทธบุตรท่ีด ี ลูกของแมมีความอดทน และอดกล้ัน อยูรวมกันไดอยางนี ้ แมก็เปนสุขใจความรักความหวงใยลูก อยูในใจมากมายนักจนแมไมสามารถจะบอกกับลูกใหหมดในครั้งนี.้..แมตองคอยบดขาวปอน...หยอดน้ําใหนม...ซักผาอุจจาระ...ผาปสสาวะของลูกไมรูกี่ครั้งกี่หน...แมจะยากลําบากเพียงใด แมไมเคยรูสึกเบ่ือไมเคยรังเกียจ ไมเคยเสียใจในการท่ีไดปรนนิบัติลูก...เปนความสุขของแมท่ีไดทําเพ่ือลูก...

ไมวาลูกจะอยูท่ีไหน และทําอะไร จิตใจของแมก็ติดตามไปอยูใกล ๆ ลูกเสมอ แมทนไดเพ่ือลูกรัก

เม่ือลูกปฏิสนธิแมก็ทนอุมทองเหมือนครองไข จะลุกนั่งไมถนัด อึดอัดใจ จนลูกไดยางเขา ๙ เดือนปลาย ยามลูกคลอดออกมาเปนทารก แมก็กลอม กกไกวมิใหหมอง ปอนขาว น้ํา นม สม ประคับประคอง

Page 42: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๒ยุงล้ินปอง ปดใหไมไตตอม ยามลูกปวยชวยรักษา ปอนยาหยูก ความรักลูกยิ่งชีวิตคิดถนอม อดหลับอดนอนคอนรุงพรุงก็ยอม เพราแมพรอมพลีกายใจ ใหลูกตน ลูกรัก...ของแม...แมไดเปดใจใหลูกฟงแลว ขอใหลูกรักของแมทุก ๆ คนจงจําไวนะ ขอใหลูก

ของแมหลับใหสนิท ฟงดูซิวา แมจะมอบอะไรใหกับลูก...(เพลง) ลูกรักของแม...นี่คือส่ิงท่ีแมมอบใหกับลูก...ขอใหลูกจงจดจําไวใหดีนะลูก (พระอาจารยกลาว) ศิษยท่ีรักท้ังหลายคงทราบแลวใชไหมวา แมรักมากมายเหลือท่ีจะพรรณนา

ใหหมดได

คําวา “แม” คํานี้มีความหมาย พระคุณแมมีมากมายหลายสถาน แมเปนไดหลายส่ิงหลายประการ เปนธนาคารเปนพระพรหมเปนรุมไทร เปนผูใหกําเนิดเกิดลูกรัก เปนผูใหท่ีพักพิงอาศัย เปนผูใหความการุณอุนกายใจ เปนผูใหของใชไมขาดมือ ลูกเจ็บไขแมก็ใหการรักษา ลูกโตมาแมก็สงเรียนหนังสือ ลูกตองการตําราแมหาซ้ือ ลูกปรึกษาหารือแมยินด ี แมลําบากตรากตรําทุกค่ําเชา หนักก็เอาเบาก็ไดไมเคยหน ี แมเหน็ดเหนื่อยเม่ือยลาท้ังตาป แมยอมพลีท้ังชีวิตและจิตใจ ก็เพ่ือลูกผูกพันกระสันรัก แมดวงตาแมรักควักใหได เม่ือลูกโศกแมเลายิ่งเศราใจ

Page 43: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๓ ท่ัวแดนไตรไมมีใครดีเกิน พอกับแมสงลูกเรียนเพียรอุตสาห แมฟนฝาทุกอยางไมหางเหิน แมตั้งหนาหาทุนใหไมขาดเกิน แมทําเพ่ือลูกเจริญดวยน้ํามือ แมไมมีเงินทองจะกองให จงตั้งใจพรากเพียรเรียนหนังสือ หาวิชาความรูเปนคูมือ เพ่ือยึดถือเอาไวใชเล้ียงกาย พอกับแมก็มีแตจะแกเฒา จะเล้ียงเจาเรื่อยไปนั้นอยาหมาย ใชวิชาเล้ียงตนไปจนตาย เจาสบายแมกับพอก็ช่ืนใจ

แมเปนอะไรไดหลาอยางดังนี ้คือ แม เปนเหมือนเรือนกาย แม เปนผูใหกําเนิด แม เปนผูใหชีวิต แม เปนผูใหท่ีพัก แม เปนผูใหอาหาร แม เปนผูใหน้ํานม แม เปนผูใหความรัก แม เปนผูใหความอบอุน แม เปนผูใหความรู แม เปนครูคนแรกของลูก แม เปนทาสของลูก แม เปนท่ีปองกันอันตรายของลูก แม เปนเทวดาของลูก แม คือพระพรหมของลูก แม คือพระอรหันตของลูก แม คือรุมโพธ์ิรมไทรของลูก ลูก ๆ ท้ังหลายคงเห็นแลวใชไหมวา แมทําทุกอยางเพ่ือลูก แมยอมตัวเปนทาสของลูกเสมอมา

ตอไปนี้ขอใหตัวแทนของลูก ๆ มาแสดงความรูสึกถึงพระคุณของแมใหกับเพ่ือน ๆ ฟงตอไป (ตัวแทนนักเรียนอานพระคุณของแมจากเรียงความท่ีไดรับคัดเลือก)

พุทธบุตรท้ังหลาย ในชีวิตของเราคงจะเคยทําส่ิงท่ีผิดพลาด ใครเคยรักแกเพ่ือนบาง (ดูจังหวะ) ใครเคยตีนองบาง ใครเคยดาครูในใจบาง ใครเคยดาพอแมในใจบาง บางคนอาจจะเคยขโมยของเพ่ือน ของครู เคยสูบบุหรี่ เคยเลนการพนัน เคยดื่มเหลา นักเรียนเคยบางไหม

Page 44: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๔ ตอไปนี ้ พระอาจารยจะเปดโอกาสใหทุกคนไดเขยีนถึงความประพฤติท่ีไมดีท้ังหลายของ

ตนเองมาใสลงบาตรเปนการใสบาตรความช่ัว ความไมดีทุกอยาง เพ่ือท่ีจะ ละ เลิก ไมประพฤติอีกตอไป (พระวิทยากรรับบิณฑบาตรกระดาษท่ีนักเรียนเขียน)

คําอธิษฐาน

ขาพเจาท้ังหลาย ขอตั้งสัจจะอธิษฐาน ตอหนาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ครูอาจารยและเพ่ือน ๆ ท้ังหลายวา ขาพเจาจะขอเลิกละส่ิงช่ัวรายท้ังหลายท่ีเคยกระทํามา ขอปฏิบัติตามสัจจะวาจาท่ีกลาวไว ถาขาพเจากระทําได ขอใหชีวิตของขาพเจามีแตความเจริญกาวหนา ถาขาพเจาทําไมได ขอใหทานท้ังหลายโปรดตักเตือนและลงโทษไดตามอัธยาศัย ขาพเจายอมรับโทษทุกกรณี ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ชิตํเม เราชนะแลว ชิตํเม เราชนะแลว ชิตํเม เราชนะแลว ตัวแทนนักเรียน กลาวนําขอขมาพระอาจารยและอาจารยวิทยากร

กราบนมัสการ พระอาจารยและคุณครูอาจารยทุกทาน หนูในนามตัวแทนพุทธบุตรทุกคนท่ีอยู ณ ท่ีนี้ กราบเรยีนพระอาจารยและคุณครูอาจารยทุก

ทาน ตลอดเวลา ๓ วัน ๒ คืน ในการอบรมครั้งนี้ หากพวกหนูประพฤติตนไมเหมาะสม ไมวาทาง

กาย ทางวาจา หรือทางใจ ท้ังตอหนาและลับหลัง ท้ังท่ีตั้งใจ หรือไมไดตั้งใจก็ตาม ขอพระอาจารยและคุณครูอาจารยทุกทาน โปรดไดเมตตาใหอภัยแกพวกหนดูวย พวกหนูขอสัญญาวา จะนําความรูและประสบการณท่ีไดรับจากการอบรมครั้งนี้ไปใชใหเกิด

ประโยชนตอไป ตอหนาพระรัตนตรัย หนูขอกราบขอขมา และขอขอบพระคุณพระอาจารย และคุณครูอาจารย

ทุกทาน เม่ือพุทธบุตรกลาวขอขมาเรียบรอยแลว ตัวแทนนําพานธูปเทียนแพไปมอบใหพระอาจารย มอบวุฒิบัตร รางวัลเรียงความ มอบศิษยคืน ตัวแทนโรงเรียนกลาวรับศิษย ประธานพระวิทยากร นํากราบพระ รองเพลงสดุดีมหาราชา เพลงสรรเสริญพระบารมี

Page 45: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๕

กิจกรรมประจําฐาน วันท่ี ๑ ของการอบรม

๑. ศาสนพิธี ๒. มารยาทชาวพุทธ ๓. กฎแหงกรรม ๔. กลุมสัมพันธ

ศาสนพิธ ี

๑. กิจกรรมที่ ๑ ศาสนพิธ ี๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาท ี๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การปฏิบัติตนตามพิธีกรรมตาง ๆ ไดเหมาะสม ๓.๒ การรวมในกิจกรรมของชาต ิศาสนา และพระมหากษัตริย ๓.๓ การมีสวนรวมในการเผยแพรและอนุรักษกิจกรรมของศาสนา

๔. จุดประสงค ๔.๑ อธิบายและสาธิตกิจกรรมท่ีกําหนดทางศาสนพิธีได ๔.๒ สามารถปฏิบัติตนตามศาสนพิธีตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ๔.๓ มีความช่ืนชมในการปฏิบัติตนและบุคคลอ่ืนท่ีปฏิบัติตามศาสนพิธีไดเหมาะสม

๕. แนวคิด ศาสนพิธีเปนหลักปฏิบัติในสวนของพิธีกรรมทางศาสนาท่ีชาวพุทธควรศึกษาและปฏิบัติให

ถูกตองเหมาะสม การปลูกฝงใหเยาวชนไดเรียนรูและปฏิบัติตามหลักศาสนพิธีอยางถูกตองตั้งแตวัยเยาว เปนวิถีทางในการปฏิบัติท่ีจําเปนของสังคมไทย เพ่ือใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของคนไทย และกอใหเกิดความภาคภูมิใจในการปฏิบัติตนตามหลักศาสนพิธี พรอมท่ีจะนําไปเผยแพรไดทุกโอกาส ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ นําภาพกิจกรรมทางศาสนา คือ ภาพการทําบุญตักบาตร การฟงธรรม การถวายของ

พระสงฆ การจัดสถานท่ีทําบุญ (มีโตะหมูบูชาพระ) ฯลฯ มาใหดู แลวซักถามในรูปของการสนทนา - เคยเห็นกิจกรรมดังภาพนี้หรือไม

Page 46: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๖- เคยเห็นท่ีใด - เคยปฏิบัติหรือไม - มีความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนีอ้ยางไร

ขั้นกิจกรรม ๖.๒ ครูกําหนดสถานการณเรื่อง การขึ้นบานใหม ครูและนักเรียนอภิปราย

- นักเรียนมีประสบการณเรื่องนี้อยางไร - เคยพบเห็นและรวมกิจกรรมอยางไร - นักเรียนรูสึกอยางไรกับประสบการณนั้น

๖.๓ ดูนักเรียนศึกษาใบความรู ขั้นตอนการดําเนินการบุญพิธี “การทําบุญขึ้นบานใหม” ๖.๔ แบงกลุมผูเรียนออกเปน ๔ กลุม ศึกษาความรูจากใบความรู จับสลากกลุมละ ๑ เรื่อง

พรอมแจกแบบบันทึกขั้นตอนประกอบการบรรยาย และสาธิต (ใชเวลา ๕ นาที) กลุมท่ี ๑ เรื่อง การจัดโตะหมูบูชา กลุมท่ี ๒ เรื่อง การจุดธูปเทียนบูชา กลุมท่ี ๓ เรื่อง การประเคนของพระ กลุมท่ี ๔ เรื่อง การกรวดน้ํา

ใหนักเรียนท้ัง ๔ กลุมสงตัวแทนออกไปบรรยายและแสดงสาธิตโดยใหนักเรียนทําหนาท่ีผูบรรยาย บรรยายและสาธิตในกลุมสาธิตใหสามาชิกลุมใหญด ู(ครูเตรียมส่ือของจริงเพ่ือประกอบการสาธิต)

แบบบันทึกเรื่อง.................................................. ขั้นตอนการดําเนินการ ๑. .......................................................................... ๒. .......................................................................... ๓. .......................................................................... ๔. .......................................................................... ๕. ..........................................................................

๖.๕ ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจัดลําดับขั้นตอนการทําบุญ “เรื่องการขึ้นบานใหม” การ

เรียงลําดับขั้นตอนกอน-หลังอยางไร โดยขออาสาสมัครจากกลุมตาง ๆ ออกมาเรียงลําดับขั้นตอนในกระเปาผนัง นักเรียนรวมแสดงความคิดเห็นวาถูกตองหรือไม

Page 47: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๗

ขั้นสรุป ๖.๖ นักเรียนและครูรวมกันสรุปแสดงความคิดเห็น

- ความรูสึกในการทํากิจกรรม - ประโยชนท่ีไดรับและการนําไปใช - พิธีการทําบุญท่ีตองใชขั้นตอนดําเนินการในลักษณะเกี่ยวของกัน

กิจกรรมเสนอแนะ ๖.๗ หากมีเวลาใหนักเรียนรองเพลงประกอบศาสนพิธี เชน การกราบเบญจางคประดิษฐ การ

ประเคนของพระ ฯลฯ

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ ภาพพิธีกรรม (กิจกรรม) ทางศาสนา

- การตักบาตร - การประเคน (ถวาย) ของพระ - การฟงพระเทศน (ฟงธรรม) - การกรวดน้ํา - การจัดตั้งโตะหมูบูชา

๗.๒ ใบความรู เรื่อง - การจัดโตะหมูบูชา - การจุดธูปเทียนบูชา

การจัดโตะหมูบูชา

การจุดธูปเทียนบูชา

การประเคนของพระ

การกรวดน้ํา

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

...................................................................

....................................................................

Page 48: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๘- การประเคนของพระ - การกรวดน้ํา

๗.๓ กระดานดํา หรือไวทบอรด พรอมอุปกรณการเขียน/การลบ หรือกระเปาผนัง ๗.๔ ส่ือของจริง

- โตะหมูบูชา - เครื่องไทยธรรม - เครื่องสําหรับกรวดน้ํา

๘. การวัดและประเมินผล

๘.๑ การสังเกตการรวมกิจกรรม ๘.๒ การอภิปราย สรุป และการแสดงความรูสึกนึกคิด

แบบบันทึก คําชี้แจง

๑. ใหนักเรียนทําหนาท่ีผูบรรยาย ดําเนินการบรรยาย ๒. สมาชิกท่ีเปนตัวแทนกลุมออกไปสาธิตประกอบการบรรยาย ๓. แสดงการบรรยายประกอบการสาธิต กลุมละ ๕ นาที

แบบบันทึกเร่ือง.................................................................. ขั้นตอนการดําเนินการ

๑. ................................................................................... ๒. ................................................................................... ๓. ................................................................................... ๔. ................................................................................... ๕. ................................................................................... ๖. ...................................................................................

Page 49: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๔๙ ใบความรู

การจัดตั้งโตะหมูบูชา การจัดตั้งโตะหมูบูชา เปนวัฒนธรรมประจําชาติไทยมานาน แตไมปรากฏหลักฐานแนชัดวามี

มาแตสมัยใด ในปจจุบันงานพิธีตาง ๆ นิยมตั้งโตะหมูบูชาท้ังส้ิน โดยเฉพาะพิธีกรรมทางศาสนา ท่ีเรียกวาศาสนพิธี จัดตั้งโตะหมูบูชา เพ่ือเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป

โตะหมูบูชาพระท่ีนิยมจัดกัน คือ หมู ๕ หมู ๗ และหมู ๙ โดยนับจํานวนโตะท่ีนํามาจัดเปนหลัก

การจัดเครื่องบาตาง ๆ ท่ีนิยมจัดกัน คือ พานดอกไม แจกันดอกไม เทียน (พรอมเชิงเทียน) ธูป (พรอมกระถางธูป) โดยถือคติวา ส่ิงของตาง ๆ ดังกลาว นํามาบูชาพระรัตนตรัย ถาจะพูดถึงความหมายทานผูรูกําหนดไววา ธูป ๓ ดอก หมายถึง พระคุณท้ัง ๓ ของพระพุทธเจา เทียน ๑ คู หมายถึง พระธรรรม และดอกไม (ท้ังพานพุมและแจกัน) หมายถึงพระสงฆ (ซ่ึงทานมาบวชจากตางตระกูลกัน)

ในการจัดโตะหมูบูชานั้น โตะตัวสูงท่ีสุดใชตั้งพระพุทธรูป และตัวท่ีต่ําสุด ตั้งเชิงเทียน ๑ คู มีกระถางธูปอยูตรงกลาง (บนโตะตัวเดียวกัน) ดังภาพ

โตะหมู ๗ ประกอบดวยเครื่องบูชา ดังนี ้กระถางธูป ๑ กระถาง - เชิงเทียน ๕ คู พานดอกไม ๕ พาน - แจกัน ๒ คู

หมายเหต ุ๑) การวางเชิงเทียน ถามีเทียนเพียง ๑ คู ใหวางท่ีโตะตัวท่ีต่ําท่ีสุด โดยวางไวสองขางของ

กระถางธูป (บนโตะเดียวกัน) ๒) การจัดไมเต็ม อาจลดแจกันและเชิงเทียนท่ีโตะหมูท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปก็ได

Page 50: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๐ใบความรู

การจุดธูปเทียนบูชาพระ

การจุดธูปเทียนบูชาพระ ถือเปนจุดเริ่มตนของการประกอบพิธีตาง ๆ โดยเฉพาะพิธีทางศาสนา มีหลักในการถือปฏิบัติดังนี ้

๑. จุดเทียนเลมซายมือของผูจุดกอน ๒. จุดเทียนขวาเมือของผูจุด ๓. จุดธูป ๓ ดอก (เรียงจากซายไปขวามือ) เม่ือจุดเทียน และธูปเสร็จแลว นิยมกราบพระแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง มีขอสังเกตวา

ขณะท่ีประธานในพิธีเริ่มจุดเทียนเลมแรก ทุกทานอยูในท่ีประชุมควรประนมมือ เพ่ือเปนเครื่องหมายวามีสวนรวมในการบูชาพระดวยกัน โดยมีประธานเปนตัวแทนไปจุดบูชา

ในงานสวดพระอภิธรรม (งานศพ) นิยมตั้งโตะหมู เปน ๓ แหง คือ ๑. โตะหมูบูชาพระ (พระพุทธรูป) ๒. โตะหมูบูชาพระธรรม ๓. โตะหมูตั้งศพ การจุดเทียน – ธูปท่ีโตะหมูตาง ๆ นิยมกระทําตามลําดับ ดังนี้คือ จุดท่ีโตะหมูบูชาพระกอนจุด

บูชาพระธรรม แลวจึงจุดท่ีตั้งศพ (ธูปท่ีใชบูชาพระธรรม ๓ ดอก บูชาศพ ๑ ดอก) เม่ือจุดบูชาพระธรรมแลว กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง และเม่ือบูชาศพฆราวาส ๑ ครั้ง (ไม

นิยมกราบถาผูตายมีอาวุโสนอยกวา นิยมนั่งสงบนิ่งช่ัวครู)

Page 51: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๑ ใบความรู

การประเคนของพระ

การประเคนของพระ คือ การถวายของใหพระ มีหลักอยูวาของท่ีจะนํามาประเคนนั้น ตองมีน้ําหนักพอท่ีจะยกได ไมใชหนักหรือใหญโตจนเกินไป ไมใชวัตถุอนามาส (เงินหรือทอง) ถาเปฯอาหารตองถวายตั้งแตรุงเชา จนถึงเท่ียงวัน ทานกําหนดองคประกอบของการประเคนไวดังนี ้

๑. ส่ิงของไมหนักหรือใหญโตเกินไป พอใหคนยกเพียงคนเดียวได ขณะประเคนตองยกใหพนพ้ืนท่ีวางของอยู

๒. ผูเขามาประเคนตองอยูในหัตถบาส คือหางจากพระประมาณ ๑ ศอก ๓. ผูประเคนตองนอมถวายดวยกิริยาแสดงความเคารพ ๔. ผูประเคนจะสงดวยมือ หรือส่ิงของ เชน ทัพพีตักถวายก็ได ๕. พระสงฆผูรับ รับดวยมือถาเปนเพศชาย ใชผารองรับถาเปนเพศหญิง วิธีประเคน สําหรับชายและหญิง พึงปฏิบัติตางกันดังนี ้สําหรับชาย นั่งคุกเขาหรือยืน คือ ถาพระนั่งเกาอ้ีใหยืน ถาพระนั่งกับพ้ืนใหคุกเขา ยกของดวย

มือ ๒ ขาง (ไมนิยมยกมือเดียว) นอมถวายดวยอาการเคารพโดยการกมศีรษะและหลักเล็กนอย เม่ือถวายเสร็จแลว กราบ ๓ ครั้ง หรือ ไหว ๑ ครั้ง (ถายืนประเคน นิยมไหว)

สําหรับหญิง ถาพระนั่งพ้ืน ใหนั่งพับเพียง หรือคุกเขาทาเทพธิดา ถาพระนั่งเกาอ้ี ใหยืนถวายยกส่ิงของดวยความนอบนอม ใหพนพ้ืนท่ีวาง แลวางบนผาท่ีพระปูไว เม่ือประเคนแลวกราบหรือยกมือไหว

ขอควรระวัง คือ ส่ิงของที่ประเคนแลวนั้นหามฆราวาสไปจับตอง หากฆราวาสไปจับตองถือวาเปนการขาดประเคน ตองประเคนส่ิงนั้นเสียใหม จึงจะไมเกิดโทษแกพระสงฆ

Page 52: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๒ ใบความรู การกรวดน้ํา

การกรวดน้ํา คือ การแผสวนบุญกุศลใหบุคคลท่ีเสียชีวิตไปแลว นิยมกราทําท้ังในงานบุญท่ีเปน

มงคล ถือเปนการน้ําใจของผูกรวดน้ํา น้ําท่ีจะนํามากรวดตองเปนน้ําท่ีใสสะอาด ไมมีส่ิงใดเจือปน ภาชนะท่ีใชกรวดน้ํา นิยมใชภาชนะสําหรับกรวดน้ําโดยเฉพาะ ถาไมมีอนุโลมใหใชแกวน้ํา

แทน โดยมีพานเปนภาชนะรองรับน้ํา “อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนต ุญาตะโย

ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จแกญาติท้ังหลายของขาพเจา ขอญาติท้ังหลายของขาพเจาจงมีความสุข” เม่ือกลาวเชนนี้แลวนิยมออกช่ือ (ระบุช่ือ) บุคคลท่ีตั้งใจกรวดน้ําใหเปนพิเศษดวย การกรวดน้ํา รินน้ําเม่ือพระสงฆรูปแรก กลาวคําวา “ยถา วาริวหา...” และหยุดกรวดน้ําเม่ือพระสงฆรูปท่ีสอง สวดวา “สัพพีติโย...” ตอจากนั้นใหประนมมือรับพรจนเสร็จพิธี น้ําท่ีใชกรวดแลว นิยมนําไปรดตนไมใหญ ๆ ไมนิยมนําไปเทในถังขยะหรือท่ีอ่ืน ๆการกรวดน้ําถือเปนพิธีกรรมท่ีแสดงการมีน้ําใจอันบริสุทธ์ิของผูกรวดน้ํา เม่ือทําบุญกุศลแลว

ยังมีจิตใจกวางขวางแผสวนบุญใหผูอ่ืนดวย

Page 53: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๓ เพลงประเคนของพระ

คํารอง ผุสดี ปาลกวงศ ณ อยุธยา ทํานอง ๑. นาคราช

๒. โยสลัม

การประเคน ส่ิงของ ใชสองมือจับ คอยขยับ คลานเขา เขาไปหา

นอมถวาย อัญชลี และวันทา อภิวาท สามครา ทาเบญจางคฯ

Page 54: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๔ ความรูสําหรับครู ศาสนาพิธีที่ควรรู

ความหมาย

ศาสนพิธี คือ แบบอยาง หรือแบบแผนตาง ๆ ท่ีดีงาม ท่ีใชประกอบกิจกรรมในทางพระพุทธศาสนา เรียกวา ศาสนพิธี

ความสําคัญ

ศาสนพิธี มีความสําคัญมาก เม่ือปฏิบัติใหถูกตองทุกขั้นตอนแลว จะทําใหพิธีกรรมตาง ๆ ท่ีประกอบนั้นเปนระเบียบเรียบรอยสวยงาม เปนท่ีตั้งแหงความเล่ือมใสของผูท่ีพบเห็น ทําใหเกิดศรัทธาในการประกอบคุณงามความด ีและเปนการแสดงใหเห็นถึงความเจริญทางจิตใจของผูนับถือพระพุทธศาสนา เปนเครื่องเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของชาวพุทธ ฉะนั้นจําเปนอยางยิ่งท่ีชาวพุทธทุกคนจะตองศึกษาเรียนรู

พิธีโดยสรุป

ศาสนพิธีมีมากมาย ซ่ึงลวนแตนาศึกษาเรียนรูท้ังส้ิน แตเม่ือกลาวโดยสรุปมีอยู ๔ หมวด ดังนี ้๑. หมวดกุศลพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญกุศล ๒. หมวดบุญพิธี วาดวยพิธีบําเพ็ญบุญ ๓. หมวดทานพิธี วาดวยพิธีถวายทาน ๔. หมวดปกิณกะ วาดวยพิธีเบ็ดเตล็ด

บุญพิธีที่จําเปน พิธีทําบุญในพระพุทธศาสนา แบงออกได ๒ ประเภท ดังนี ้๑. ทําบุญงานมงคล คือ ปรารภเหตุดีแลวทําบุญ เชน ขึ้นบานใหม แตงงาน ประสบความสําเร็จ

ตาง ๆ เปนตน ๒. ทําบุญอวมงคล คือ ปรารภเหตุเสีย เชน ทําบุญอุทิศใหผูตาย เปนตน

ผูเกี่ยวของ

การทําบุญท้ังสองประเภทนี้ จะมีผูมาเกี่ยวของอยู ๓ ฝาย ดวยกัน คือ ๑. ฝายเจาภาพ คือ เจาของงานบําเพ็ญบุญ ๒. ฝายแขก คือ ผูมีเกียรติท่ีมารวมทําบุญ ๓. ฝายพระสงฆ คือ พระสงฆท่ีเจาภาพนิมนตมาเปนปฏิคาหก

Page 55: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๕ หนาที่ของเจาภาพ

- จัดเตรียมสถานท่ีประกอบพิธี - นิมนตพระสงฆตามจํานวนท่ีตองการ - ตั้งโตะหมูบูชา พรอมอุปกรณครบชุด - ปูอาสนะและเตรียมเครื่องตอนรับพระสงฆ - เม่ือพระสงฆมาถึง คอยลางเทาและเช็ดเทา - จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย และกราบ ๓ ครั้ง - กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย - อาราธนาศีล รับศีล อาราธนาพระปริตร - นั่งฟงพระสงฆ (สวด) เจริญพระพุทธมนตจนจบ - ถวายเครื่องไทยธรรมและถวายภัตตาหารเพล - พระสงฆอนุโมทนา เจาภาพกรวดน้ํา รับพร - เสร็จพิธีสงพระสงฆกลับ

หนาที่ของแขก

- มาถึงงานใหตรงเวลาท่ีเจาภาพกําหนดไว - มาถึงแลวเขาไปทักทายเจาภาพกอน - เลือกท่ีนั่งในสถานท่ีเหมาะสมกับตน - มีความสํารวมตนดวยด ีไมสงเสียงดังรบกวนสมาธิผูอ่ืน - รวมบริจาคทาน และรวมพิธีธรรมทุกขั้นตอนจนเสร็จ - แตงกายสุภาพเรียบรอย สมควรแกงานนั้น - ไมนําสุราหรือของมึนเมาเขามาดื่มในงานบุญ - ไมเลนการพนัน หรือรบกวนเจาภาพ เพ่ือเปดบอนการพนัน

คําอาราธนาศีล ๕ มะยัง ภันเต, ติสระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ, ยาจามะ ทุตุยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลาน,ิ ยาจามะ ตะติยัมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ, ยาจามะ คําสมาทานศีล ๕

๑. ปาณาติปาตา, เวรมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ

Page 56: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๖๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิก ขาปะทัง, สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ, ๔. กาเมสุมิจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ, ๕. สุราเมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง, สะมาทิยามิ,

วิธีประเคนของพระ การถวายปจจัยตาง ๆ แกพระสงฆ ตองถวายดวยความเคารพ เพราะพระสงฆตั้งอยูในฐานะปูชนียบุคคล เรานําส่ิงของไปถวายทานเพ่ือบูชาในคุณธรรมของทาน จึงตองนอมกาย นอมใจ เขาไปถวายทาน การกระทําดังนี้ เรียกวาประเคน

องคประเคน มี ๕ ประการ ดังนี ้๑. ส่ิงของท่ีประเคนตองไมใหญและหนักเกินไป ๒. ผูประเคนตองอยูในหัตถบาส (ผูประเคนตองอยูหางจากพระผูรับประเคน ๑ ศอก ๓. ผูประเคนตองนอมส่ิงของเขาไปใหดวยอาการเคารพนอบนอม ๔. การนอมส่ิงของเขาไปนั้น จะสงดวยมือก็ได หรือส่ิงอ่ืนท่ีเนื่องดวยกายก็ได ๕. พระภิกษุผูรับประเคนจะรับดวยมือก็ได ถาผูประเคนเปนชาย ถาผูประเคนเปนผูหญิงพระสงฆจะตองใชผาประเคนรับ

พิธีกรวดน้ํา-รับพร การกรวดน้ําเปนพิธีกรรมอยางหนึ่งท่ีชาวพุทธนิยมกระทํา เพ่ืออุทิศสวนกุศลใหแกผูลวงลับ ซ่ึงเปนส่ิงท่ีชาวพุทธไทยนับถือกันมาก น้ําท่ีใสบริสุทธ์ิ เปรียบเหมือนน้ําใจใสบริสุทธ์ิของคนเรา อาการท่ีหล่ังน้ําลงเปรียบเสมือนสายใจ ท่ีหล่ังไหลออกมาใหปรากฏแกคนท้ังหลาย การกรวดน้ําจึงเปนนิมิตรหมายแหงน้ําใจอันบริสุทธ์ิ ท่ีตั้งใจอุทิศสวนบุญกุศลแกผูท่ีลวงลับไปแลว เปนการแสดงถึงความกตัญูกตเวทีตอทานเหลานั้น คํากรวดอุทิศสวนกุศล อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนต ุญาตะโยฯ ขอสวนบุญนี ้จงสําเร็จแกญาติท้ังหลายของขาพเจา ขอญาติท้ังหลายของขาพเจาจงมีความสุข หรือวา ขาพเจาขอตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้ไปใหไพศาล ถึงบิดามารดาและอาจารย ท้ังลูกหลานใกลชิดสนิทกัน คนเคยรวมเคยรักสมัครใคร มีสวนไดในกุศลผลของฉัน ท้ังเจากรรมนายเวรและเทวัญ ขอใหทานจงโมทนาท่ัวหนาเทอญ

Page 57: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๗ผีทั้งหก

ผีท่ีหนึ่ง ขอบสุรา เปนอาจินต ไมชอบกิน ขาวปลา เปนอาหาร ผีท่ีสอง ชอบเท่ียว ยามวิกาล ไมรักบาน รักลูก รักเมียตน ผีท่ีสาม ชอบด ูการละเลน ไมละเวน บารคลับ ละครโขน ผีท่ีส่ี คบคนช่ัว ม่ัวกับโจร หนีไมพน อาญา ตราแผนดิน ผีท่ีหา ชอบเลนมา กีฬาบัตร สารพัน ถ่ัวโปไฮโลส้ิน ผีท่ีหก เกียจคราน การทํากิน มีท้ังส้ิน หกผี อัปรียเอย..... การกรวดน้ํา การกรวดน้ํา หมายถึง การตั้งใจแผนสวนบุญหรือสวนกุศลท่ีไดทําไปใหแกผูท่ีลวงลับไปหรือผูใดผูหนึ่ง โดยการรินน้ําใสภาชนะเพ่ือเปนเครื่องบงถึงเจตนาอุทิศนั้น กิริยาหล่ังน้ําใสภาชนะนิยมทําในหลายกรณี คือ

๑. ใหวัตถุส่ิงของท่ีเปนอสังหาริมทรัพยท่ีเคล่ือนท่ีไมได เชน พระเจาพิมพิสารถวายอุทยานเวฬุวันแดพระพุทธเจาโดยใชน้ําเทหล่ังแทนน้ําพระทัยท่ีบริสุทธ์ิของพระองคแดพระพุทธเจา

๒. ใหส่ิงของท่ีใหญโตซ่ึงไมสามารถหยิบยกใหได เชน พระเวสสันดรทรงหล่ังน้ํามอบชางมงคลแกพราหมณท้ัง ๘ แทนน้ําพระทัยของพระองค

๓. ใชประกาศการตัดสินใจอยางเด็ดเดี่ยว เชนพระนเรศวรทรงหล่ังน้ําประกาศความตั้งใจในการประกาศอิสรภาพ

๔. ใชอุทิศสวนบุญสวนกุศลใหแกผูใดผูหนึ่ง ซ่ึงสวนใหญจะเปนผูท่ีลวงลับไปแลว จะเห็นวา การหล่ังน้ําจะเปนสัญลักษณบงถึงความตั้งใจท่ีบรสุิทธ์ิ น้ําใจท่ีใสสะอาด ดังนั้น น้ําท่ีใชการหล่ังหรือกรวดจึงควรเปนน้ําท่ีบริสุทธ์ิ เปรียบเสมือนน้ําใจของ ผูกรวดโดยสายน้ําท่ีไหลหล่ังลงมานั้นเปรียบเสมือนน้ําใจท่ีไหลหล่ังออกมาใหปรากฏแกคนท่ัวไป การกรวดน้ําท่ีนิยมโดยท่ัวไปมี ๒ วิธี คือ

๑. กรวดน้ําโดยใชน้ําหล่ังลงในภาชนะท่ีรองรับ หากท่ีหล่ังมีปากเล็ก เวลากรวดน้ําใหคอย ๆ รินใสท่ีรองโดยมิใหขาดสาย ไมควรใชมือหรือส่ิงใดกั้นสายน้ําขณะกรวดน้ํา หากท่ีหล่ังมีปากใหญ เชน แกวหรือถวย นิยมใชนิ้วช้ีรองท่ีปากภาชนะเพ่ือใหน้ําไหลเปนสายไมไหลเปรอะนองพ้ืน เม่ือกรวดเสร็จใหนําไปเทไวท่ีโคนไมหรือท่ีกลางแจง หามเท ใสถังขยะ หรือสถานท่ีสกปรก เพราถือวาเปนน้ําใจของผูกรวดน้ําไมควรใหสกปรก

๒. กรวดน้ําโดยไมตองใชน้ํา วิธีนี้นิยมในกรณีท่ีไมไดจัดเตรียมน้ําสําหรับกรวด หรือหาน้ํากรวดไมได ผูกรวดพึงตั้งใจอุทิศสวนกุศลท่ีตนไดทําใหแกผ็ท่ีตองการอุทิศไปใหก็ใชได แมจะไมมีน้ํากรวดก็ยังคงเรียกวา กรวดน้ํา เชนกัน

Page 58: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๘การกรวดน้ํา สามารถทําไดทุกเม่ือหลังการบําเพ็ญบุญกุศลอยางใดอยางหนึ่ง ท้ังในงาน

มงคล และงานอวมงคล ผลท่ีเกิดเพราะหนาท่ีจะพึงเห็น คือ ๑. ความมีน้ําใจกวาง เผ่ือแผของผูกรวดน้ํา เพราะนอกเหนือจากการทําความดีอันเปฯการไดความเบิกบานในขั้นแรกเฉพาะตนแลว ยังมีใจกวางแบงสวนบุญนั้นแกผูอ่ืน อีกดวย หากเปนการใหทานก็ถือวาเปนการให ๒ ตอ

๒. ความผูกพันระหวางผูกรวดน้ํา และผูท่ีถูกอุทิศสวนกุศลไปให ซ่ึงเปนความผูกพันท่ีเกี่ยวโยงตลอดเวลา

สวนผลท่ีเกิดขึ้นท่ีมองไมเห็น คือ หากผูถูกอุทิศใหอนุโมทนาหรือรับสวนบุญท่ีอุทิศไปใหก็จะไดรับผลบุญนี้น เชน เปรตญาติพระเจาพิมพิสาร เปนตน ผูนั้นก็จะพึงยินดี ผูกพันตอผูกรวดน้ําไปให และหากเขาไมไดอนุโมทนาหรือไมรับสวนบุญ สวนบุญก็จะตองเปนของผูกรวดน้ํานั่นเอง เปรียงดังเชนอาหารหรือเครื่องดื่มท่ีนํามาตองรับแขก หากแบกไมรับอาหารหรือเครื่องดื่มนั้นก็ยังคงตกเปนของเจาของอยูดี ฉะนั้น

สวนขั้นตอนการกรวดน้ําเริ่มจากท่ีพระสงฆกลาวอนุโมทนา วา ยถา วาริวหา....ใหเริ่มเทน้ํากรวดพรอมกับตั้งใจอุทิศสวนบุญสวนกุศลไปใหแกผูท่ีตองใหรับ โดยอาจจะระบุช่ือนามสกุลดวยก็ได หรืออาจจะอุทิศโดยไมเจาะจงผูใดผูหนึ่งก็ได สวนคํากรวดน้ําจะกลาวเปนภาษาไทย หรือภาษาบาลีแบบนั้นหรือแบบยาวก็ได

เม่ือพระสงฆสวดบทวา สพฺพีติโย...ใหเทน้ําท่ีเหลือลงในภาชนะรองรับใหหมด แลวตั้งใจรับพรท่ีพระสงฆสวดใหจนกวาจะจบ แลวนําน้ําไปเทในท่ีดังกลาว แลว

ในขณะกรวดน้ําและรับพรไมควรลุกขึ้นไปทํากิจอยางอ่ืน หรือทํากิจอ่ืนใด ควรตั้งใจฟงสวดจนจบ

การอาราธนาศีล

การอาราธนาศีล หมายถึง การขอใหพระกลาวใหศีล ในทางปฏิบัติคือการขอใหพระกลาวนําการสมาทานศีลท่ีตนตองการสมาทาน

การสมาทานศีล หมายถึงการตั้งใจรักษาขอปฏิบัติ ๕ หรือ ๘ ประการ สําหรับฆราวาส และศีล ๑๐ สําหรับสามเณร โดยการกลาวปฏิญาณตอหนาพระภิกษุหรืออาจจะปฏิญาณในใจก็ได แตการปฏิญาณดวยการกลาวออกทางวาจานั้นจะมีผลในดานปฏิบัติมากกวา เพราะเปนการประกาศตอหนาพระภิกษุและผูอ่ืน สวนการกลาวในใจนั้นมิไดผูกมัดตนตอผูอ่ืนจงอาจทําใหลวงละเมิดไดงาย

ขั้นตอนการทําสมาทานศีล มีดังนี ้๑. จุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูป แลวกราบดวยเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง ๒. หันหนามาทางพระภิกษุผูใหศีล กราบ ๓ ครั้ง แลวกลาวคําอาราธนาศีล จบแลวกราบ ๓ ครั้ง

Page 59: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๕๙ ๓. พระภิกษุจะกลาวนํา ดังนี ้๓.๑ กลาวนํานมัสการพระพุทธเจา ๓ ครั้ง (นโม ตสฺส...) (ผูสมาทาน วาตาม ๓.๒ กลาวนําถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ (พุทธฺ สรณฺ...) (ผูสมาทาน วาตามเม่ือพระภิกษุ

กลาวจบทีละตอน) บางแหงกอนกลาวคําถึงพระรัตนตรัย พระภิกษุจะกวาวา “ยมหฺ วทามิ ต ํวเทห”ิ (แปลวา เรากลาวคําใดใหทานกลาวคํานั้น) ผูสมาน ถึงกลาววา “อาม ภนฺเต” และเม่ือกลาวจบคําถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ พระภิกษุจะกลาววา “ติสรณคมน ํนิฎฐิต”ํ (แปลวา การถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะจบแลว) พึงขานรับ ดวยคําวา “อาม ภนฺเต” อีก ๑ ครั้ง

๓.๓ พระภิกษุกลาวนําสมาทานศีล (ศีล ๕ หรือศีล ๘) แตละขอความ (ผูสมาทานวาตามเม่ือพระภิกษุกลาวนําจบทีละขอ)

๓.๔ พระภิกษุกลาวสรุปวา อิมานิ ปฺจ สิกขาปทาน.ิ.. (หากเปนศีล ๘ ใหเปล่ียน “ปฺจ” เปน “อฏฐ”) ผูสมาทานไมตองกลาวตามใหพนมมือฟงดวยอาการสงบ

๓.๕ พระภิกษุจะกลาวสรุปอานิสงสศีลวา (ผูสมาทานไมตองวาตาม) สีเลน สุคต ํยนฺต ิ สีเลน โภคสมฺปทา สีเลน นิพฺพุต ิยนฺต ิ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย หากเปนการสมาทานศีลอุโบสถ เม่ือพระภิกษุกลาวนําสมาทานศีล ๘ จบจะกลาวนําตอไป

วา “อมํ อฏฐงฺคสมนฺนาคต,ํ พุทฺธปฺญตฺตํ อุโบสถํฒ อิมฺจ รตฺต ึอิมฺจ ทิวสํ, สมฺมเทว อุโปสถวเสน มนสกริตฺวา, สาธุก ํอปฺปมาเทน รกฺขิตพฺพาน”ิ ผูสมาทาน พึงกลาวรับวา “อาม ภนฺเต” แลวพระภิกษุจะกลาวสรุปอานิสงสศีลเชนเดียวกับขางตน (สีเลน...)

๓.๖ เม่ือพระภิกษุกลาวสรุปอานิสงสศีลจบ ผูสมาทานพึงกราบดวยเบญจางคประดษิฐ ๓ ครั้ง แลวเริ่มพิธีอ่ืนตอไป

การอาราธนาธรรม

การอาราธนาธรรม หมายถึง การกลาวขอใหพระภิกษุแสดงธรรมใหฟง ปจจุบัน นิยมใชใน ๒ พิธี คือ

๑. พิธีศพ ไดแก การสวดอภิธรรม การสวดมาติกา การสวดแจง ๒. พิธีฟงเทศน พิธีศพ นิยมสวดพระอภิธรรม ๗ คัมภีร หรืออภิธรรมมัตถะสังคหะ ในขณะท่ีตั้งศพบําเพ็ญกุศล

และกอนฌาปนกิจ (เผา) นิยมสวดมาติกาหรือสวดแจงและสวดอภิธรรมหนาไฟ (ขณะเผาศพ) การอาราธนาธรรมในงานศพจะเริ่มตอจากการสมาทานศีล และกราบดวยเบญจางคประดิษฐ ๓

ครั้ง แลวจึงอาราธนาธรรม เม่ืออาราธนาธรรมเสร็จแลว พึงกราบดวยเบญจางคประดษิฐ ๓ ครั้ง จากนั้น พึงนั่งฟงพระสงฆ

สวดไปจนจบ

Page 60: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๐ หากเปนการสวดอภิธรรมหนาไฟ ไมตองอาราธนาศีล เม่ือพระสงฆนั่งประจําอาสนะและ

ขณะฌาปนกิจศพ พึงกราบ ๓ ครั้ง แลวอาราธนาธรรม สวนในพิธีฟงเทศน พึงปฏิบัติดังนี ้๑. เม่ือเตรียมไทยธรรมและจัดสถานท่ีเรียบรอย พึงอาราธนาพระภิกษุขึ้นสูธรรมาสน การ

อาราธนามี ๒ วิธี คือ อาราธนาดวยวาจา และอาราธนาโดยสัญลักษณ โดยจุดเทียนท่ีอยูใกล ๆ กับธรรมาสน เพราะในพิธีเทศนท่ัว ๆ ไป จะตองตั้งเทียนไวดานขางของธรรมาสน ๑ เลม เพ่ือเอาไวจุดขณะพระเทศน มีความหมาย คือ

๑.๑ ใหพระอาศัยแสงสวางของเทียนอานคัมภีร (สําหรับพระท่ีเทศนปากเปลาไมได) ในกรณีท่ีธรรมาสนมีแสงสวางไมพอหรือเทศนเวลากลางคืนในท่ีไมมีไฟฟา แมปจจุบันจะมีไฟฟาแลวก็ตาม ชาวพุทธก็ยังยึดถือประเพณีการตั้งเทียนนี้ไวอยู

๑.๒ เปนคติธรรมบงบอกวา การแสดงธรรมนั้นคือ การใหแสงสวางทางปญญาไลความมืดทางจิต เหมือนแสงเทียนท่ีไลความมืดไปได

เทียนเลมนี้จะเรียกวา “เทียนสองธรรม” เม่ือเริ่มจุดจะเปนสัญลักษณบอกพระภิกษุวา ผูฟงธรรมพรอมแลว ดังนั้น พระจะขึ้นธรรมาสนเพ่ือแสดงธรรมตอไป

๒. เม่ือพระภิกษุขึ้นสูธรรมาสนแลว พึงกราบดวยเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง แลวกลาวคําอาราธนาศีล สมาทานศีล จบแลวกราบ ๓ ครั้ง

๓. อาราธนาธรรม โดยใชคําอาราธนาเดียวกับการอาราธนาธรรมในงานศพ เม่ืออาราธนาธรรมจบแลวพระภิกษุผูธรรมกถึกจะเริ่มแสดงธรรม พึงกราบ ๓ ครั้ง แลวนั่งพับเพียงฟงธรรมดวยความตั้งใจตอไป

๔. เม่ือพระภิกษุแสดงธรรมจบแลว พึงกราบ ๓ ครั้ง แลวถวายจตุปจจัยไทยธรรม จากนั้นพระสงฆจะกลาวอนุโมทนา พึงกรวดน้ําและรับพรแลวเริ่มพิธีอ่ืนตอไป

Page 61: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๑ มารยาทชาวพุทธ

๑. กิจกรรมที่ ๒ งามอยางชาวพุทธ ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การมีสวนรวมเผยแพรและอนุรกัษขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย ๓.๒ การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย

๔. จุดประสงค ๔.๑ สามารถปฏิบัติตนตามมารยาทชาวพุทธไดอยางถูกตอง ๔.๒ มีความช่ืนชมในมารยาทไทย ซ่ึงเปนวัฒนธรรมไทย

๕. แนวคิด การเห็นคุณคาและประโยชนของการประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองตามขนบธรรมเนียม

ประเพณีไทยเปนส่ิงสําคัญและจําเปนท่ีจะตองปลูกฝงใหตอเนื่องเปนพฤติกรรมถาวร สามารถอนุรักษและสืบทอดไดอยางถูกตองเหมาะสม โดยเฉพาะมารยาทชาวพุทธ ตลอดจนเห็นคุณคาเกิดความภาคภูมิใจและสํานึกในความเปนไทย ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ นําภาพแสดงการไหวใหนักเรยีนดู แลวชวยกันแสดงความคิดวาเราจะไหวเม่ือใดบาง

(โอกาสใด) ๖.๒ ใหนักเรียนสวมบทบาทเปน ครู พอแม ญาติผูใหญ แลวใหนักเรียน ๒ คน (แสดงบทบาท

สมมต)ิ คนแรกเดินผานเฉย ๆ คนท่ีสองเดินผานดวยกิริยามารยาทเรียบรอยนุมนวล เม่ือผานและพบแลวแสดงการไหว

๖.๓ ถามความรูสึกผูแสดงเปนคร ูพอ แม ตอการกระทําของนักเรียน ๒ คน ๖.๔ ใหนักเรียนจับคูกันพรอมแสดงบทบาทสมมต ิโดยใหนักเรียนเดินกระแทกเพ่ือน แลวยก

มือไหว พรอมคําขอโทษ สลับบทบาทกัน ๖.๕ ถามความรูสึกนักเรียนรูสึกอยางไร

- ผูถูกกระแทก และผูกระแทก ๖.๖ ครูนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญและเนนคุณคาของการไหว มีความรูสึกท่ีดีตอการไหว ขั้นกิจกรรม ๖.๗ แบงกลุมนักเรียนออกเปน ๔ กลุม ๆ ละ ๖-๘ คน ครูแจกใบความรูเรื่องการกราบแบบ

เบญจางคประดิษฐ การกราบผูใหญ การไหวพระ การไหวผูใหญ

Page 62: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๒ ๖.๘ นักเรียนศึกษาใบความรูแลวฝกปฏิบัติภายในกลุมใชเวลา ๘ นาที และออกไปสาธิตให

เพ่ือนดู จนครบทุกกลุม โดยนักเรียนใหคําบรรยายแสดงทาประกอบอยางถูกตอง ๖.๙ ครูและนักเรียนชวยกันสรุปการปฏิบัติของแตละกลุม และการนําไปใชอยางถูกตองตาม

กาลเทศะ ถูกตองตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๖.๑๐ แจกใบงานใหนกัเรียนแลกเปล่ียนประสบการณจับคูฝก โดยใหเปนผูฝกเพ่ือนกลุมอ่ืน

สลับกัน (ตองหาสมาชิกใหได ๑ คน และไปรับการฝกกับสมาชิกอ่ืนอีก ๑ คน)

แบบจับคูฝก กลุม..................................ช่ือนักเรียน.................................ช่ือเพ่ือน............................... บทบาทผูฝก ทําเครื่องหมาย / ลงใน ท่ีฝกกิจกรรมใหเพ่ือน การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ การไหวพระ การกราบผูใหญ การไหวผูใหญ บทบาทผูรับการฝก ทําเครื่องหมาย / ลงใน ท่ีไดรับการฝกจากเพ่ือน การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ การไหวพระ การกราบผูใหญ การไหวผูใหญ ๖.๑๑ แขงขันนักเรียนท่ีฝกเพ่ือนได ๑ คน และใหเพ่ือนฝก ๑ รายการ แลวใหยกมือขึ้น ๖.๑๒ ทดสอบนักเรียนท่ียกมือ ออกมาสาธิตใหเพ่ือน ๆ ดูปรับปรุงแกไขใหถูกตอง โดยสมาชิก

อาจสุมนักเรียนกิจกรรมละ ๑ คน ออกมานําเสนอพรอมปฏิบัติกับเพ่ือนสมาชิกใหรางวัลโดยการปรบมือใหเพ่ือนท่ีออกนําเสนอ

ขั้นสรุป ๖.๑๓ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา สามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร

บาง นักเรียนมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทยอยางไร รวมแสดงความรูสึก กิจกรรมเสนอแนะ

๖.๑๔ เม่ือมีเวลาเพียงพอใหนักเรียนรวมกันรองเพลงกราบเบญจางคประดิษฐและปฏิบัติประกอบทาทางเพลง

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม

๗.๑ ภาพประเพณีวัฒนธรรมไทย

Page 63: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๓ - การละเลนของไทย - การแตงกาย - การกราบ การไหว - การทําบุญตักบาตร

๗.๒ ใบความรู - การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ - การกราบผูใหญ - การไหวพระ - การไหวผูใหญ

๗.๓ ใบงาน - การฝกเปนผูฝกและผูถูกฝก

๗.๔ บทเพลง

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ การสังเกต การเขารวมกิจกรรม

- การซักถาม/การตอบคําถาม/การยกตัวอยาง - แสดงความคิดเห็นในกลุม - ความกระตือรือรนในการทํากิจกรรม/ความสนุกสนาน - การปฏิบัต/ิเปนผูฝกและถูกฝก - ความถูกตองและบอกประโยชน

๘.๒ สัมภาษณ - ความรูสึกและประโยชนท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรม

๘.๓ การปฏิบัติอยางถูกตอง ช่ืนชมเปนแบบอยางได ๘.๔ เห็นประโยชนและนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางสมํ่าเสมอ

Page 64: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๔ใบความรู

การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ

การกราบดวยเบญจางคประดิษฐนี ้ชายพึงคุกเขาตั้งฝาเทาชัน ใชนิ้วเทาเทานั้นพับยันพ้ืนนั่งทับลงบนซนเทาท้ังคูท่ีชันขึ้นแยกเขาท้ังสองออกเล็กนอยใหเปนรูปสามเหล่ียม ประนมมือนั่ง อยางนี้เรียกวา นั่งทาพรหม (ทาเทพพนม, ทาเทพบุตร ก็เรียก) เวลากราบก็ยกมือขึน้ไหว แลวกมตัวลงปลอยมือใหทอดลงกับพ้ืน ใหศอกตอกันกับเขาตรงกันท้ังสองขาง แลวกมลงใหหนาฝากจรดพ้ืนระหวางฝามือดังกลาว เชนนี้เปนทากราบของชาย สําหรับหญิงพึงนั่งคุกเขากราบ คือไมตั้งฝาเทาชันอยางแบบชาย เหยียดฝาเทารายไปทางหลัง ใหปลายเทาท้ังสองทับกันเพียงเล็กนอย แลวนั่งทับลงบนฝาเทาท้ังสองนั้นใหราบกับพ้ืน ใหเขาท้ังสองชิดกันประนมมือ นั่งอยางนี้ เรียกวา นั่งทาเทพธิดา ขณะกราบก็ยกมือประนมนั้นขึ้นไหวแลวกมตัวลง ปลอยมือใหทอดลงกับพ้ืน ใหขอศอกพับท้ังสองขางขนาบเขาท้ังสองไว ไมใชตอเขาอยางแบบชาย แลวกมลงใหหนาผากจรดพ้ืนระหวางฝามือท้ังสอง ระวังกะฝามือใหพอด ีเวลากมกราบนี ้อยาใหกนยากขึ้นเปนอันขาด เชนนี้เปนทากราบพระของหญิง เม่ือกราบ ๓ ครั้งแลว พึงยกมือขึ้นไหวตามแบบไหวพระรัตนตรัยเสร็จแลวเปล่ียนอิริยาบถ เปนนั่งพับเพียงหรอืลุกขึ้นตามอัธยาศัย หรือตามกาลเทศะ

การกราบพระสงฆ แบบชาย ๑. ทาเตรียม นั่งทากระหยงปลายเทา

๒. อัญชลี ประนมมือใหอยูระหวางอก ปลายนิ้วเบนออกประมาณ ๔๕ องศา ๓. วันทา ยกมือขึ้นจรดหนาผาก ใหหัวแมมืออยูระหวางคิ้ว พรอมกับกมศีรษะรับมือท้ังสอง

๔. อภิวาท กมลงกราบใหฝามือแบราบกับพ้ืน หางกันพอควร หนาฝากจรดพ้ืนดวย พรอมกันนั้น ใหขอศอกตอกับหัวเขาท้ังสองขาง พยายามอยาใหกนโดง

แบบหญิง ๑. ทาเตรียม นั่งใหปลายเทาราบกับพ้ืน ๒. อัญชลี ประนมมือใหอยูระหวางอก ปลายนิ้วเบนออกประมาณ ๔๕ องศา ๓. วันทา ยกมือขึ้นจรดหนาฝาก ใหหัวแมมืออยูระหวางคิ้ว พรอมกับกมศีรษะรับมือท้ังสอง

๔. อภิวาท กมลงกราบใหฝามือแบราบกับพ้ืน หางกันพอสมควร หนาฝากจรดพ้ืนดวย พรอมกัน ใหขอศอกท้ังสองครอมหัวเขา

การยืนไหวพระสงฆ แบบหญิง ไหวใหหัวแมมือจรดหัวคิ้ว กมศีรษะพรอมกบักาวเทาขวาไปขางหนาและยอเขาลงเล็กนอย

Page 65: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๕แบบชาย ไหวใหหัวแมมือจรดหัวคิ้ว กมตัวลงเล็กนอย การกราบบุคคลและกราบศพ

การกราบมาจากคําวา “อภิวาท” คือการหมอบลงท่ีพ้ืนกับกระพุมมือ หรือพรอมกับกระประณมมือ เปนกิริยาอาการแสดงความเคารพออนนอมถอมตนอยางสูงสุด

การกราบบุคคลและกราบศพนั้น นิยมกราบเหมือนกันดวยวิธีกระพุมมือ กราบไมแบมือกราบกับพ้ืนเหมือนกราบแบบเบญจางคประดิษฐ กราบเพียงครั้งเดียวปฏิบัติดังนี ้

๑. นั่งพับเพียงแบบเก็บเทา พับขาราบไปทางซาย ตะแคงต่ําขางขวาไปทางบุคคลหรือศพท่ีจะกราบนั้น

๒. หมอบลงกับพ้ืน พรอมกับวางแขนลงกราบลงกับพ้ืนตลอดครึ่งแขนจากขอศอกถึงมือ ตั้งสันมือขึ้น วางแขนซายลงคูกับแขนขวา มือท้ังสองขางแนบชิดแบบประณมมือใหศอกขวาอยูขางตน ศอกซายตอกับหัวเขาขวา

๓. กมศีรษะลงใหหนาผากจรดสันมือ ปลายนิ้วช้ีอยูระหวางคิ้วแลวลุกขึ้นนั่งพับเพียบตามปรกต ิเปนเสร็จพิธีกราบบุคคลหรือศพ การไหวผูใหญ

การไหวผูใหญ มาจากคําวา “นมัสการ” คือการยกกระพุมมือท่ีประณมขึ้นจรดหนาผาก พรอมกับกมศีรษะลงเล็กนอย เปนกิริยาอาการแสดงความเคารพอยางออนนอม ปฏิบัติเพ่ือความเหมาะสมแกช้ันและวัยของบุคคลนั้น ๆ

การไหวบุคคลผูมีอาวุโสมากกวาตน พอแม ปู ยา ตา ยาย ญาติผูใหญ ครู อาจารย นิยมยกกระพุมมือขึ้นไหวใหปลายนิ้วช้ีอยูระหวางคิ้ว นิ้วหัวแมมือท้ังสองอยูบนดั้งจมูกพรอมกับศีรษะ และนอมตัวลงพองามสายตามองดูทาน ดวยความเคารพออนนอมถอมตนแมการไหวศพก็นิยมปฏิบัติเชนเดียวกันอยางนี ้

Page 66: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๖ใบงาน

คําชี้แจง ๑. ใหนักเรียนฝกปฏิบัติตามใบงานท่ีไดรับมอบหมาย

๒. รวมฝกกับสมาชิกในกลุมจนเกิดความชํานาญ ๓. ใหนักเรียนเปน ผูฝก เพ่ือนกลุมอ่ืน ๆ ๑ คน (๕ นาที) ๔. ใหนักเรียนเปน ผูไปฝก กับเพ่ือนกลุมอ่ืนในกิจกรรมท่ีกลุมนักเรียนไมไดรับ

มอบหมาย ๑ กิจกรรม (๕ นาที) ๕. กรอกรายช่ือเพ่ือนท่ีนักเรียนเปนผูฝกและเปนผูถูกฝกจากเพ่ือนช่ืออะไรลงในแบบ

ฝกพรอมทําเครื่องหมาย / ลงในชองท่ีฝก ๖. เม่ือฝกเสร็จแลวใหยกมือขึ้น ๗. ออกไปสาธิตเม่ือครูใหแสดงการสาธิตใหเพ่ือนสมาชิกาตัดสิน

แบบจับคูฝก

กลุม..................................ช่ือนักเรียน.................................ช่ือเพ่ือน............................... บทบาทผูฝก ทําเครื่องหมาย / ลงใน ท่ีฝกกิจกรรมใหเพ่ือน การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ การไหวพระ การกราบผูใหญ การไหวผูใหญ บทบาทผูรับการฝก ทําเครื่องหมาย / ลงใน ท่ีไดรับการฝกจากเพ่ือน การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ การไหวพระ การกราบผูใหญ การไหวผูใหญ

Page 67: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๗ เพลง กราบเบญจางคประดิษฐ

คํารอง ผุสด ีปาลกวงศ ณ อยุธยา ทํานอง ลาวลําปาง กราบบูชา พุทธศาสนาเรียกวาเบญจางคฯ สองเขา สองศอกกาง หนาผากวากแตะพ้ืน ประณมมือ อัญชลี วันทา อภิวาทสามคราหนาช่ืน กราบพระพุทธ แสนวิสุทธ์ิ กอนอ่ืน กราบพระธรรม นอมนําใหตื่น กราบพระสงฆ ยืนยง คงคูศาสนา

เพลง มารยาทเด็กไทย

คํารอง อําไพ สุจริตกุล ทํานอง เทพทอง

คนท่ีมี มารยาท สมชาติเช้ือ สงาเหลือ นารัก สมศักดิ์ศร ีกิริยา วาจา-ใจ ไรราค ีเปนผูดี เพาะฝกได ไมลําพอง อยาขวางเฉียด หรือยืนค้ํา ขามผูใหญ หยิบของใช โดยมิเคย ขอเจาของ เห็นของเขา ไมเกรงใจ เฝาใฝปอง จงตรึกตรอง คิดละอาย ทําไมลง อยาแซงแถว คนมากอน จะคอนให พูดหยาบคาย รองตะโกน จนเสียงหลง หรือยักไหล เชิดหนา ทาทระนง ใครเห็นคง รูวาไม ใชผูด ี พูดไพเราะ เหมาะงาม ตามโอกาส มารยาท ทานิยม สมศักดิ์ศร ีขอโทษครับ ขอบคุณคะ สวัสด ีคําเหลานี ้เด็กไทย ฝกไวเทอญ

Page 68: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๘ความรูสําหรับครู

ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ความหมาย

๑. คําวา “ประเพณ”ี หมายถึง ขอกําหนด กิจกรรม แบบอยางท่ีประพฤติปฏิบัติสืบตอกันมาแบงเปน ๓ ประการ คือ จารีตประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนียมประเพณ ี

๒. คําวา “วัฒนธรรม” หมายถึง ลักษณะท่ีแสดงออกช้ีใหเห็นถึงความเจริญกาวหนา พฤติกรรมท่ีแสดงออกเปนไปเพ่ือความเจริญ ความสงบสุขของสังคม ประเพณีวัฒนธรรมของชาวพุทธ ๑. ไหวพระสวดมนต นั่งสมาธิ แผเมตตา กอนนอนทุกคืน ๒. ทําบุญตักบาตรทุกเชา ๓. เขาวัดทําบุญ บริจาคทาน รักษาศีล ฟงธรรม เจริญภาวนาทุกวันพระ ๔. แสดงความเคารพ เอ้ือเฟอ ยําเกรงตอพระสงฆ ๕. รูจักทําบุญท่ีบานตามโอกาสตาง ๆ ๖. เขารวมกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา ๗. แสดงความเคารพตอปูชนียสถาน ๘. รวมพัฒนาและบํารุงศาสนสถาน ๙. มีความกตัญูตอผูมีพระคุณ ๑๐. รูจักบําเพ็ญบุญทักษิณานุประทาน ๑๑. บวชสืบอายุพระพุทธศาสนา

ผลดีของประเพณีวัฒนธรรม ๑. ตนเองมีความสุขท่ีไดทําความดีเชนนั้น ๒. บัณฑิตสรรเสริญผูมีวัฒนธรรม ๓. ช่ือเสียงเกียรติคุณฟุงขจรไป ๔. แสดงถึงความกาวหนาของชาต ิ๕. กอใหเกิดความสามัคคีของคนในชาต ิ๖. เปนการเชิดชูเกียรติของชาต ิ๗. เปนเครื่องขัดเกลาอุปนิสัยใหออนโอย ๘. เปนฐานรองรับคุณธรรมท่ีสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป

Page 69: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๖๙มารยาทชาวพุทธ

๑. ความหมาย คําวา “มารยาท” หรือ มรรยาท หมายถึง ความประพฤติท่ีแสดงออกมาทางกาย

ทางวาจา ซ่ึงบัณฑิตท้ังหลายยอมรับวา เรียบรอย อยูในระเบียบแบบแผน หรือขอบเขตท่ีดีงาม เปนการสอใหเห็นถึงอัธยาศัยท่ีดีอีกดวย

ชาวพุทธ คือ ผูนับถือพระพุทธศาสนาท่ัวไป ๒. ความสําคัญ การมีมารยาทดีตอกันของคนในสังคม นับเปนส่ิงท่ีสําคัญมากประการหนึ่ง ทํา

ใหคนเราอยูรวมกันอยางสงบสุข แสดงใหเห็นถึงความเปนผูมีวัฒนธรรมและคุณธรรม ท้ังยังเปนการประกาศศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยอยูในตัววา “มนุษยเปนผูมีใจสูงมีการประพฤติท่ีประเสริฐกวาสัตวเดรัจฉาน” มารยาทยังเปนเครื่องวัดคุณธรรมของคนอีกดวยดังคําโคลงท่ีวา

สายบัวบอกลึกตื้น ชลธาร มารยาทสอสันดาน ชาติเช้ือ โฉดฉลาดเพราะคําขาน พึงทราบ กอหญาเห่ียวแหงเนื้อ บอกรายแสลงดิน

๓. มารยาทชาวพุทธที่ควรศึกษาและปฏิบัต ิ๓.๑ มารยาทในการไปวัด

- การแตงกายไปวัด - การนําเด็กไปวัด - การปฏิบัติตนในวัด

๓.๒ มารยาทในการยืน - การยืนตอหนาพระสงฆ - การยืนตอหนาผูใหญ - การยืนตามลําพัง

๓.๓ มารยาทในการนั่ง - การนั่งสนทนากับพระสงฆ - การนั่งตอหนาผูใหญ - การนั่งฟงพระธรรมเทศนา - การเปล่ียนทานั่ง

๓.๔ มารยาทในการไหว-การกราบ - การไหว – การกราบพระรัตนตรัย - การไหว – การกราบมารดา – บิดา - การไหว – การกราบคร ูอาจารย

Page 70: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๐- การไหว – การกราบผูใหญ - การไหวบุคคลเสมอกัน - การไหว - การกราบศพ

๓.๕ การแสดงความเคารพตอสถานท่ี - อุโบสถ - ศาลาการเปรียญ - ตนโพธ์ิและตนไมท่ีเกี่ยวกับพุทธประวัต ิ- หอไตรหรือหอสมุดของวัด - กุฎีของพระสงฆ หรือท่ีนั่ง-ท่ีนอนของพระสงฆ

๓.๖ การแสดงความเคารพตอพระสงฆ - ลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ - การตามสงพระสงฆ - การหลีกใหทางพระสงฆ - การเดินตามพระสงฆ

๔. อานิสงสของความมีมารยาทด ี- ตนเองมีความภูมิใจในตนเอง - ผูรูใครครวญแลวสรรเสริญ - ช่ือเสียงเกียรติคุณยอมฟุงไป - คนดีตองการคบหาสมาคมดวย - ไมเปนท่ีรังเกียจของสังคม - เปนแบบอยางท่ีดีของอนุชน - เปนท่ีเคารพของผูนอย เปนท่ีรักของผูใหญ เปนท่ีเกรงใจของเพ่ือน - เปนเครื่องเชิดชูเกียรติของชาติและศาสนาของตน - จิตใจสงบสุขไมวิตกกังวลเพราะเสียมารยาท - เปนพ้ืนฐานใหบรรลุคุณธรรมช้ันสูง

เปนมนุษยเปนไดเพราะใจสูง เหมือนหนึ่งยูงมีดีท่ีแววขน ถาใจต่ําเปนไดแตเพียงคน ยอมเสียทีท่ีตนไดเกิดมา ใจสวางใจสะอาดใจสงบ ถามีครบควรเรียกมนุสสา เพราะทําถูกพูดถูกทุกเวลา เปรมปรีดาคืนวันสุขสันตจริง ใจสกปรกมืดมัวและรอนเรา ใครมีเขาควรเรียกวาผีสิง เพราะพูดผิดทําผิดจิตประวิง แตในส่ิงนําตวักล้ัวอบาย...

Page 71: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๑พุทธทาสภิกข ุ

วิธีแสดงความเคารพพระ

ความมุงหมายการแสดงความเคารพพระก็เพ่ือแสดงใหปรากฎวาตนมีความนับถือดวยกายและใจจริง การแสดงใหปรากฏนี ้สวนใหญแสดงออกทางกาย ซ่ึงสอซ่ึงถึงน้ําใจอยางเดนชัด พระท่ีควรแกการแสดงความเคารพ ไดแก พระพุทธรูปหรือปูชนียวัตถุ เชน พระสถูปเจดีย พระภิกษุสามเณร ผูทรงเพศอุดมกวาตน การแสดงความเคารพตอพระดังกลาวนี ้จะนํามาช้ีแจงในท่ีนี้เพียง ๓ วิธี คือ การประนมมือ การไหว และการกราบ

ประนมมือ ตรงกับหลักท่ีกลาวไวในบาลีวา “อัญชล”ี คือ การกระพุมมือท้ังสองประนมใหฝามือท้ังสองประกอบกัน นิ้วทุกนิ้วท้ังสองแนบชิดตรงกัน ไมมีเหล่ือม-ลํ้ากวากัน หรือกางใหหาง ตั้งกระพุมมือประนมดวยอาการนี้ไวในระหวางอก ใหตั้งตรงขึ้นขางบนมีลักษณะคลายดอกบัวตูม แนบศอกท้ังสองขางชิดชายโครง ไมใหกางหางออกไป แสดงอาการอยางนี้เรียกวา ประนมมือ เปนการแสดงความเคารพ เวลาสวดมนตหรือฟงพระสวดและเทศน เปนตน แสดงอยางเดียวกันท้ังชายท้ังหญิง

ไหว ตรงกับท่ีกลาวไวในบาลีวา “วันทา” คือ การยกมือท่ีประนมแลวดังกลาวขึ้นพรอมกับกมศีรษะลงเล็กนอย ใหมือประนมจรดหนาผาก นิ้วหัวแมมือท้ังสองอยูระหวางคิ้ว อยางนี้เรียกวา ไหว ใชแสดงความเคารพพระในขณะนั่งเกาอ้ีหรือยืนอยู ไมใชนั่งราบกับพ้ืนแสดงอยางเดียวกันท้ังชายและหญิง

กราบ ตรงกับท่ีเรียกในบาลีวา “อภิวาท” คือแสดงอาการกราบกับพ้ืนดวย เบญจางคประดิษฐ ไดแก กราบท้ังองค ๕ ใหหนาผาก ๑ ฝามือ ๒ เขา ๒ จรดพ้ืนเม่ือกราบอยางนี ้พึงนั่งคุกเขาแหวกชองระหวางฝามือท่ีวางราบนั้นใหหางกันเล็กนอย กมศีรษะลงตรงชองนั้นใหหนาผากจรดพ้ืน ก็เปนอันวาฝามือท้ังสองและหนาผากติดพ้ืนครบองค ๕

Page 72: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๒กฎแหงกรรม

๑. กิจกรรมที่ ๓ กฎแหงกรรม ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ๓.๒ การปลอบโยนหรือใหกําลังใจ ๓.๓ การแสดงความเอ้ืออาทร ๓.๔ การช่ืนชมยินดีในความดีงามของตนและของผูอ่ืน ๓.๕ การไมเบียดเบียนตนและผูอ่ืน

๔. จุดประสงค ๔.๑ เขาใจความหมายของกฎแหงกรรม การทําด ีไดด ีทําช่ัว ไดช่ัว ๔.๒ สามารถวิเคราะหผูท่ีทําความด ีและความช่ัวได ๔.๓ กระทําตนเปนคนดี และชักชวนเพ่ือนใหทําความด ี๔.๔ ช่ืนชมชนเอง และเพ่ือนท่ีปฏิบัติตนเปนคนด ี

๕. แนวคิด กรรมเปนหลักธรรมท่ีสําคัญและเปนท่ีสนใจของพุทธศาสนิกชนเปนจํานวนมาก ควรมีความ

เขาใจเกี่ยวกับเรื่องความหมายของกรรมใหเขาใจอยางถองแทถูกตองไมมองในแงของผลของการกระทําในทางลบ หรือผลรายของการกระทําซ่ึงเกิดขึ้นในชาติอดีตเพียงอยางเดียว แทจริง กรรมเปนการกระทําท่ีทําไปดวยเจตนา ซ่ึงอาจแสดงออกทางกาย วาจา หรือใจ เปนอดีต ปจจุบัน หรืออนาคต ดีหรือช่ัว ก็จัดเปนกรรมท้ังส้ิน ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ ครูและนักเรียนรวมกันรองเพลง ทําดีด ีอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อเพลง ๖.๒ ครูนําหนังสือพิมพประมาณ ๑๐ ฉบับ เปนหัวขอขาวในดานตาง ๆ ดังนี ้

- หัวขอขาวในดานดี จํานวน ๕ ฉบับ - หัวขอขาวในดานไมดี จํานวน ๕ ฉบับ

ใหนักเรียนชวยกันอานหัวขอขาว และเนื้อหาของขาวแลวสนทนารวมกันวาเปนขาวเกี่ยวกับเรื่องใด ด-ีไมด ี

ประเด็นคําถาม - ทําไมจึงเกิดเหตุการณนี้ขึ้น - บุคคลในขาวมีผลกรรมในอดีตเปนอยางไร

Page 73: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๓- ในอดีต จากประสบการณ นักเรียนทําด-ีไมดีอยางไร - ผลจากการกระทําดี – ไมดีจากประสบการณเปนอยางไร - รูสึกอยางไรกับการกระทํานั้น

ขั้นกิจกรรม ๖.๓ แบงกลุมนักเรียนออกเปน ๔ กลุม ๆ ละ ๖-๘ คน แจกกรณีตัวอยางเรื่อง

๑. ยายแมน ๒. สมชายยอดนักซ่ิง ๓. ชีวิตสมศร ี ๔. พลาดพล้ังเสียแลว

๖.๔ ใหทุกกลุมศึกษาแลวสรุปลงใบงานท่ีแจกให เปนขอสรุปของกลุมลงตามแบการทํานายอนาคตอยางมีเหตุผล แลวสงตัวแทนออกมาอานใหเพ่ือนฟง และบอกการทํานานของกลุมวา เปนอยางไร เพราะอะไรเปนกรรมดีหรือไมด ีถาเปนนักเรียนจะทําอยางไร

สรุป ๖.๕ นําขอสรุปของทุกกลุมชวยกันสรุปอภิปรายถึงสาเหต ุผลของการทํานาย และเหตุผล

ประกอบการตัดสินใจทํานายและสรุปเปนกรรมดีหรือกรรมไมด ี๖.๖ นักเรียนสรุปแนวทางการนําเรื่องกฎแหงกรรมไปใช

- กรรมดีท่ีนักเรียนเคยประพฤติปฏิบัติมีอะไรบาง - กรรมไมดีท่ีนักเรียนเคยประพฤติปฏิบัติมีอะไรบาง - นักเรียนมีแนวทางแกไขใหเปนกรรมดีไดอยางไร

๖.๗ ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปแนวทางนําไปใชประโยชน ๖.๘ ครูและนักเรียนรวมกันรองเพลง เพลงทําดีด ี

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม

๗.๑ หนังสือพิมพ ๗.๒ กรณีตัวอยาง

- ยายแมน - สมชายยอดนักซ่ิง - ชีวิตสมศร ี- พลาดพล้ังเสียแลว

๗.๓ ใบงาน ๗.๔ เพลงทําดีไดด ีทําช่ัวไดช่ัว

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ การสังเกต

- การแสดงความคิดเห็น

Page 74: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๔- การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน - ความกระตือรือรน - การวิเคราะหพฤติกรรมของตนเอง - การสรุปอยางมีเหตุผล

๘.๒ การสัมภาษณ - ความรูสึกการเขารวมกิจกรรม - ประโยชนท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรม

๘.๓ การวิเคราะห การกระทําความด ีและความไมด ีแนวทางการแกไข - การเขารวมกิจกรรมอยางกระตือรือรน - แสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล - การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน - เปนแบบอยางของการกระทําความดีได - นําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม - วิเคราะหการกระทําไดอยางคลองแคลวมีเหตุผลประกอบ - การวางแผนการกระทําในอนาคต ใหสอดคลองกับความตองการของสังคม

Page 75: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๕ใบงาน

คําชี้แจง

๑. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องกรณีตัวอยางท่ีไดรับมอบหมายแลวรวมกันสรุปลงในแบบ ๒. สงตัวแทนของกลุมออกไปอานและทํานายเหตุการณในอนาคตตามท่ีกลุมสรุป ๓. ใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็นโดยสรุปของกลุมลงในชองสุดทาย ๔. ใหเวลา ๒๐ นาที

เรื่องท่ีศึกษา ประเภทของการกระทํา เหตุการณท่ีคาดวา ถานักเรียนเปนตัวละคร ดี ไมด ี นาจะเกิดขึ้น ในกรณีตัวอยาง

กรณีตัวอยาง (/) (/) ในอนาคต นักเรียนจะทําอยางไร

Page 76: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๖ เพลงทําดีด ี

คํารอง อ.สุรพล โทณวนิก

ทําวันนี้ใหด ี แลววันหนาก็จะไดด ีปจจุบันท่ีฉันมีด ี เพราะฉันทําวันกอนไวด ีทําวันนี้ไมด ี แลววันหนาก็จะไมด ีปจจุบันท่ีเขาไมด ี เพราะเขาทําวันกอนไมด ี วันนี้เปนวันสําคัญ เปนวันท่ีฉันจะตองทําด ีพูดดี เรียนดี เลนด ี เติบโตเม่ือไหร จะเปนผูใหญท่ีด ีใครทําของไมด ี ฉันไมจําตัวอยางไมด ีดวยคนทําคนนั้นไมด ี เพราะเขาใจต่ําทําแตส่ิงไมด ี

Page 77: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๗ กรณีตัวอยาง ๑. เร่ือง ยายแมน

ยายแมน มีอาชีพรับจางเปนแมครัวประจําวัด จะรับผิดชอบในการทําอาหาร วันนี้มีเจาภาพงาน

ศพมาจางยายแมนประกอบอาหารเล้ียงพระและแขกในวัด ยายแมนจึงจัดซ้ืออาหาร มีเนื้อกอนโต ภายในวัดมีสุนัขแมลูกออนผอมโซ อดอยาก ดวยความหิว จึงแอบคาบเนื้อกอนโตของยายแมนไป ยายแมนโกรธมากคิดวาจะทําอยางไรจะแกแคนอีตางตัวนี้ใหได จึงไปซ้ือกอนเนื้อมาอีกแลวตมน้ําใหเดือดพลาน พรอมท้ังโดยเนื้อลงไปท่ีใตถุนศาลาท่ีประกอบอาหาร เม่ืออีดางเห็นจึงรี่เขาไปคาบ จังหวะนั้นเองยายแมนก็เทน้ํารอนลงไปถูกตัวของอีดาง อีดางรองดวยความเจ็บปวด วิ่งถลาออกไปหาลูกอยางกระเสือกกระสน ลูกเห็นแมรอง ก็รองอยางระงงล่ันวัด สรางความสมเพชเวทนาแกผูพบเห็นเปนอันมาก อยูมาไมนานอีดางก็ตาย ลูกก็ยังเล็กก็ทยอยตายไปทีละตัว ๒ ตัวจนหมด

ตอมาไมนานไดมีการวาจางยายแมนทําครัวท่ีวัดงานบวชนาคอีก คราวนี้ยายแมนก็ยังทําหนาท่ีเปนแมครัวไปซ้ืออาหารแลวรําพึงในใจวา “คราวนี้ไมมีอีดางแลวเราไมขาดทุนแน” และครั้งนี้ยายแมนตมผักกาดดองหมอใหญ ตองใหน้ําเดือดพลานจึงจะอรอย เม่ือถึงเวลาอาหารจึงใหหลายคนชวยยกหมอไปตั้งท่ีบริเวณใตรมไมท่ีจัดเตรียมอาหาร ซ่ึงอยูดานขางศาลาประกอบอาหาร และสงอาหารทางบริเวณท่ีเปนประตูใหญ แตไมมีบันใดเนื่องจากเปนศาลาสมัยเกาชํารุดผุพังพอสมควร ตองระวังเพราะจกตก บริเวณไมไมเสอมกันและสูงเพียงแคศีรษะของยายแมนเทานั้น และยายแมนก็สามารถรับของท่ีสงไดเปนประจํา เม่ือทุกอยางยกลงหมดเหลือเพียงหมอตมผักกาดดองใบใหญหมอเดียวท่ียังไมไดยก ยายแมนกลัววาคนอ่ืนท่ีรับขางลางจะไมถนัดเดี๋ยวจะหกหมด ตนเองจึงลงไปรอรับเองแลวเรียกใหใครก็ไดยกหมอสงให ตาปอมจึงเดินไปยกหมอดวยความรอนและความไมชํานาญสถานท่ี จังหวะท่ียกสงใหยายแมน ตาปอนสะดุดหัวไมกระดาน ทําใหหมอคว่ําลงใสยายแมนอยางจัง ยายแมนรองดวยความเจ็บปวด ทุรนทุราย

๒. เร่ือง สมชายยอดนักซ่ิง

สมชายเปนลูกของผูมีอันจะกินคนหนึ่งท่ีมีนิสัยกาวราว เกเร ติดยาเสพติด เขาถูกไลออกจากโรงเรียนสรางความระอาใจแกบิดามารดา และชาวบาน สมชายมักจะคบเพ่ือนรวมแกงท่ีตอนกลางคืนจะรวมกันขับรถจักรยานยนตเรงเครื่องดวยเสียงดังแขงขันท่ีถนนทุกคืน จนชาวบานเอือมระอาในพฤติกรรมเพราะเสียงดังในเวลากลางคืน ไมมีใครกลาออกไปทําธุระท่ีถนนเพราะเกรงวาจะเกิดอุบัติเหต ุเม่ือชาวบานวากลาวตักเตือนก็จะถูกกลุมสมชายแสดงความกาวราว ขมขูขวางปาบาน และทํารายรางกายพวกท่ีวากลาวเสมอ จนคนในหมูบานไมสนใจ

Page 78: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๘ ๓. เร่ือง ชีวิตสมศรี

สมศรีเปนลูกของคนรับจางกวาดถนน กําพราพอ อยูกับแม ๒ คน ทุกวันเสาร-อาทิตย หรือวันหยุด สมศรีจะไปหางานทําท่ีบานครูท่ีโรงเรียนหรือหมูบานท่ีครูอาศัยอยู เม่ือวางเวนจากงาน ก็จะอานหนังสือทําการบานไมใหเปนท่ีติเตียนของครูและเพ่ือน เม่ือมีโอกาสสมศรีจะชวยเหลือเพ่ือนทุกครั้ง สมศรีไดรับการยอมรับจากเพ่ือน และครูวาเปนคนขยัน มีน้ําใจ บางวันท่ีตองไปชวยแมกวาดถนนเพราะแมไมสบาย สมศรีทํางานดวยความอดทนเสมอมา เธอพยายามเก็บเงินท่ีไดจากการรับจางมาเปนคาเทอม คาสมุด ดินสอ ไมเปนภาระของแม จนทําใหสมศรีสอบไดคะแนนท่ี ๒ ของหอง ความหวังของสมศร ีคือ ตองการเรียนตอมหาวิทยาลัย แลวประกอบอาชีพท่ีจะนํารายไดมาสูครอบครัว และจะเล้ียงแมดวยความกตัญู

๔. เร่ือง พลาดพลั้งเสียแลว นภา ทํากับขาวเย็น เม่ือทอดปลาทูเสร็จแลวจึงวางจานปลาทูไวบนโตะกินขาว แลวหันกลับ

เตรียมทํากับขาวอ่ืนตอ ปรากฏวาแมวตัวใหญขางบานกระโดดเขามาคาบปลาทูในจานวิ่งหนีไป เธอโมโหมากดวยความโกรธจึงวิ่งตามเอาไมตีหลังแมวอยางแรง แมวกระโดดหนีไป วันรุงขึ้นเธอก็เห็นแมวตัวนั้นอีก แตคราวนี้มันไมวิ่งมาขโมยอะไร แตเดินแบบผิดปกติหลังแอน ขากะโผลกกะเผลก เธอรูสึกเสียใจมากท่ียั้งมือไมทัน ทําใหแมวเจ็บปวดและพิการ

Page 79: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๗๙ความรูสําหรับครู

หลักกรรมตามแนวพุทธ เรียบเรียบโดย พระมหาสําราญ จิตตสุโข

เม่ือจะพูดถึงเรื่อง “กรรม” ซ่ึงเปนหลักธรรมท่ีสําคัญและเปนท่ีสนใจของพุทธศาสนิกชนเปน

จํานวนมาก ควรมีการทําความเขาใจเกีย่วกับเรื่อง ความหมายของกรรมเสียกอน เพราะคนสวนใหญมักมีความเขาใจคลาดเคล่ือนในความหมายของกรรม กลาวคือ ในประเด็นแรกจะมองกรรมในแงของผลของการกระทําในทางลบ หรือผลรายของการกระทํา ซ่ึงเกิดขึ้นในชาติอดีต เชน เม่ือไปพบวาใครประสบภัยพิบัติหรือเหตุราย ก็จะพูดวานั่นเปนกรรมของสัตว หรือชาติกอนทํากรรมมาไมด ีชาตินี้กมหนารับกรรมไปเถิด ทีนี้ถาเราพิจารณาความหมายของกรรมในแงท่ีถูกตอง กรรม หมายถึง การกระทําท่ีทําไปดวยเจตนา ซ่ึงอาจแสดงออกทางกาย วาจา หรือใจ เปนอดีต ปจจุบัน หรืออนาคต ดีหรือช่ัว ก็ไดจัดเปนกรรมท้ังส้ิน

ถาพิจารณาในประเด็นท่ีสอง การมองเรื่องกรรมมักมีทัศนคติในแงลบคือ ทอดธุระ ยอทอ หรือยอมแพ เชน เราทํากรรมมาไมด ีกมหนารับกรรมไปเถิด ความรูสึกเชนนี้เปนการยอมรับความผิดท่ีตนกอขึ้นมา แตขาดการสํานึกตอเนื่องในการพัฒนาปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้น การเขาใจความหมายของกรรมสนแงของการยอมรับและเสร็จส้ิน จะทําใหไดประโยชนจากหลักคําสอนเรื่องกรรมนอย

การสอนเรื่องกรรมมีมาแตเดิม ในศาสนาพราหมณ ฮินด ูนิครณห หลักคําสอนจะเนนเรื่องอดีตชาติ ท้ังนี้เพ่ือเปนฐานในการรอบรับการแบงแยกวรรณะ แตพระพุทธศาสนาสอนเรื่องกรรม เพ่ือหักลางเรื่องวรรณะ วัตถุประสงคของการสอนเร่ืองกรรม พระพุทธเจาทรงสอนเรื่องกรรม โดยมีความมุงหมาย ดังนี ้

๑. ใหเลิกการแบงแยกชนช้ันโดยกําเนิน ท้ังนี้เพ่ือขจัดความเช่ือและการประพฤติปฏิบัติในสังคมศาสนาพราหมณเกี่ยวกับเรื่องวรรณะ โดยตรัสวา คนเราไมไดเปนคนถอย คนต่ําทรามเพราะชาติกําเนิด และไมไดเปนพราหมณ คือ คนสูงเพราะชาติกําเนิด แตคนจะเปนคนทรามก็เพราะกรรม เปนพราหมณก็เพราะกรรม กรรมในท่ีนี้ คือ การกระทํา หรือในความหมายท่ีหยาบท่ีสุด คือ อาชีพการงาน การขยายเรื่องกรรมของพระพุทธเจา เพ่ือเนนความประพฤติเปนเกณฑสําคัญในการวัดคน

๒. ใหรูจักพ่ึงตนเองและหวังความสําเร็จดวยการลงมือทํา ท้ังนี้เพ่ือใหคนมีความเพียรพยายามในการกระทําโดยไมหวังพ่ึงปจจัยภายนอกท่ีไมยั่งยืน ไมแนนอน

การใหผลของกรรม

Page 80: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๐ ๑. ระดับจิตใจ ตามหลังพุทธศาสนามีการแบงจิตเปน ๒ ระดับ คือ จิตระดับวิถี และจิต

ระดับภวังค ซ่ึงกลาวงาย ๆ คือ จิตสํานึกและจิตใตสํานึก จิตสํานึกคือ จิตท่ีรูตัวท่ีพูด ทําคิดส่ิงตาง ๆ สวนจิตไรสํานึกเปนจิตท่ีเราไมรูตัว แตเปนสวนของจิตท่ีเก็บและบันทึกทุกส่ิงท่ีเรารับรู ท้ังทางตา หู จมูก ล้ิน กาย การใหผลของกรรมจะถูกส่ังสมไวในจิตสวนนี ้และมีผลปรับปรุงแตงชีวิตของเรา ท้ังทางบวกและทางลบ

๒. ระดับบุคลิกภาพ (นิสัย) ซ่ึงเดจากการส่ังสมเรื่องนั้น ๆ ในจิตไรสํานึกบอยครั้ง จนกลายเปนนิสัย เชน ถาเรามีจิตโกรธบาย ๆ เปนคนฉุนเฉียว พบอะไรขัดจนนิดก็แสดงโทสะ แสดงความเกรี้ยวกราดออกมา จิตมีการส่ังสมสภาพจติเชนนี้จนเปนนิสัยโกรธงาย ตอสมาสภาพจิตก็แสดงออกทางหนาตา เชน หนานิ่วคิ้วขมวด กลายเปนส่ิงท่ีเราเรียกวา บุคลิกภาพอกมามีผลท้ังตอตัวเองและผูอ่ืน เชน คนท่ีเขาเห็นไมอยากคบไมอยากพูดคุยดวย รวมความแลว จากความคิดออกมาเปนลักษณะนิสัย เปนบุคลิกภาพ และเปนวิถีชีวิตคนนั้น

วิถีชีวิตของคนที่เกี่ยวของกับกรรม

ตามหลักพุทธศาสนา สามารถแบงวิถีชีวิตของคนไดเปน ๔ จําพวกใหญ ๆ กลาวคือ ๑. กลุมท่ีมืดมามืดไป ซ่ึงหมายถึง กลุมบุคคลท่ีเกิดมาในตระกูลต่ํา ในสภาพแวดลอมท่ีไมด ี

ขณะดําเนินชีวิตในปจจุบันสรางแตกรรมช่ัว ๒. กลุมมืดมาแลวสวางไป หมายถึง กลุมบุคคลท่ีเกิดมาในตระกูลต่ําในสภาพแวดลอมไมด ี

แตขณะดําเนินชีวิตในปจจุบันสรางแตกรรมด ี๓. กลุมสวางมามืดไป หมายถึง กลุมบุคคลท่ีเกิดมาในตระกูลท่ีดี ในสภาพแวดลอมท่ีด ีแต

ดําเนินชีวิตในทางท่ีไมดี คือ สรางแตกรรมช่ัวในปจจุบัน ๔. กลุมสวางมาสวางไป หมายถึง กลุมบุคคลท่ีเกิดมาในตระกูลท่ีดีในสภาพแวดลอมท่ีด ีและ

ดําเนินชีวิตในทางท่ีดี คือ สรางแตกรรมดีในปจจุบัน การใหผลของกรรม

ทางพระพุทธศาสนาไดจัดกรรมคือการกระทํา ในลักษณะท่ีใหผลท่ีแตกตางกันไว ๑๒ ประเภท แบงเปน ๓ หมวด หมวดละ ๔ ขอ ดังนี้คือ

ก. กรรมที่ใหผลตามกาลเวลา ๑. ทิฏฐิธัมมเวทนียกรรม คือ กรรมท่ีใหผลในชาตินี ้๒. อุปปชชเวทนียกรรม คือ กรรมท่ีใหผลในชาติหนา ๓. อปราปรเวทนียกรรม คือ กรรมท่ีใหผลในชาติตอ ๆ ไป ๔. อโหสิกรรม คือ กรรมท่ีเลิกไมใหผล คือ ใหผลเสร็จไปแลวหรือหมดโอกาสจะใหผลไดตอไป

Page 81: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๑ ข. กรรมที่ใหผลตามหนาที ่๕. ชนกกรรม คือ กรรมทีใหแลคลายบิดา คือ แตงใหเกิดมาดีช่ัวตางกัน ท้ังนี้ตองคํานึงถึง

กาลสมบัต ิคือ กาลเวลา ยุคสมัย ปโยคสมบัติ คือ การลงมือทํา

สวน วิบัติ ก็มี ๔ อยางดวย เชนกัน แตมีความหมายในทางตรงขาม คือ ทําลายหรือขัดขวาง เชน ก. และ ข. มีความรูดีเทากัน ขยัน นิสัยดีท้ังคู แตเขาตองการรับคนงานทําหนาท่ีประชาสัมพันธ ก. มีหนาตาสวยกวา ข. ฉะนั้นเขาจึงเรียก ก. เขาทํางาน เปนตน แสดงวา ข. มีอุปธิวิบัต ิคือ ขอเสียในรางกาย

ในเรื่องของคติวิบัติก็เชนกัน เชน สมมติวาทานเปนคนมีสติปญญาด ีแตไปเกิดในปา แทนท่ีจะไดเปนนักวิยาศาสตรท่ีเกงกลา แตไมไดเปนเพราะผลแหงการเกิดในท่ีท่ีไมเหมาะสม

กาลวิบัติ เชน ถาทานเปนคนเกงดานศิลปะ แตทานเติบโตมาในยุคสงคราม ทานก็จะไมไดรับการเชิดชูความสามารถดานนี ้เรียกวา เปนภาววิบัต ิ

ปโยควิบัต ิเชน ทานเปนคนวิ่งเร็วแทนท่ีจะมาวิ่งในการแขงกีฬา แตทานกลับไปวิ่งราว ลักขโมย ทําใหไดรับผลราย เปนตน

ในฐานะท่ีเราเปนชาวพุทธ เราควรฉลาดรอบคอบในการทํากรรมใหถูกตอง ท้ังในขั้นแรก เปนผลดีในระดับจิตใจและระดับวิถีชีวิต กลาวคือ ควรเลือกทํากรรมด ีเพ่ือใหไดผลดีมีความสุข และในขั้นท่ี ๒ การท่ีจะใหกิจการงานเราไดผลดีมากหรือนอยตองพิจารณาคต ิอุปธิกาล ปโยค มาใชโดยวิธีฉวยโอกาส เชน กาลสมบัต ิฉวยโอกาสวาคนสมัยนี้ตองการส่ิงใด ก็ทําในส่ิงท่ีเขาตองการ จะดีหรือเลวไมสนใจ คือมุงแตผลขั้นท่ี ๒ แตไมคํานึงถึงผลขั้นท่ี ๑ ฉะนั้น การทํางานใหไดผลสมบูรณ ควรมองผลท้ัง ๒ ดาน ดวย

การศึกษาเรื่องกรรมตามแนวพุทธนั้น จําเปนตองพิจารณาในแงของตัวกรรมท่ีดีท่ีช่ัวเอง และองคประกอบเรื่องคติ อุปธิกาล ปโยค ถาตองการผลภายนอกมาประกอบ ท้ังนี้เพ่ือการปรับตัวและพัฒนาตัวเอง เชน สมมติมีคน ๒ คน ทํางานอยางเดียวกันมีคุณสมบัติเหมือนกัน แตรางกายคนหนึ่งดี อีกคนไมด ีตองยอมรับวาตัวเองมีอุปธิวิบัต ิเม่ือรูแลวก็ปรับปรุงตัวเอง เม่ือแกท่ีรางกายไมได ก็เพ่ิมคุณสมบัติดานอ่ืน เชน ใหมีความสามารถมากขึ้น หรือสรางความดีอ่ืนขึ้น เพ่ือใหมีอะไรเหนือขึ้น นี่เปนการรูจักการเอาหลักคติ อุปธิกาล ปโยค เขามาประกอบและใชเปนประโยชน ประโยชนของการศึกษาเร่ืองกรรม

การศึกษาและเขาใจเรื่องกรรมอยางแทจริง จะชวยใหผูศึกษา ๑. มีความเช่ือวาผลสําเร็จตาง ๆ ของชีวิต เปนเพราะการกระทําของตนเอง ๒. มีความเช่ือม่ันในตนเอง ๓. เปนคนหนักแนนเช่ือในเหตุผล ๔. มีความเช่ือม่ันวาวิถีชีวิตเปนส่ิงท่ีเปล่ียนแปลงได โดยตนเอง

Page 82: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๒ ๕. มีความเขาใจวาคนเราแตกตางกันเพราะความประพฤต ิ๖. พิจารณากรรมเกาในแงเปนบทเรียนของชีวิต

Page 83: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๓ ประโยชนของการปฏิบัติกรรมฐาน

เรียบเรียง โดย ดร.อุบล เลี้ยววาริน เม่ือวานนี้เราไปฝกหัดการปฏิบัติกรรมฐาน โดยไดหัดเดินจงกรม นั่งสมาธิ และกําหนด

อิริยาบถและขอใหอาจารยไดปฏิบัติท่ีบานดวย วันนี้เราจะมาพูดคุยกันตอถึงผลท่ีจะเกิดขึ้น ถาเรามีการปฏิบัติจริง กลาวคือ เม่ือจิตมีสมาธิจะเกิดอาการตาง ๆ ท่ีเราเรียกวา ปต ิซ่ึงเปนความปล้ืมอ่ิมเอิบใจของจิตเกิดขึ้น แบงออกไดเปน ๕ ประเภท ไดแก (๑) ขุททกาปติ เปนปติเล็กนอย มีการขนลุก ขนตั้ง (๒) ขณิกาปต ิเปนปติช่ัวขณะ มีอาการหลายแบบ เชน เสียวแปลบ ๆ คัน กระตุก เขมน น้ําตาไหล เปนตน (๓) โอกกันติการปต ิเปนปติเปนพัก ๆ เชน ตัวโยก ตัวไหว ตัวเอน ตัวหมุน เปนตน (๔) อุเพงคาปต ิเปนปติโลดโผน กลาวคือ มีอาการ ตัวลอย (บางคนตัวลอยขึ้นเหนือพ้ืนจริง )ๆ ตัวใหญ ตัวเบา เปนตน (๕) ผรณาปต ิเปนปติซาบซาน มีอาการตัวเย็น ฉะนั้นเวลาปฏิบัติ ใครจะเกิดหรือไมเกิดอยาไปเทียบเคียงกับเพ่ือนเพราะจะทําใหผลการปฏิบัติชงัก เนื่องจากความตองการอยากมีอาการเชนนั้น ๆ เหมือนคนอ่ืนบาง

การปฏิบัติกรรมฐาน พยายามอยางมาก เชน อยากนั่งไดนาน ๆ อยากไดผลเชนเพ่ือน เพราะส่ิงเหลานี้จะเปนตัวขัดขวางการปฏิบัต ิซ่ึงเราเรียกทางภาษาธรรมวา นวิรณ ซ่ึงมีตัวอยูดวยกัน ๕ ประเภท คือ (๑) กามฉันทะ คือ อยากได รักใคร เปนโลภะ (๒) พยาบาท คือ ความรูสึกคับแคนใจท่ีอยากไดแตไมได หรือความรูสึกพยาบาทปองรายซ่ึงเปนโทสะ (๓) ถีนมิทธะ คือ ความรูสึกหดหู เซ่ืองซึม ทอแท เกียจคราน งวงเหงาหาวนอน ซ่ึงเปนโมหะ (๔) อุทธัจจกุกกุจจะ คือ ความรูสึกฟุงซาน รําคาญใจ หงุดหงิด (๕) วิจิกิจฉา คือ ความรูสึกลังเลใจสงสัย ไมม่ันใจในผลของการปฏิบัติวามีจริง เปนตน อาการท้ัง ๕ นี้ จะเกิดขึ้นในทุกคนท่ีปฏิบัติ ซ่ึงเราจะตองแกไข โดยพยายาม “สรางเหต”ุ คือทําโดยไมหวังผล เม่ือสรางเหตุเพียงพอผลจะเกิดขึ้นเอง ทําใหจิตรวมนิ่ง เขาสูความซึมซาบในอารมเรียก วิตก และเม่ือเราประคองอารมณนั้น ๆ เรียกวา วิจารก็จะเกิดปติ เม่ือวางเฉยก็จะเกิดสุขจากความสงบ และจิตนิ่งดิ่ง เปนอารมณเดียว เรียก เอกัคคตา

การปฏิบัติกรรมฐานในระยะแรก ๆ คอนขางจะเปนการทวนกระแสทางโลก อาจารยอาจรูสึกอึดอัด ลําบากใจ แตอาจารยตองอดทน ซ่ึงพอจะแบงออกไดกวาง ๆ ๒ แนวทาง คือ ประโยชนทางโลกกับทางธรรม สําหรับประโยชนทางโลกนั้น ในขั้นตนไดความอ่ิมเอิบใจในความสําเร็จท่ีตั้งใจทํา ไดความสุขสงบจากากรท่ีจิตตั้งอยูในอารมณเดียว นอกจากนี้ทําใหเปนผูมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ มีความรอบคอบ ตัดสินใจไดรวดเร็วและถูกตองชวยลดความเครียด เพราะขณะนั่งสมาธิ ถาจิตเขาสูขณิกสมาธิ ระดับลมหายใจจะลดลงเหลือ ๑๒-๑๕ ครั้ง/นาที โดยปกติคนเราจะหายใจโดยเฉล่ี ๑๕-๑๘ ครั้ง/นาที คล่ืนสมองยิ่งเปะปะ ไมเปนระเบียบ และถาจิตเขาสูสมาธิขั้นกลาง ลมหายใจจะเหลือ ๘-๑๑ ครั้ง/นาที คล่ืนสมองเริ่มเปนระเบียบ เม่ือจิตเขาสูสมาธิขั้นสูง ลมหายใจจะเหลือ ๔-๗ ครั้ง/นาที และคล่ืนสมองจะเปนระเบียบชัดเจนทําใหรางกายไดพักลึก ชวยปรับสภาวะของรางกายใหสมดุลย ซ่ึงนอกจากจะมี

Page 84: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๔ประโยชนตอรางกายแลว ยังชวยในการรักษาโรคบางอยางได เชน พบวามีผูท่ีเปนโรคไขมันอุดตันในเสนเลือดนั่งสมาธิทุกวันประมาณ ๒ เดือน ไดหายจากโลก การนั่งสมาธิยังมีประโยชนตอการเรียน ชวยใหเรียนไดดีขึ้นเพราะมีความจําดีขึ้น เปนตน

นอกจากนี้ การปฏิบัติกรรมฐานยังชวยใหจิตมีพลัง มีความเขมแข็งท่ีจะตอสูกับความแปรผัน และอุปสรรคในชีวิต ทําใหรูธรรมชาติของชีวิตวาทุกส่ิงทุกอยางไมเท่ียงแทแนนอน บังคับบัญชาไมได รูคุณและโทษของการเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน ระลึกรูถึงบาปและบุญ พรอมท่ีจะทําใหจิตใจของตนใหบริสุทธ์ิยิ่งขึ้น

สําหรับประโยชนในทางธรรม การปฏิบัติกรรมฐานจะชวยใหจิตมีตบะ คือ มีความเขมแข็งไมหวั่นไหวงาย สามารถเผาผลาญกิเลสตาง ๆ ได และในบางทานอาจทําใหเกิดอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริยตาง ๆ ท่ีเรียกวา อภิญญา ไดแก มีหูทิพย ตามทิพย รูภาวะจิตผูอ่ืน ระลึกชาติได เปนตน และท่ีสําคัญคือ สามารถทําตนใหพนจากทุกขท้ังปวงได

Page 85: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๕กลุมสัมพันธ

๑. กิจกรรมที่ ๔ เพ่ือนดี เราด ี๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การควบคุมตนเองทางกาย วาจา ใจ ๓.๒ การยอมรับในผลการกระทําของตนเอง ๓.๓ การเห็นแกประโยชนสวนรวม ๓.๔ การตรงตอเวลา ๓.๕ ความมีเหตุผล ๓.๖ การยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืน ตามกฎเกณฑของสังคม ๓.๗ การเคารพในสิทธิและหนาท่ีของกันและกัน

๔. จุดประสงค ๔.๑ เพ่ือใหนักเรียนภายในกลุมไดรูจักกัน ๔.๒ เพ่ือใหนักเรียนสามารถเลือกผูนํากลุมได ๔.๓ เพ่ือใหนักเรียนทราบบทบาทของสมาชิกกลุม

๕. แนวคิด แนวการอยูรวมกันเปนกลุมยอยเกิดความสับสนวุนวาย กฎ ระเบียบ กติกา เปนส่ิงท่ีทุกคน

ควรมี คือ ปฏิบัติโดยการสรางระเบียบดวยมติของกลุม ทําใหเกิดระบบระเบียบ มีความเปนกลุมท่ีมีระบบภายใตเง่ือนไขท่ีถูกตองเปนท่ียอมรับของทุกคน ผูนําและสมาชิกรูจักบทบาทและหนาท่ียอมทําใหสังคมสงบสุข ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ แจกกระดาษรูปหัวใจคนละ ๑ แผนใหนักเรียนทุกคนไปถามช่ือเพ่ือน แลวกรอกช่ือ

เพ่ือนดานหนารูปหัวใจ และถามความดีของเพ่ือน ๑ ความด ีเขียนลงในแผนหัวใจดานหลัง ดําเนินการใหทันตามเวลาท่ีกําหนด ๓ นาที ใหไดอยางนอยคนละ ๕ ช่ือ

ดานหนา ช่ือ............

ดานหลัง ความด.ี.....

Page 86: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๖๖.๒ ใหนักเรียนหาความดีของเพ่ือนไดมากท่ีสุดออกมาเสนอรายช่ือเพ่ือน ขณะอานช่ือให

เพ่ือนท่ีถูกอานยืนขึ้นแลวฟงท่ีเพ่ือนอาน สมาชิกอ่ืนคอยฟงแลวปรบมือใหเม่ืออานความดีของเพ่ือนแตละคน

๖.๓ สุมตัวอยางประมาณ ๒-๓ คน แลวถามสมาชิกวาใครยังมีเพ่ือนท่ียังไมไดถูกแนะนําความดีใหอานช่ือพรอมการกระทําความด ี

ขั้นกิจกรรม ๖.๔ ครูนํากอนหินท่ีมีเสนผาศูนยกลางประมาณ ๑ นิ้ว กลุมละ ๑๕ กอนใหแบงสมาชิกออกเปน

กลุม ๆ ละ ๑๕ คน จะไดคนละ ๑ กอน ๖.๕ ใหสมาชิกแตละกลุมเรียงกอนหินท่ีแตละคนมีอยูในกลุมเรียงใหสูงท่ีสุด โดยมีกติกาดังนี ้

- ใหวางเรียงเปนฐาน ๔ กอน กอนอ่ืน ๆ หามถูกพ้ืน - เวียนกันเปนหัวหนา โดยกําหนดบทบาทใหเปนผูส่ังการได ผูวางกอนหินหามเสนอความคิดเห็น

- ใชเวลาภายในกําหนด ๓ นาที ๖.๖ ถามสมาชิกกลุมท่ีสามารถทําไดเสร็จตามเวลา/กลุมท่ีไมสามารถทําไดสําเร็จ ทําอยางไรจึง

ประสบความสําเร็จ/ไมสําเร็จ - วางแผนอยางไร - มีความรูสึกอยางไรตองานท่ีไดรับมอบหมาย - ใครเปนผูนําในการวางแผน - กิจกรรมนี้ใหขอคิดอะไรแกนักเรียนบาง - นักเรียนนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร

ขั้นสรุป ๖.๗ ครูสรุปในประเด็นตอไปนี ้

- การทํางานใหสําเร็จตองมีการวางแผนรวมกัน - สมาชิกในกลุมตองรวมมือกัน - งานบางอยางมีความยุงยากตองใชเวลาและความพยายามอยางยิ่ง อยาทอแท

๖.๘ ครูและนักเรียนรวมอภิปราย การนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร ๖.๙ นักเรียนตั้งใจจะนําไปใชท่ีบานนักเรียนอยางไร

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ กระดาษรูปหัวใจ ๗.๒ นกหวีด ๗.๓ กอนหิน/กอนกรวด

Page 87: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๗ ๗.๔ ปากกา/ดินสอ

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกตการเขารวมกิจกรรม

- ความกระตือรือรน - การรวมแสดงความคิดเห็น - การวางแผนงาน - ความสําเร็จของงาน - การแกปญหาอุปสรรค

๘.๒ สัมภาษณ - ความรูสึก - ประโยชนท่ีไดรับ

๘.๓ การประเมินผล - ความรวมมือของกลุมในการทํางานรวมกัน - การเขารวมกิจกรรมอยางสนใจ - แสดงความรูสึกและความคิดเห็นกับสมาชิกในกลุม - การบอกประโยชนการนําไปใชในชีวิตประจําวัน

Page 88: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๘

กิจกรรมประจําฐาน วันท่ี ๒ ของการอบรม (ภาคเชา) ฐานท่ี ๑ พระคุณของพระรัตนตรัย ฐานท่ี ๒ พระคุณของคุณพอคุณแม ฐานท่ี ๓ พระคุณของคุณครู ฐานท่ี ๔ พระคุณของพระมหากษัตริย

Page 89: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๘๙พระคุณของพระรัตนตรัย

๑. กิจกรรมที่ ๑ พระคุณของพระรัตนตรัย ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

นักเรียนปฏิบัติตนเปนคนมีความกตัญู ตอบแทนพระคุณของพระรัตนตรัย และเลือกปฏิบัติตามวัฒนธรรมอันดีงาม

๔. จุดประสงค ๔.๑ สามารถบอกความหมายของพระรัตนตรัยได ๔.๒ ปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนท่ีดีได ๔.๓ เห็นคุณคาของพระรัตนตรัย และมีจิตใจอยากตอบแทนพระคุณ

๕. แนวคิด พระรัตนตรยั หมายถึง พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ พระพุทธเจา เปนผูมีคุณอุปการะแกโลกมาก ประกอบดวย พระกรุณาธิคุณ พระ

บริสุทธิคุณ และพระปญญาธิคุณ พระธรรม เปนคําสอนของพระพุทธเจา ชวยใหผูประพฤติอยูในสังคมไดอยางมี

ความสุข พระสงฆ เปนผูนําคําสอนของพระพุทธเจามาส่ังสอนประชาชน และสืบทอด

คําสอนมาจนถึงปจจุบัน ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ๖.๑ แบงนักเรียนเปนกลุมยอย กลุมละ ๕ คน ใหเรียกวากลุมหลัก (Home Group) ถาเหลือเศษ

ใหกระจายไปอยูกลุมตาง ๆ ๖.๒ ประธานกลุมอานหัวขอยอยตามบัตรงานท่ี ๑ เพ่ือใหสมาชิกในกลุมเลือกหัวขอยอยตาม

ความสนใจของแตละคน ๖.๓ นักเรียนท่ีเลือกหัวขอยอยเดียวกัน แยกจากกลุมเดิมไปเขากลุมตามหัวขอยอยท่ีเลือกไว ทํา

กิจกรรมรวมกันตามใบงานท่ี ๒ ใหเรียกกลุมใหมนี้วากลุมผูเช่ียวชาญ (Expert group) ซ่ึงกลุมใหมนี้จะไดมอบบัตรงานดังนี ้

๑) กลุมท่ีเลือกหัวขอยอย ๑ ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรงานท่ี ๒/๑ ๒) กลุมท่ีเลือกหัวขอยอย ๒ ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรงานท่ี ๒/๒ ๓) กลุมท่ีเลือกหัวขอยอย ๓ ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรงานท่ี ๒/๓ ๔) กลุมท่ีเลือกหัวขอยอย ๔ ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรงานท่ี ๒/๔ ๕) กลุมท่ีเลือกหัวขอยอย ๕ ปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรงานท่ี ๒/๕

Page 90: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๐๖.๔ นักเรียนในกลุมเช่ียวชาญปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลวใหกลับเขาสุกลุมหลักแลวผลัดกัน

อธิบายใหสมาชิกในกลุมหลักฟง โดยเริ่มตั้งหัวขอยอยท่ี ๑ จนถึงหัวขอยอยท่ี ๕ ๖.๕ ใหสมาชิกในกลุมหลักสรุปตามบัตรงาน ๓ ๖.๖ ครูสรุปคุณของพระรัตนตรัยอีกครั้งดังนี ้ พระพุทธเจาทรงปฏิบัติเพ่ือศึกษาคนควาหาหลักธรรมดวยพระองคเอง พระองคไดพบ

หลักธรรมแลวทรงสอนใหผูอ่ืนรูตาม นับเปนคุณของพระพุทธเจาเปนอยางยิ่ง พระธรรมเปนคําสอนของพระพุทธเจาท่ีใครนําไปปฏิบัติแลว พระธรรมจะคุมครองผู

นั้นไมใหเดือดรอน จะมีความสุข นับเปนคุณพระธรรม พระสงฆเปนผูปฏิบัติตามคําสอนพระพุทธเจา แลวสอนใหผูอ่ืนปฏิบัติตามเปนการ

รักษาพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาใหชนรุนหลังไดปฏิบัติ นับเปนคุณของพระสงฆ ๗. ส่ือการจัดกิจกรรม บัตรงานท่ี ๑, ๒, ๓ (บัตรงานท่ี ๒ แยกเปนบัตรงานยอยจํานวน ๕ กลุม ใสซองครบทุกกลุม)

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกตการปฏิบัติงานกลุม ๘.๒ ผลสรุปของกลุมหลัก (Home Group)

บัตรงานที่ ๑ ๑. ใหนักเรียนเลือกประธานของกลุม ๒. ประธานกลุม เลือกเลขา และผูอภิปรายเสนอผลงานของกลุม ๓. ประธานกลุมอานหัวขอยอยใหสมาชิกในกลุมฟง และใหสมาชิกทุกคนเลือกหัวขอเรื่องคนละ ๑ หัวขอ ดังนี ้

หัวขอยอยท่ี ๑ อภิปรายเกี่ยวกับศีลขอ ๑ หัวขอยอยท่ี ๒ อภิปรายเกี่ยวกับศีลขอ ๒ หัวขอยอยท่ี ๓ อภิปรายเกี่ยวกับศีลขอ ๓ หัวขอยอยท่ี ๔ อภิปรายเกี่ยวกับศีลขอ ๔ หัวขอยอยท่ี ๕ อภิปรายเกี่ยวกับศีลขอ ๕

๔. ใหสมาชิกในกลุมแยกยายกันไปอภิปรายรวมกับคนท่ีเลือกหัวขอยอยเดียวกัน โดยจับกลุมใหมท่ีจะอภิปรายเรื่องเดียวกัน

บัตรงานที่ ๒

ใหนักเรียนอภิปรายประเด็นปญหาตอไปนี ้

Page 91: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๑ ๑. นักเรียนคิดวาการเบียดเบียนสัตว การฤาสัตว มีผลเสียอยางไร ยกตัวอยางความ

เดือดรอนท่ีเกิดจากการเบียดเบียนสัตวหรือฆาสัตวท่ีเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นในชีวิตจริง และนักเรียนมีความรูสึกอยางไรกับเหตุการณนั้น

๒. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีเคยเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นมาวา คนท่ีมีความเมตตากรุณา ไมเบียดเบียนสัตวหรือฆาสัตวนัน้ไดรับผลด ีมีความสุขในชีวิตอยางไรบาง

๓. ใหกลุมเลือกเรื่องท่ีเห็นวาประทับใจมากท่ีสุด ๑ เรื่อง เพ่ือนําไปเสนอในกลุมของตน

บัตรงานที่ ๒/๒ ใหนักเรียนอภิปรายประเด็นปญหาตอไปนี ้

๑. นักเรียนคิดวาการลักขโมยส่ิงของผูอ่ืน มีผลเสียอยางไร ยกตัวอยางความเดือดรอนท่ีเกิดจากการลักขโมยท่ีเคยเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นในชีวิตจริง และนักเรียนมีความรูสึกอยางไรกับเหตุการณนั้น

๒. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีเคยขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นมาวา คนท่ีไมลักขโมยส่ิงของผูอ่ืน ประกอบอาชีพท่ีสุจริตนั้นไดรับผลด ีมีความสุขในชีวิตอยางไรบาง

๓. ใหกลุมเลือกเรื่องท่ีเห็นวาประทับใจมากท่ีสุด ๑ เรื่อง เพ่ือนําไปเสนอในกลุมของตน

บัตรงานที่ ๒/๓

ใหนักเรียนอภิปรายประเด็นปญหาตอไปนี ้๑. นักเรียนคิดวาการประพฤติผิดในลูก-เมียผูอ่ืน มีผลเสียอยางไร ยกตัวอยางความเดือดรอนท่ี

เกิดจากการประพฤติผิดในลูก-เมียท่ีเคยเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นในชีวิตจริง และนักเรียนมีความรูสึกอยางไรกับเหตุการณนั้น

๒. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีเคยขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นมาวา คนท่ีไมประพฤติผิดในลูก-เมียผูอ่ืน ซ่ือสัตยตอครอบครัวนั้นไดรับผลด ีมีความสุขในชีวิตอยางไรบาง

๓. ใหกลุมเลือกเรื่องท่ีเห็นวาประทับใจมากท่ีสุด ๑ เรื่อง เพ่ือนําไปเสนอในกลุมของตน

บัตรงานที่ ๒/๔ ใหนักเรียนอภิปรายประเด็นปญหาตอไปนี ้

๑. นักเรียนคิดวาการพูดโกหก หลอกลวง มีผลเสียอยางไร ยกตัวอยางความเดือดรอนท่ีเกิดจากการพูดโกหก หลอกลวงท่ีเคยเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นในชีวิตจริง และนักเรียนมีความรูสึกอยางไรกับเหตุการณนั้น

Page 92: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๒ ๒. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีเคยขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นมาวา คนท่ีไมพูดโกหก

หลอกผูอ่ืน คนท่ีซ่ือสัตยนั้นไดรับผลด ีมีความสุขในชีวิตอยางไรบาง ๓. ใหกลุมเลือกเรื่องท่ีเห็นวาประทับใจมากท่ีสุด ๑ เรื่อง เพ่ือนําไปเสนอในกลุมของตน

บัตรงานที่ ๒/๕

ใหนักเรียนอภิปรายประเด็นปญหาตอไปนี ้๑. นักเรียนคิดวาการดื่มสุราหรือเสพส่ิงเสพติดอ่ืน ๆ มีผลเสียอยางไร ยกตัวอยางความ

เดือดรอนท่ีเกิดจากการดื่มสุราหรือเสพส่ิงเสพตดิอ่ืน ๆ ท่ีเคยเกิดขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นในชีวิตจริง และนักเรียนมีความรูสึกอยางไรกับเหตุการณนั้น

๒. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีเคยขึ้นกับตนเองหรือท่ีเคยพบเห็นมาวา คนท่ีไมดื่มสุราหรือเสพส่ิงเสพติดอ่ืน ๆ นั้นไดรับผลด ีมีความสุขในชีวิตอยางไรบาง

๓. ใหกลุมเลือกเรื่องท่ีเห็นวาประทับใจมากท่ีสุด ๑ เรื่อง เพ่ือนําไปเสนอในกลุมของตน

ใบงานที ่๓ (สําหรับกลุมหลัก)

๑. ใหสมาชิกกลุมเลาเรื่องท่ีประทับใจจากเรื่องท่ีกลุมผูเช่ียวชาญเลือกไวมาเลาใหสมาชิกในกลุมหลักฟงในประเด็นตอไปนี ้

๑.๑ เรื่องท่ีประทับใจ ๑.๒ ผลท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติเชนนั้น

๒. เม่ือนักเรียนเลาครบทุกกลุมแลวใหอภิปรายรวมกันวา ถาเราปฏิบัติศีลครบท้ัง ๕ ขอแลว จะเกิดผลดีอยางไร

๓. ใหนักเรียนชวยกันตอบปญหาตอไปนี ้๓.๑ ศีลท่ีนักเรียนไดรวมอภิปรายนั้น ผูท่ีกําหนดขึ้นคือ............................................ ๓.๒ คําสอนของพระพุทธเจามีท้ังขอหามไมใหกระทําคือศีล และขอท่ีควรกระทําคือ

ธรรม รวมเรียกวา.................................................... ๓.๓ ผูท่ีศึกษาคําสอนของพระพุทธเจา แลวนํามาปฏิบัติจนเกิดผล และนํามาส่ังสอน

ผูอ่ืนสืบตอมาจนถึงปจจุบัน คือ.....................................................

Page 93: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๓ ความรูสําหรับครู

พระรัตนตรัย หลักศาสนธรรม ๑. พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา คือ คําสอนของพระพุทธเจา ซ่ึงพระพุทธองคไดทรงแสดงไวเม่ือครั้งพระองคยังทรงพระชนมอยู และมีหมูพระสงฆสาวกของพระพุทธองคไดจดจําศึกษาเลาเรียนพากเพียรอนุรักษสืบตอมาตราบเทาทุกวันนี ้คําสอนของพระพุทธเจานั้นเปน สัจธรรม ซ่ึงพระองคไดตรัสรูมาดวยพระองคเอง มิไดมีทานผูใดเปนครูเปนอาจารยส่ังสอน คําสอนของพระองคนั้น เรียกวา “พระธรรมวินัย” เม่ือจัดเปนคัมภีร เรียกวา “พระไตรปฎก” คือ ปฎกท้ัง ๓ อันไดแก พระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และพระอภิธรรมปฎก พระวินัยปฎก ๘ เลม พระสุตตันตปฎก ๒๕ เลม และพระอภิธรรมปฎก ๑๒ เลม ๒. รัตนะ ๓ อยาง

ส่ิงท่ีชาวพุทธเคารพบูชายกยองวาประเสริฐท่ีสุดในพระพุทธศาสนานั้น เรียกวาพระรัตนตรัย คือ รัตนะ ๓ อยาง หรือแกว ๓ ดวง ไดแก พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ และพระสงฆ ๑

๑. ทานผูไดตรัสรูสัจธรรมดวยพระองคเองแลวทรงส่ังสอนใหประชาชนประพฤติชอบดวย กาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัย ท่ีทานเรียกวา พระพุทธศาสนา ช่ือพระพุทธเจา

๒. พระธรรมวินัยท่ีเปนคําส่ังสอนของพระพุทธองค อันเรียกกันโดยท่ัวไปวา พระธรรม ๓. หมูชนท่ีฟงคําส่ังสอนของพระพุทธองค แลวปฏิบัติตามพระธรรมวินัยของพระพุทธองคท่ี

เรียกวา พระสงฆ พระรัตนตรัยนี้นับเปนโครงสรางของพระพุทธศาสนา ดวยพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นและดํารงอยู

ไดก็เพราะมีพระรัตนตรัย ๓. คุณของรัตนะ ๓ อยาง

พระพุทธเจาทรงรูดีรูชอบดวยพระองคเองกอน แลวทรงสอนใหผูอ่ืนรูตามดวย นี้เปนคุณของพระพุทธรัตนะ

พระธรรมยอมรักษาผูประพฤติธรรมไมใหตกไปในท่ีช่ัว นี้เปนคุณของพระธรรมรัตนะ พระสงฆปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจา แลวอนใหผูอ่ืนกระทําตามดวย นี้เปนคุณของ

พระสังฆรัตนะ คุณของรัตนะ ๓ อยางนี้ เปนคุณโดยยอ เฉพาะท่ีเปนสวนเกื้อกูลแกชาวโลก คือ พระพุทธเจา

ทรงมีพระคุณตอชาวโลก ท่ีทรงตรัสรูสัจธรรมแลวนํามาแสดงโปรดชาวโลก พระธรรมมีคุณตรงท่ีสามารถรักษาผูปฏิบัติตามใหเปนคนดีได ไมใหตกไปในท่ีช่ัว พระสงฆมีคุณตรงท่ีเปนผูปฏิบัติดีแลวสอนประชาชนใหปฏิบัติดีดวย ๔. โอวาทของพระพุทธเจา ๓ อยาง

Page 94: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๔ ๑. เวนจากการทุจริต คือ ประพฤติช่ัวดวย กาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือ ประพฤติชอบดวย กาย วาจา ใจ ๓. ทําใจของตนใหหมดจดจากเครื่องเศราหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เปนตน คําสอนในพระพุทธศาสนา อันมีอยูเปนจํานวนมากนั้น เม่ือกลาวโดยหลักสําคัญแลวยอม

รวมอยูในโอวาทของพระพุทธเจา ๓ อยางนี้ กลาวคือ พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนท่ีเปนหัวใจสําคัญอยู ๓ อยาง คือ คําสอนไมใหทําช่ัวดวย กาย วาจา ใจ สอนใหทําใจใหสะอาดผองแผว หรืออีกนัยหนึ่งวา สอนใหมี ศีล สมาธิ ปญญา ๕. อาการที่พระพุทธเจาทรงส่ังสอน ๓ อยาง

๑. ทรงส่ังสอนเพ่ือจะใหผูฟงรูยิ่งเห็นจริงในธรรมท่ีควรรูควรเห็น ๒. ทรงส่ังสอนอยางมีเหตุผลท่ีผูฟงอาจตรองตามใหเห็นจริงได ๓. ทรงส่ังสอนเปนอัศจรรย ผูปฏิบัติตามยอมไดประโยชนโดยสมควรแกการปฏิบัต ิอาการท่ีพระพุทธเจาทรงส่ังสอน หมายถึง ลักษณะการสอนของพระพุทธองคท่ีทําใหคําสอน

ของพระองคเกิดผลดีเดน โนมนาวจิตใจผูฟงใหเกิดศรัทธาอยากปฏิบัติตาม ซ่ึงทําใหหมูสาวกของพระองคเกิดความม่ันใจ เคารพเล่ือมใสตอพระองคเปนอยางยิ่ง กลาวโดยสรุปก็คือ การสอนของพระพุทธองคนั้นมีลักษณะสําคัญอยู ๓ ประการ คือ สอนดวยความรูยิ่งเพ่ือใหผูฟงรูยิ่งเห็นจริงดวย สอนอยางมีเหตุผลใหผูฟงมองเห็นเหตุผลโดยชัดแจง และสอนใหเห็นจริงไดผลเปนอัศจรรย คือ สอนใหมองเห็นแจงชัดสมจริง จนเม่ือผูฟงยอมรับปฏิบัติตามแลวยอมไดรับผลจริงตรงตามท่ีสอนอยางอัศจรรย ๖. ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย ๘ อยาง

๖.๑ ลักษณะท่ีมิใชธรรม มิใชวินัย มิใชคําส่ังสอนของพระพุทธเจา คือธรรมเหลาใด ๑. เปนไปเพ่ือความกําหนดยอมใจ ๒. เปนไปเพ่ือความประกอบทุกข ๓. เปนไปเพ่ือความสะสมกองกิเลส ๔. เปนไปเพ่ือความอยากใหญ ความโลภมาก ๕. เปนไปเพ่ือความไมสันโดษ ๖. เปนไปเพ่ือความคลุกคลีดวยหมูคณะ ๗. เปนไปเพ่ือความเกียจคราน ๘. เปนไปเพ่ือความเล้ียงยาก

ธรรมเหลานั้นพึงรูวาไมใชธรรม ไมใชวินัย ไมใชคําส่ังสอนของศาสดา ๖.๒ ลักษณะท่ีเปนธรรม เปนวินัย เปนคําส่ังสอนของพระพุทธเจา คือธรรมเหลาใด

๑. เปนไปเพ่ือความคลายกําหนัด ๒. เปนไปเพ่ือความปราศจากทุกข ๓. เปนไปเพ่ือความไมสะสมกองกิเลส

Page 95: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๕ ๔. เปนไปเพ่ือความมักนอย ๕. เปนไปเพ่ือความสันโดษ ๖. เปนไปเพ่ือความสงัดจากหมูคณะ ๗. เปนไปเพ่ือความเพียร ๘. เปนไปเพ่ือความเล้ียงงาย

ธรรมเหลานั้นพึงรูวาเปนธรรม เปนวินัย เปนคําส่ังสอนของพระศาสดา ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัยดังกลาวนี ้ควรนําไปใชเปนเครื่องวินิจฉัยเม่ือมีปญหาเกี่ยวกับการ

ตีความพระธรรมวินัย ในกรณีท่ีมีการกลาวอางหรือถกเถียงกันวา ส่ิงนี้เปนธรรมวินัย ส่ิงนี้มิใชธรรมวินัย

คําสอนใดหรือขอกลาวอางใดวา เปนคําสอนของพระพุทธเจา ถาคําสอนหรือขอกลาวอางนั้นเขากันไดกับลักษณะท่ีมิใชธรรม มิใชวินัย (ตามขอ ก.) พึงทราบวาคําสอนหรือขอกลาวอางนั้นมิใชคําสอนของพระพุทธเจา ถาคําสอนหรือขอกลาวอางนั้นมิใชคําสอนของพระพุทธเจา ถาคําสอนหรือขอกลาวอางนั้นเขากันไดกับลักษณะท่ีเปนธรรม ท่ีเปนวินยั (ตามขอ ข.) ก็พึงทราบวาคําสอนหรือขอกลาวอางนั้นเปนคําสอนของพระพุทธเจา

Page 96: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๖

พระคุณของคุณพอคุณแม ๑. กิจกรรมที่ ๒ คาน้ํานม ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

ปฏิบัติตนตอบแทนบุญคุณท่ีพอแมมีน้ําใจตอลูก ๔. จุดประสงค

๔.๑ สามารถบอกบุญคุณของพอแมท่ีมีตอลูกได ๔.๒ สามารถบอกวิธีปฏิบัติเพ่ือแสดงความกตัญูตอบแทนในน้ําใจของพอแม ๔.๓ สามารถปฏิบัติในการตอบแทนบุญคุณพอแมได

๕. แนวคิด พอแมรักลูกดวยความบริสุทธ์ิใจยอมเสียสละทุกส่ิงใหลูกได ไมมีความรักอันใดท่ีจะยิ่งใหญ

เทากับความรักของพอแมท่ีมีตอลูก ลูกจึงตองทําความดีตอบแทนบุญคุณของพอแม ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

๖.๑ แบงนักเรียนกลุมยอย และแจกกระดาษ A๔ ใหนักเรียนทุกคน ๖.๒ ใหนักเรียนจัดทําหัวใจของแมโดยใหปฏิบัติกิจกรรมตอไปนี้อยางตอเนื่อง

- ครูอานขอความเรื่องแมของสดใสใหนักเรียนฟงดวยน้ําเสียงท่ีนุมนวล - ครูจูงใจนักเรียนใหนึกถึงบุญคุณของแมท่ีมีตอลูก โดยใหนักเยนหลับตานึกถึงความ

ดีของแมตนเองวา เคยเสียสละอะไรใหลูกเหมือนแมของสดใสบาง ใหลืมตาแลวเขียนในหัวใจชองท่ี ๑ - พูดจูงใจใหนึกส่ิงท่ีนักเรียนทําในส่ิงท่ีไมดีตอแม แลวเขียนลงในชองท่ี ๒ - หลังจากอบรมแลวนักเรียนจะทําความดีอะไรเพ่ือแมบาง ใหเขียนลงหัวใจชองท่ี ๓ - ใหนักเรียนคิดถึงปญหาท่ีจะขัดขวางไมใหนักเรียนทําดีวานาจะมีอะไรบาง และจะ

แกปญหานั้นไดอยางไร เขียนลงในหัวใจชองท่ี ๔ ๖.๓ ใหนักเรียนเลาใหเพ่ือนในกลุมเล็กฟง แลวเลือกหัวใจท่ีนักเรียนชอบมากท่ีสุด ๑ ดวง

ออกมาเลาใหนักเรียนในกลุมใหญฟง ๖.๔ นักเรียนทุกคนแตงหัวใจใหสวยงามเพ่ือติดไวท่ีปายประกาศ และใหนักเรียนจัดทําขึ้น

ใหมอีก ๒๑ ดวง แลวนําไปมอบใหแมหลังจากจบการอบรม ๗. ส่ือการจัดกิจกรรม

๗.๑ บัตรงาน ๗.๒ สีเมจิก ๗.๓ กระดาษ A๔

Page 97: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๗๘. การวัดและประเมินผล

๘.๑ สังเกตการปฏิบัติงานกลุม ๘.๒ ประเมินผลงาน

Page 98: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๘

เร่ืองแมของสดใส

สดในเปนลูกกําพราพอ อยูกับแมท่ีมีอาชีพรับจางเล็ก ๆ นอย ๆ พอประทังชีวิต เชาวันนี ้แมผัดผักบุงใหเธอกินเปนอาหารเชา แมนั่งดูสดใสกินโดยไมยอมกินดวยเหมือนทุกวัน “แมจา แมกินพรอมหนูซิจะ เดี๋ยวแมตองออกไปทํางานไมใชหรือจะ” “แมยังไมหิวเลยลูกรัก หนูกินใหอ่ิมนะลูก หนูจะตองเรียนหนังสืออีกท้ังวัน แลวหนูอยาลืมกลองขาวนะ แมเตรียมไวใหแลว” สดใสกินขาวอ่ิมแลวรีบวิ่งไปโรงเรียนเกือบถึงโรงเรียนแลวนึกขึ้นวาเธอลืมหนังสือเรียนไวท่ีหัวนอน เพราะเม่ือคืนนอนอานแลวหลับไป ตอนเชาไมไดเก็บ เธอรีบกลับบานทันที เม่ือขึ้นไปบนบาน เธอเห็นแมกําลังขูดขาวกนหมอท่ีมีอยูไมถึงครึ่งทัพพี แลวนําน้ําผัดผักบุงท่ีเหลือเทลงไปในขาวเพ่ือคลุกกิน สดใสตะลึงงัน “แมจา แมสุดท่ีรักของลูก ถาลูกรูวาแมยอมอดเพ่ือใหลูกอ่ิม ลูกจะไมมีวันกินขาวเชานี้แนนอน” สดใสกลาวกับตัวเอง แลวเขาไปกอดแมรองไห

Page 99: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๙๙

ความรูสําหรับครู การเปนบุตรที่ดีของพอแม

๑. ความหมายของคําวา “พอแม”

๑.๑ คําวา พอ หมายความวา ผูคุมครองปองกันอันตรายแกบุตร ๑.๒ คําวา แม หมายความวา ผูยังบุตรใหเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป

๒. หนาที่ของพอแมที่มีตอลูก ๒.๑ สอนลูกใหเวนจากความช่ัว ๒.๒ แนะนําลูกใหทําความด ี๒.๓ สงเสริมลูกใหไดรับการศึกษาเลาเรียนศิลปวิทยา ๒.๔ เลือกคูครองท่ีเหมาะสมใหลูก ๒.๕ แบงทรัพยใหในสมัยอันสมควร

๓. คุณธรรมของพอแม ๓.๑ เมตตา ปรารถนาใหลูกมีความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๓.๒ กรุณา มีความเอ็นดูชวยเหลือลูกใหพนทุกข ๓.๓ มุทิตา ช่ืนชมยินดีเม่ือลูกประสบความสําเร็จในชีวิต ๓.๔ อุเบกขา เฝาดูความเปนอยูและความเปนไปของลูกอยูเสมอ

๔. ความประเสริฐของพอแม ๔.๑ เปนครูคนแรกของลูก ๔.๒ เปนพระพรหมของลูก ๔.๓ เปนพระอรหันตของลูก ๔.๔ เปนผูมีอุปการะมากและแสดงโลกนี้แกบุตร

๕. บุตรมีอยู ๓ ประเภท ๕.๑ อวชาตบุตร คือ บุตรท่ีมีคุณธรรมต่ํากวาพอแม ๕.๒ อนุชาตบุตร คือ บุตรท่ีมีคุณธรรมเสมอกับพอแม ๕.๓ อภิชาตบุตร คือ บุตรท่ีมีคุณธรรมสูงกวาพอแม

๖. ความหมายของบุตรที่ด ี๖.๑ บุตรท่ีด ีคือ บุตรท่ีสามารถทําใหพอแมอ่ิมใจ สบายใจ สุขใจ

๗. ขอวัตรปฏิบัติของบุตรที่ด ี๗.๑ ยกยองสรรเสริญคุณความดีของพอแม ๗.๒ บํารุงพอแมดวยปจจัย ๔

Page 100: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๐๗.๓ สรางเกยีรติและช่ือเสียงในวงศสกุล ๗.๔ สืบทอดเจตนารมณของพอแม ๗.๕ ประพฤติตนเปนคนดี ทําตัวใหกาวหนาอยูเสมอ ๗.๖ สงเสริมใหทานมีคุณธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๗.๗ เม่ือทานลวงลับไปแลวหม่ันทําบุญอุทิศให

๘. ผลดีอันเกิดจากการเปนบุตรที่ด ี๘.๑ ทําใหพอแมสบายใจ สุขใจ ๘.๒ ไดรับการยกยองสรรเสริญจากบัณฑิต ๘.๓ เปนท่ีรักของคนท่ัวไป ๘.๔ ใคร ๆ อยากคบหาสมาคม ๘.๕ เปนผูมีความเจริญสุขในชีวิต

Page 101: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๑

พระคุณของคุณครู

๑. กิจกรรมที่ ๓ คุณครูท่ีรัก ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

ประพฤติตนเปนศิษยท่ีด ี๔. จุดประสงค

๔.๑ สามารถบอกบุญคุณของครูได ๔.๒ ปฏิบัติตนเปนศิษยท่ีดีได ๔.๓ เห็นคุณคาของความมีน้ําใจ

๕. แนวคิด ครูบางคนอาจจะดุ บางคนอาจใจดี อะลุมอลวย ผอนปรน ไมดุนักเรียนเลย แตครูท้ังสอง

ลักษณะนี้ตั้งใจท่ีจะใหนักเรียนเปนคนดี มีความตั้งใจในวิชาท่ีสอน ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

๖.๑ แบงนักเรียนเปนกลุมยอ ๖ กลุม ๖.๒ เลือกประธานกลุม ๖.๓ แจกกรณีตัวอยางใหกลุมละ ๑ กรณ ี๖.๔ ประธานอานกรณีตัวอยางใหสมาชิกฟง และนําอภิปรายตามประเด็นปญหา ๖.๕ ตัวแทนกลุมออกมารายงานผลการอภิปราย

- สรุปเรื่องยอของกรณีท่ีศึกษา - ผลการอภิปรายกลุม

๖.๖ เม่ือนักเรียนอภิปรายจบแลว ครูสรุปถึงผลการอภิปรายวา การท่ีครูดุนั้นนักเรียนเคยมองครูดวยความเปนธรรมตอครูท่ีดุวาเคี่ยวเข็ยหรือไม อยานําเอาความคิดท่ีไมดีมาทําใหจิตใจของนักเรียนขุนมัว ซ่ึงจะทําใหขาดสมาธิ ขาดวิจารณญาณในการเรียน อยามองขามความหวังดีของครูไป ขอใหระลึกอยูเสมอวาครูมีความบริสุทธ์ิตอศิษยเสมอ เพียงแตการแสดงออกตอศิษย อาจแตกตางกันไปตามบทบาทหนาท่ี และบุคลิกภาพของครูแตละคนเทานั้นเอง ๗. ส่ือการจัดกิจกรรม

๗.๑ กรณีตัวอยาง ๗.๒ แบบสอบถามวัดเจตคติท่ีมีตอเรื่องคร ู

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกตการปฏิบัติงานกลุม

Page 102: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๒๘.๒ ผลการวัดเจตคต ิ

กรณีตัวอยางที่ ๓

พอเอยถึงครูราตร ีซ่ึงเปนครูประจําวิชาการดูแลรักษาบาน นักเรียนตางก็เกรงกลัวตาม ๆ กัน เพราะเวลาสอนทีไรครูราตรีจะเคี่ยวเข็ญ เขมงวด และดุวาเปนประจํา นักเรียนสวนใหญจึงไมอยากเรียนกับครูราตรีมากนัก เม่ือเร็ว ๆ นี้ครูราตรีไดเขาสอนเกี่ยวกับการซักรีดเส้ือผา ครูใหนักเรียนทุกคนลงมือปฏิบัติจริงใหดู ท้ังการซักและการรีดเส้ือผา ขณะท่ีครูตรวจผลงานนั้น นักเรียนทุกคนโดนครูราตรีดุวาไปตาม ๆ กัน บางคนตองทําใหมหลาย ๆ ครั้งจนกวาจะสะอาดเรียบรอยตามท่ีครูตองการ จนกระท่ังนักเรียนเกือบทุกคนทําไดด ีรวมท้ังมาลัยดวย มาลัยนั้นแมวาตนเองจะสามารถซักรีดเส้ือผาไดดีขึ้น แตเธอก็ไมชอบการดุวาเคี่ยวเข็ญของครูราตรีเลย

จนกระท่ังวันหนึ่ง มาลัยไดดูละครโทรทัศนเรื่องหนึ่ง เห็นลูกเล้ียงโดนแมเล้ียงตบตีอยางหนักเพราะซักผาไมสะอาด แถมยังรีดเส้ือตัวโปรดของแมเล้ียงไหมจนใสไมได มาลัยรูสึกสงสารลูกเล้ียงคนนั้นจับใจ เหตุการณครั้งนี้ทําใหมาลัยนึกไปถึงครูราตรีทันที และไดคิดวาถาตนเปนลูกเล้ียงคนนั้นคงจะไมโดนตบตีแนนอน เพราะตนสามารถซักรีดเส้ือผาไดด ีเนื่องจากครูราตรีคอยเคี่ยวเข็ญส่ังสอนตนมากอน มาลัยจึงเริ่มมองเห็นประโยชนจากการท่ีครูราตรีดุวาเคี่ยวเข็ญ พลางนึกในใจวา “นี่ถาครูราตรีไมเคี่ยวเข็ญดุวา เราคงจะซักรีดเส้ือผาไมเกงเหมือนทุกวันนี ้และอาจถูกทําโทษเหมือนลูกเล้ียงคนนั้นก็ได”

ประเด็นการอภิปราย

๑. กอนท่ีมาลัยดูโทรทัศนเรื่องลูกเล้ียงถูกแมเล้ียงตบตีเพราะซักผาไมสะอาด มาลัยมีความรูสึกอยางไรกับครูคร ู

๒. เม่ือถูกครูเคี่ยวเข็ญใหทํางานอยางประณีต นักเรียนมีความรูสึกตอครูอยางไร

Page 103: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๓

กรณีตัวอยางที่ ๒ “เอก” กําลังเรียนอยูในระดับประถมศึกษาของโรงเรียนแหงหนึ่ง ครูประจําช้ันของเอกนั้นเปน

ครูท่ีชอบดุวา และเคี่ยวเข็ญเปนประจําเพ่ือใหนักเรียนในหองเรียนมีความสามารถในการเขียน จนกระท่ังเอกและเพ่ือน ๆ สามารถเขียนหนังสือไดรวดเร็ว ถูกตอง และสวยงาม เอกนั้นไมชอบเลยท่ีโดนครูมาเคี่ยวเข็ญดุวาตน และนึกอิจฉาเพ่ือนขางหองท่ีครูของพวกเขาไมไดดุวาเคี่ยวเข็ญเลย ถึงแมนักเรียนในหองจะเขียนไมเกงหรือเขียนไมสวยก็ตาม

วันหนึ่งเอกไดไปเยี่ยมปูกับยา ปูกับยาของเอกนั้นมีอายุมากแลวจึงอานและเขียนหนังสือไมคอยเกง แตทานตองการเขียนจดหมายถึงลุงของเอก (พ่ีชายของคุณพอของเอก) ปูกับยาจึงใหเอกเขียนจดหมายให โดยเขียนตามคําบอกของยา ปรากฏวาเอกเขียนไดสวยและรวดเร็วถูกใจยา เม่ือเขียนเสร็จเอกก็อานใหยาฟง ยาพอใจมาก พรอมกับกลาววา “ถูกตอง...หลานยานี้เกงจัง” พรอมกันนั้นก็มอบเงินเปนรางวัลและหาขนมอรอย ๆ มาใหเอกกินอยางมากอีกดวย เอกจึงนึกถึงครูประจําช้ันท่ีดุวาเคี่ยวเข็ญตน

ประเด็นการอภิปราย ๑. กอนไปหายาเอกมีความรูสึกตอครูอยางไร ๒. เม่ือถูกครูด ุนักเรียนมีความรูสึกอยางไร

Page 104: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๔

กรณีตัวอยางที่ ๓ “มานพ” เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตนของโรงเรียนแหงหนึง่ เขาเปนนักเรียนอีกคนหนึ่ง

ในจํานวน ๓ คน ท่ีแสดงทาทีวาไมชอบครูสุนีย เพราะครูสุนียมักจะดุวาและเขมงวดเขาและเพ่ือน ๆ ในหองเปนประจํา ยิ่งพวกเขาแสดงทาทีไมพอใจในตัวครูมากเทาไร ก็ยิ่งโดนดุวามากขึ้นเทานั้น

การกระทําของมานพและเพ่ือน สรางความไมพอใจแกเพ่ือน ๆ ในหองอยางยิ่ง เพราะพวกเขาไมมีสมาธิในการเรียน และตองมาเสียผลประโยชนจากการเรียนโดยตองมานั่งฟงครูดุวาแทนท่ีจะไดเรียนบทเรียนตอไป พอถึงวันใกลสอบปรากฏวามานพและเพ่ือนอีก ๒ คนนั้นไมเขาใจบทเรียน ครั้นจะไปถามครูก็ไมกลาเพราะกลัวครูด ุจะถามเพ่ือน ๆ ก็ไมมีใครอยากอธิบายใหฟง เพราะเพ่ือน ๆ ตางก็เอือมระอาไมอยากคบหาสมาคมดวย พอถึงวันประกาศผลการสอบปรากฎวาท้ังสามคนสอบไมผานในรายวิชาของครูสุนียสอน ทําใหท้ังสามไดรับความอับอายขายหนาและเกิดความสํานึกวา ท่ีพวกตนสอบไมผานเพราะพวกตนไมชอบครูสุนียท่ีชอบดุวาเคี่ยวเข็ญนั่นเอง

ในภาคเรียนตอไปพวกเขาตั้งใจวาจะประพฤติตัวเสียใหม โดยการเช่ือฟงครูสุนีย ถึงแมวาครูจะดุวาและเขมงวดก็ตาม ไมเชนนั้นพวกเขาจะตองอับอายขายหนาเพราะสอบไมผานในรายวิชาดังกลาว และยังจะถูกเพ่ือน ๆ เกลียดชัง เลิกคบหาสมาคมกับตนเหมือนภาคเรียนท่ีแลวอีก

ประเด็นการอภิปราย ๑. มานพและเพ่ือนอีก ๒ คน ไมพอใจครูสุนีย ทําใหมานพและเพ่ือนเปนอยางไรบาง ๒. ถานักเรียนถูกครูดุวา นักเรียนจะโกรธครูหรือไม เพราะเหตุใด

Page 105: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๕

กรณีตัวอยางที่ ๔ ถึงแมนักเรียนในหองจะมีถึง ๓๐ คน แตมีอยู ๒ คนเทานั้นท่ีครูสุชาติดุวาและเคี่ยวเข็ญในการ

เรียนเปนประจํา คือ “วีระ” และ “สมชาย” ท้ังนี้มิใชวาครูสุชาติจะมีจิตใจลําเอียง หากแตมีเหตุผลอยูในใจ...คือ...วีระ...นั้น ครูเห็นวามีแววท่ีจะเรียนไดดีเดน...สมชายนั้นถึงแมจะเรียนไมเกง แตครูเห็นวามีความเฉลียวฉลาดนาจะเรียนไดด ีถาไดรับการเคี่ยวเข็ญและเอาใจใส และครูก็ไดรูมาวา ท่ีบานของสมชายก็ไมไดเอาใจใสตัวเขาเทาท่ีควร...ครู...จึงเห็นวาเปนหนาท่ีท่ีจะตองทําแทนพอแม

ผลจากการเคี่ยวเข็ญดุวาของครูสุชาติทําใหท้ังสองมีผลการเรียนดีกวาเดิมมาก แตท้ังสองรูสึกไมพอใจและพาลโกรธ...เกลียดครูสุชาติท่ีมาดุวาตนเปนประจํา ซ่ึงครูสุชาติก็ไมไดสนใจวาท้ังครูจะรูสึกตอตนอยางไร เพราะถือวาตนไดทํา...หนาท่ี...ของตนโดยสมบูรณแลว

จนกระท่ัง...ปลายภาคเรียนสุดทาย “วีระ” ไดรับการคัดเลือกใหเปนนักเรียนท่ีมีผลการเรียนดีเดนในระดับเขต ขาวนี้นําความปติมาสูวีระอยางยิ่ง...แต...ผูท่ีรูสึกยินดียิ่งกวาวีระเห็นจะไมมีใครเกินครูสุชาติท่ีพยายามเคี่ยวเข็ญเขามาตลอด สวนสมชายนั้นถึงแมจะมีผลการเรียนไมดีเดนเหมือนวีระ แต...เขาก็มีผลการเรียนท่ีดีมากเม่ือเทียบกับปท่ีผานมา ท้ังวีระและสมชายจึงเริ่มเขาใจความหวังดีของครูสุชาติ ท้ังสองไดแตนึกในใจ

ประเด็นการอภิปราย ถานักเรียนเปนวีระ หรือสมชาย นักเรียนจะมีความรูสึกอางไร ท้ัง ๒ คนคิดอยางไร

Page 106: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๖

กรณีตัวอยางที่ ๕

“ดวงใจ” เพ่ิงจะไดรับจดหมายจาก “สมร” เพ่ือนท่ีเคยเรียนดวยกันตั้งแตระดับมัธยม ขณะนี้ดวงใจทํางานเปนพยาบาลประจําอําเภอแหงหนึ่ง ขณะท่ีสมรไดเปนครูท่ีโรงเรียนมัธยมประจําจังหวัด ถึงแมสมรจะมีจดหมายมาถึงดวงใจเปนประจํา แต...จดหมายฉบับนี้ดูจะพิเศษและมีคุณคากวาฉบับอ่ืน ๆ ...เพราะ...เปนครั้งแรกท่ีสมรระบายความในใจเกี่ยวกับงานสอนมาในจดหมายอยางลึกซ้ึง จนดวงใจตองอานซํ้าหลาย ๆ ครั้ง ดังขอความบางตอนมีวา “...เธอรูหรือเปลาถึงแมบางคนจะใหขอคิดวา การสอนในปจจุบันไมควรจะลงโทษนักเรียนดวยการเฆ่ียนตี แต...ความคิดนี้ใชกับเด็กทุกคนไมไดหรอกนะ เด็กบางคนตองดุวาเฆ่ียนตีบาง ท้ังนี้เพ่ือดัดนิสัยท่ีไมดีหรือเพ่ือกระตุนใหเขาตั้งใจและขยันเรียนใหมากขึ้น ซ่ึงวิธีการนี้ไมไดสงผลดีตอครูเลย เพราะเหนื่อยก็เหนื่อย นักเรียนก็ไมชอบหนา แถมเพ่ือนครูบางคนก็รําคาญ หาวาเราวุนวายไป และท่ีหนักไปกวานั้นคือ...ผูปกครองนักเรียนบางคนก็พลอยไมชอบ มาตอวาคร.ู..หาวาไปดุวาเฆ่ียนตีลูกเขา แต...ถึงจะมีปญหาและเหน็ดเหนื่อยก็ตองทําเพ่ืออนาคตของเด็กเหลานั้น...” ดวงใจอานมาถึงตรงนี้ก็รูสึกหดหูใจแทนสมร ท้ัง ๆ ท่ีตนหวังดีตอศิษยแท ๆ ยังไมวายถูกตอวา มิหนําซํ้าลูกศิษยท่ีตนหวังดีดวยความบริสุทธ์ิใจยังไมชอบตนอีกดวย

ในตอนทายของจดหมาย สมรไดเลาตอไปวา “...เม่ืออาทิตยท่ีแลวมีลูกศิษยท่ีเคยสอนมาเยี่ยม แตละคนมีงานการทํากันหมดแลว” พวกเขาเลาวา...

ประเด็นการอภิปราย

ถานักเรียนเปนศิษยของอาจารยสมรจะคิดอยางไรกับครู และเขาควรจะเลาใหครูฟงวาอะไร

Page 107: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๗

กรณีตัวอยางที่ ๖ “โชค” กับ “กลา” เปนเพ่ือนรักกัน แตกลับมีผลการเรียนตางกันมาก โดยเฉพาะวิชาท่ีครูสุพล

สอน โชคจะทําคะแนนไดดีเยี่ยม ขณะท่ีกลาทําคะแนนไดนอยเกือบรั้งทาย ท่ีเปนเชนนี ้เพราะท้ังสองมีความรูสึกตอครูสุพลตางกัน คือ...ถึงแมครูสุพลจะดุวาเคี่ยวเข็ญนักเรียนขณะท่ีสอน แต...โชคไมเคยนําเอาสวนนี้มาคิด หากแตคิดวาการท่ีครูดุวานั้นเปนเพราะครูหวังดี จึงทําใหเขามีความมานะพยายามยิ่งขึ้น ถาไมเขาใจบทเรียนก็จะเขาไปถามครูทันที ซ่ึงผิดกับกลา...เขารูสึกเอือมระอาและรูสึกเบ่ือหนายครูสุพลและวิชาท่ีครูสุพลสอน โดยเฉพาะวันไหนท่ีครูดุวามาก ๆ เขาจะหมดกําลังใจท่ีจะเรียน และพาลเกลียดครูและวิชาท่ีครูสอนไปเลย

ดวยความรักและหวังดีตอเพ่ือน โชคจึงชวยพูดใหกําลังใจกลา และใหเขาเขาใจความหวังดีของครูบาง ซ่ึงกลาก็รับปากและจะลองปรับปรุงตัวเองใหมในภาคเรียนหนา

ในภาคเรียนตอมา...หลังจากท่ีกลาพยายามปรับปรุงตัวเองตามคําแนะนําของโชค โดยพยายามมองครูสุพลในแงดีดวยใจเปนธรรม พยายามนําคําดุวา คําตําหนิติเตียนของครูมาไตรตรองและไมถือเปนอารมณ ทําใหเขาเริ่มมีสมาธิในการเรียนมากขึ้น เขาเริ่มเขาใจบทเรียนและมีผลการเรียนดีขึ้นกวาเดิมอยางชัดเจน เขาอดภูมิในตนเองไมไดท่ีมีผลการเรียนดีขึ้น และเม่ือนึกยอนกลับไปในอดีต

ประเด็นอภิปราย

ถานักเรียนเปนกลา นักเรียนจะคิดอยางไรกับคร ู

Page 108: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๘

บทสรุปสําหรับครู “คร”ู นั้นอาจแสดงบทบาทแตกตางกัน ครูบางคนอาจจะดุวาและเขมงวดกับเด็ก แตครูบางคน

อาจจะอะลุมอลวย ผอนปรน ไมดุวานักเรียนเลย นักเรียนสวนมากมักจะชอบครูท่ีอะลุมอลวยไมดุวามากกวาครูท่ีดุวาและเขมงวด แตในโรงเรียนแตละแหงยอมมีครูท้ังสองประเภทปะปนกันไป ฉะนั้น ถาครูท่ีดาและเขมงวดมากมาเขาสอน นักเรียนก็ควรใหความสนใจ เอาใจใสในวิชานั้น ๆ เพราะถาหากนักเรียนไมสนใจ ไมเอาใจใส แสดงความเบ่ือหนาย หรือไมชอบครูท่ีสอน ตลอดจนวิชาท่ีเรียนแลว นักเรียนอาจไดรับโทษไมทางใดก็ทางหนึ่ง แตถานักเรียนสนใจเอาใจใสและชอบครูท่ีดุวาแลว นอกจากนักเรียนจะไดรับความรูความชํานาญจากครูแลวยังอาจไดรับประโยชนอยางอ่ืนตอบแทน เชน พอแมอาจชมเชย เพ่ือนฝูงยกยอง หรือ อาจไดรับรางวัลอ่ืน ๆ ตอบแทน

Page 109: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๐๙

ความรูสําหรับครู การเปนศิษยที่ดีของครูอาจารย

๑. ความหมายของคําวา “คร”ู ๑.๑ ครู คือ ผูส่ังสอนศิษย ๑.๒ ครู คือ ผูนําทางวิญญาณ ๑.๓ ครู คือ ผูยกระดับวิญญาณใหสูงขึ้น ๑.๔ ครู คือ ผูเปดประต ู๑.๕ ครู คือ ผูขนสัตวออกจากวัฏสงสาร

๒. หนาท่ีของครูท่ีมีตอศิษย ๒.๑ แนะนําส่ังสอนดี ๒.๒ ใหเรียนด ี๒.๓ บอกศิลปวิทยาใหโดยส้ินเชิงไมปดบังอําพราง ๒.๔ ยกยองใหปรากฏในหมูเพ่ือนฝูง ๒.๕ ทําความปองกันในทิศท้ังหลาย

๓. ความหมายของศิษยท่ีด ี๓.๑ ศิษยท่ีดี คือ ศิษยท่ีครูสามารถนําไปสูเปาหมายได

๔. ศิษยท่ีดีพึงปฏิบัติตอครูดังนี ้๔.๑ ลุกขึ้นยืนตอนรับ ๔.๒ เขาไปยืนคอยรับใช ๔.๓ เช่ือฟงคําส่ังสอน ๔.๔ อุปฏฐากรับใชใกลชิด ๔.๕ ตั้งใจเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ

๕. โทษท่ีไมสามารถเปนศิษยท่ีดีได ๕.๑ ทําใหเปนคนโงเขลาเบาปญญา ๕.๒ ทําใหครูอาจารยเดือดรอนใจ ๕.๓ ถูกติเตียนจากบัณฑิต ๕.๔ เปนท่ีเกลียดชังของคนท่ัวไป ๕.๕ ใคร ๆ ไมอยากคบเปนเพ่ือนดวย ๕.๖ ไมเปนผูเจริญสุขในชีวิต

๖. ผลดีอันเกิดจากการเปนศิษยท่ีด ี

Page 110: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๐๖.๑ ทําใหเปนคนมีปญญาด ี๖.๒ ทําใหครูอาจารยสุขใจ สบายใจ ๖.๓ ไดรับการยกยองสรรเสริญจากบัณฑิต ๖.๔ เปนท่ีรักของคนท่ัวไป ๖.๕ ใคร ๆ ก็อยากคบหาสมาคมดวย ๖.๖ เปนผูมีความเจริญสุขในชีวิต

Page 111: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๑

พระคุณของพระมหากษัตริย ๑. กิจกรรมที่ ๔ พระบารมีพระมากลนรําพัน ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

การประพฤติตนเปนพลเมืองท่ีด ี๔. จุดประสงค

๔.๑ บอกพระคุณของสถาบันพระมหากษัตริยท่ีมีตอประชาชนได ๔.๒ สามารถประยุกตพระราชกรณียกิจท่ีแสดงถึงพุทธบุตรท้ัง ๕ ประการมาประพฤติปฏิบัติ

ได ๔.๓ เกิดความซาบซ้ึงและจงรักภักดีในสถาบันพระมหากษัตริย

๕. แนวคิด สถาบันพระมหากษัตริยมีพระคุณตอประเทศชาติและประชาชนไทยเปนอันมาก คนไทยทุกคน

ควรเคารพและจงรักภักดีตลอดชีวิต ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

๖.๑ แบงนักเรียนเปนกลุมยอย ๕ กลุม ๖.๒ ใหกลุมยอยปฏิบัติตามบัตรงานและอภิปรายตามประเด็นของบัตรงาน ๖.๓ ใหตัวแทนออกรายงานผลการอภิปราย ๖.๔ ครูสรุปเพ่ือใหนักเรียนสามารถนําไปสูการปฏิบัติได

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ ภาพพระราชกรณียกิจ ๕ ชุด ท่ีแสดงถึงพุทธบุตรท้ัง ๕ ตัว ๖.๒ คําบรรยายพระราชกรณียกิจ ๕ ชุด

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกตการปฏิบัติงานกลุม ๘.๒ การรายงานผลการอภิปราย

Page 112: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๒

บัตรงานกลุมที่ ๑ ความสนใจใฝรูและสรางสรรค

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปนนักประดิษฐคิดคนท่ีมีพระปรีชาสามารถ

สูงยิ่ง ทรงออกแบบคิดคนส่ิงประดิษฐมากมายหลายส่ิงดวยกัน พระองคไดทรงประดิษฐคิดคนเครื่องกลเดิมอากาศชนิดตาง ๆ มากมาย เพ่ือชวยบรรเทาปญหามลพิษทางน้ําท่ีนับวันจะมีความรุนแรงมากขึ้น กังหันนั้นชัยพัฒนาเปนเครื่องกลเดิมอากาศชนิดหนึ่งท่ีทรงคิดขึ้น เพ่ือใชในการปรับปรุงคุณภาพแหลงน้ํา

ประเด็นการอภิปราย

๑. การท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวสามารถประดิษฐคิดคนส่ิงตาง ๆ ไดมากมาย ตองมีคุณสมบัติอะไรบาง

๒. ผูท่ีมีคุณสมบัติใฝรู และสรางสรรค มีพฤติกรรมอยางไรบาง ๓. ใหนักเรียนเลาพฤติกรรมใฝรูของนักเรียนเองใหเพ่ือนฟง แลวคัดเลือกพฤติกรรมใฝรูของ

เพ่ือน ๑ คน เพ่ือออกมาเลารายงาน

Page 113: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๓

บัตรงานกลุมที่ ๒ ความมีน้ําใจ

หลังจากสมเด็จพระบรมราชชนนี้ทรงหายประชวร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จฯ มา

เสวยพระกระยาหารค่ํารวมกับพระบรมราชชนนีทุกสัปดาห สัปดาหละ ๕ วัน ทรงเวนเฉพาะวันศุกร และวันอาทิตยเทานั้น

เวลาท่ีเสด็จเยี่ยมพระราชมารดาครั้งหลังสุด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะเสด็จเยี่ยมสมเด็จพระบรมราชชนนีในเวลา ๐๒.๐๐ น. และใหเหตุผลในการเสด็จในยามนี้วา เนื่องจากพระองคทรงเกรงวาการเสด็จของพระองคจะทําใหการจราจรติดขัดเปนท่ีเดือดรอนของประชาชน ในขณะเดียวกันพระองคทรงมีพระราชดําริอยูตลอดเวลาวา ทําอยางไรจึงจะทําใหการจราจรบริเวณสะพานพระปนเกลา ท่ีมีปญหามานานไดรับการแกไข

(กุลสตร ีฉบับท่ี ๖๒๒ ธันวาคม ๒๕๓๙ หนา ๙๘) ประเด็นอภิปราย

๑. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีน้ําใจตอพระราชชนน ีอยางไรบาง ๒. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีน้ําใจตอพสกนิกรอยางไรบาง ๓. สมาชิกในกลุมเคยแสดงน้ําใจตอใคร อยางไรบาง และเม่ือแสดงน้ําใจตอผูอ่ืนแลว มี

ความรูสึกอยางไร

Page 114: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๔

บัตรงานกลุมที่ ๓ ความมีวินัย

พระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ขณะท่ีทรงศึกษาแพทยเปนป

สุดทายครั้งเม่ือถึงเวลากอนสอบปลายป ทรงประชวรดวยโรคไสติ่งอักเสบอีก ผูอํานวยการวิทยาลัยการแพทยเสนอจะถวายปริญญาใหโดยไมตองทรงสอบ เพราะทรงทําคะแนนดีมาตลอดป แตพระองคไมทรงยินยอมทําผิดระเบียบของมหาวิทยาลัย ทรงอดทนฝนพระวรกายเขาสอบเหมือนนักเรียนแพทยท่ัวไป ทรงสอบได และไดรับเกียรตินิยมดวย หลังสอบเสร็จ ทรงเขารับการผาตัดและรักษาจนหายปกต ิเหตุการณครั้งนี้เปนท่ีช่ืนชมของคณะอาจารยและประชาชนท่ัวไปเปนอยางยิ่งท่ีทรงควบคุมตนเองและปฏิบัติตามระเบียบของมหาวทิยาลัยไมยอมใชสิทธิพิเศษเหนือผูอ่ืน

ประเด็นอภปิราย

๑. พระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีวินัยในตนเองอยางไรบาง ๒. นักเรียนมีความรูสึกตอเรื่องนี้อยางไร ๓. นักเรียนจะปฏิบัติตนเองอยางไรเกี่ยวกับระเบียบวินัยของโรงเรียน

Page 115: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๕

บัตรงานกลุมที่ ๔ ความเปนไทย

โครงการศิลปาชีพพิเศษเปนโครงการพระราชดําริของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์

พระบรมราชินีนาถท่ีทรงมุงม่ันท่ีจะอนุรักษศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยใหคงอยูตลอดไป โดยการเชิดชูคุณคาของศิลปะงานฝมือใหลือกระเดื่องขจรไกลอีกท้ังเปนการเพ่ิมพูนรายไดแกราษฎรผูยากไร และสงเสริมงานหัตถกรรมแกครอบครัวชาวนาชาวไร ใหมีอาชีพเสริมขึ้นอีกหลายทาง โดยพิจารณาถึงทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูในละแตทองถ่ินเขามาประกอบ เชน ภาคเหนือ ใหฝกอบรมการเย็บปกถักรอย การทอผาไหม ผาฝาย ผาปกภูไท ผายก ผาตีนจก ทําเครื่องประดับเงินและทองของขาวไทยภูเขา เครื่องเคลือบดินเผา ภาคอิสานใหฟนฟูการปลูกหมอนเล้ียงไหม ทอผามัดหม่ี จัดทําเครื่องปนดีเผา โดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใช ภาคกลางใหทําดอกไมประดิษฐ การจักสานดวยหวายปานศรนารายณ และไมไผ การทอผาฝาย การปนตุกตาชาววัง การแกะสลักไม การปลูกหมอนเล้ียงไหม การปกสอยแบบไทย การตัดเย็บเส้ือผา การเย็บปกถักรอย และการถนอมอาหาร ภาคใตใหมีการทอผา การปกสอยแบบไทย การจักสานดวยหวาย ไมไผ ยานลิเภา ทอเส่ือกระจูด เย็บปกถัดรอย ถมทอง และเครื่องเคลือบ

ประเด็นอภิปราย

๑. สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทรงอนุรักษศิลปวฒันธรรมไทยอะไรบาง ๒. นักเรียนมีความรูสึกอยางไรท่ีพระองคทรงพยายามรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทย ๓. นักเรียนมีจะปฏิบัติในความเปนไทยไดอยางไรบาง.

Page 116: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๖

บัตรงานกลุมที่ ๕ การบริโภคดวยปญญา

ทานผูหญิงพจีอนุรักษราชมณเฑียรผูอยูใกลชิด ไดเห็นพระราชจริยวัตรของพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช เม่ือยังทรงพระเยาวไววา “ทรงขึ้นรถไฟฟาหรือใครถวายดิฉันจําไมได แตเปนท่ีโปรดปรานมาก ทรงขับท่ัว ๆ ไปใน

บริเวณสวนจิตรฯ เวลามีคนมาเฝาสมเด็จพระบรมราชชนนี ถาหากรูจักและคุนเคยจะทรงเรียกใหขึ้นรถดวย และทรงเก็บสตางค เปนราคา ๕ สตางค จากประตูช้ันใดแลวนํามาสงพระตําหนัก มีผูขึ้นนั่งแลวไมมีเศษสตางค จะถวายไป ๑๐ สตางค แลวไมยอมรับทอน ท้ังทูลวาสตางคทอนนั้น ถวายเปนรางวัล ทานรีบหยิบเงินทอนประธาน แลวอบรมผูนั้นตอไปวา ๕สตางคนี้ตั้งตัวได ผูถูกอบรมทูลถามวา “ตั้งตัวไดอยางไร” ทานทรงสอนวา “ใหไปซ้ือพันธุถ่ัว มาปลูกขาย”

ประเด็นอภิปราย

๑. ในเรื่องท่ีอานนี ้การกระทําของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เรื่องใดสําคัญท่ีสุด ๒. ถาทุกคนมีความคิดและเห็นความสําคัญของเงินแมส่ิงเล็กนอยจะเปนอยางไร ๓. ใหนักเรียนเลาเหตุการณท่ีแสดงวา นักเรียนเห็นความสําคัญของเงินแมเพียงเล็กนอย

Page 117: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๗

ความรูสําหรับครู พระมหากษัตริยไทย

ประเทศไทยของเรามีพระมหากษัตริยปกครองสืบทอดติดตอกันมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย

ความสัมพันธระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชนชาวไทยไดเปนไปอยางใกลชิด ประชาชนตางยึดถือวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย ท่ีถือวาพระมหากษัตริยเปนประดุจหัวหนาครอบครัวขนาดใหญ มีหนาท่ีคุมครองปกปองราษฎร ซ่ึงเปนสมาชิกในครอบครัว ใหปลอดภัยจากขาศึกศัตร ูในยามท่ีบานเมืองสุขสงบ พระมหากษัตริยในฐานะท่ีทรงเปนหัวหนาครอบครัว ทรงมีหนาท่ีเอาใจใสสอดสองดูแลความทุกขสุขของราษฎร

แมวามีการเปล่ียนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย ตามรัฐธรรมนูญ โดยมีพระมหากษัตริยอยูภายใตรัฐธรรมนูญแลวก็ตาม แตความรักและความผูกพันระหวางประชาชนกับพระมหากษัตริยไมไดเปล่ียนแปลงเลย โดยเฉพาะความผูกพันของประชาชนไทยท่ีมีตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวองคปจจุบันนั้น นอกจากจะเกิดขึ้นมาจากความรูสึกในสวนลึกของจิตใจถึงความจงรักภักดี ซ่ึงเปนความรูสึกท่ีมีอยูในสายเลือดของคนไทยทุกคนแลว ส่ิงสําคัญอีกอยางคือ ความซาบซ้ึงในพระราช จริยวัตร และการท่ีไดเห็นพระองคทรงบําเพ็๗พระราชกรณียกิจอยางเสียสละโดยไมอาทรกับความเหนื่อยยาก ทรงมุงหวังท่ีจําประโยชนสุขมาสูมวลพสกนิกรและประเทศชาตประชาชนชาวไทยตางรูดีวาสถานท่ีแหงใดก็ตามในผืนแผนดินนี้ หากพระองคเสด็จพระราชดําเนินไปถึง ก็ไมไดหมายความเฉพาะเพียงกอใหเกิดความเปนสิริมงคลเทานั้น หากหมายถึงความเจริญตาง ๆ ท่ีจะติดตามมา จนเกิดเปนคําพูดโดยท่ัวไปวา “ในหลวงเสด็จถึงไหนความเจริญถึงท่ีนั่น” ดวยเดชะบุญบารมี พ้ืนท่ีแหงใดท่ีเคยรกรางวางเปลาหาประโยชนไมได เม่ือพระองคเสด็จไปถึงไมชาพ้ืนท่ีนั้นก็เขียวชอุมดวยธัญญพืชอุดมดวยแหลงน้ําอันเปนผลมาจากโครงการตามพระราชดําริ ทองท่ีแหงใดแหงแลง ฝนไมตกตองตามฤดูกาล พระองคก็ทรงสามารถบันดาลใหฝนตกลงมาไดดวยวิทยาการทางดานฝนเทียน หมูบานใดยากจนขนแคนราษฎรอดอยากหิวโหย เม่ือยาพระองคเสด็จไปถึงขาวก็มีเต็มยุง พอใหราษฎรไดหยิบยืมไปบริโภคดวยระบบธนาคารขาว และยังไดเพ่ิมปศุสัตวพันธุดีไวสําหรับใชงานและบริโภค ซ่ึงอีกไมนานก็จะแพรขยายพันธุไปจนท่ัวหมูบานดวยระบบธนาคารโค กระบือ และพันธุสัตว พระราชทานท่ัวทุกหนแหง ภายในพระมหาเศวตฉัตรนี้จึงมีแตความรมเย็น

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงตระหนักถึงพระราชภารกิจท่ีผูกพันตอราษฎร เพ่ือตอบแทนในความรักความภักดีของราษฎร พระองคจึงทรงเริ่มประกอบพระราชกรณียกิจเพ่ือปวงชน โดยทรงใชพระตําหนักจิตรดารโหฐานเปนศูนยปฏิบัติการ ทรงเริ่มตนจากงานเล็ก ๆ ภายในพระราชฐานดวยการทดลองคนควาอยางตอเนือ่ง จนเปนผลสําเร็จกลายเปนโครงการพระราชดําริตาง ๆ จากนั้นพระองคไดทรงนําหลักวิชาความรูและประสบการณติดตามพระองคเสด็จพระราชดําเนินไปทุก

Page 118: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๘ หนทุกแหงตลอดท่ัวภูมิภาคของประเทศ เพ่ือพัฒนาความเปนอยูของราษฎร ใหพนจากสภาพความยากจนขนแคนไปสูความพอมีพอกิน และการกนิดีอยูดีในท่ีสุด งานทุกอยางพระองคทรงปฏิบัติไปอยางมีหลักวิชาเปนขั้นตอน และตอเนื่อง ประกอบดวยพระราชวิริยะอุตสาหะ ซ่ึงนับเปนเวลากวา ๓๗ ปแลว ท่ีทรงทุมเทพระวรกายใหกับงานพัฒนา เพ่ือสรางสรรคความผาสุขของปวงชนติดตอกัน โดยไมมีวันหยุด และพระองคก็จะยงัคงทรงงานเหลานี้ตอไปอยางไมมีวันส้ินสุดดวย

Page 119: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๑๙

กิจกรรมประจําฐาน วันที ่๒ ของการอบรม (ภาคบาย)

ฐานที่ ๑ เพื่อนที่ด ีฐานที่ ๒ พลเมืองที่ด ีฐานที่ ๓ พุทธศาสนิกชนที่ด ีฐานที่ ๔ สุขภาพอนามัยที่ด ี

Page 120: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๐

พระคุณของพระมหากษัตริย ๑. กิจกรรมที่ ๑ เพ่ือนท่ีดี ๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การชวยเหลือ ๓.๒ การแสดงความเอ้ืออาทร ๓.๓ การปลอบโยนหรือใหกําลังใจ ๓.๔ การไมเบียดเบียนตนและผูอ่ืน ๓.๕ การช่ืนชมยินดีในความดีของตนและผูอ่ืน

๔. จุดประสงค ๔.๑ อธิบายความหมายของคําวาเพ่ือนได ๔.๒ สามารถปฏิบัติตนตอเพ่ือนได ๔.๓ สามารถอธิบายถึงผลของการปฏิบัติตนเปนเพ่ือนท่ีดีได

๕. แนวคิด ๕.๑ การปฏิบัติตนเปนเพ่ือนท่ีดีของเพ่ือนยอมทําใหตนเองและเพ่ือนมีความสุข ๕.๒ การเลือกคบคนท่ีดีเปนมิตรจะนําพาตนเองไปสูความสุข

๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ขั้นเตรียม คัดนักเรียนชาย ๒ คน นักเรียนหญิง ๑ คน จากแตละกลุม ใหศึกษาบทละครเตรียมการแสดง

ลวงหนาตั้งแตวันแรกของการอบรม ใหนักเรียนชายเปนสมชายและภักดี นักเรียนหญิงเปนมานี โดยวิทยากรใหคําแนะนําและซักซอมการแสดง

ขั้นนํา ๖.๑ วิทยากรและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเพ่ือน ในประเด็นดังนี ้

- นักเรียนมีเพ่ือนสนิทหรือไม - เหตุใดจึงคิดวาเปนเพ่ือนสนิท - นักเรียนเคยทําประโยชนแกเพ่ือนอยางไรหรือไม - เพ่ือนเคยทําอะไรใหแกนักเรียนอยางไรหรือไม - คําวา “เพ่ือน” หมายความวาอย

ขั้นกิจกรรม ๖.๒ ใหนักเรียนท่ีคัดเลือกไวแสดงละครเรื่อง “เพ่ือนรัก”

Page 121: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๑๖.๓ แบงกลุมยอยออกเปน ๔ กลุม อภิปรายประเด็นตามใบงาน แลวสงตัวแทนรายงาน

ผลการอภิปราย ขั้นสรุป ๖.๔ นักเรียนรวมกันสรุปการปฏิบัติตนเปนเพ่ือนท่ีดี และผลของการปฏิบัติตนเปนเพ่ือนท่ีด ี๖.๕ รองเพลงมิตรด ี

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ กรณีตัวอยาง “เพ่ือนรัก” ๗.๒ ใบงาน ๗.๓ ภาพเพ่ือนกําลังชวยเหลือกัน ๗.๔ เพลงมิตรด ี

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ การสังเกต

- ความสนใจและรวมกิจกรรมภายในกลุม - การตอบคําถามและสนทนาของนักเรียน

๘.๒ ตรวจผลงาน - แบบบันทึกผลการอภิปรายกลุม

Page 122: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๒บทละครเร่ือง “เพ่ือนรัก”

สมชายขับขี่รถจักรยานมาที่บานของมาน ี

สมชาย : มานี เสร็จแลวหรือยังไปกันเถอะ มานี : เอา ! ไปไหนละ สมชาย : เอา ! ลืมไปแลวเรอะ ก็เธอนัดใหฉันพาไปเท่ียวท่ีเชิงเขาทายหมูบานไงละ มานี : ออ ! ไมลืมหรอก เราเตรียมขาวเหนียว ไกยางไปกินกนัดวยละ เธอเตรียมอะไรไป

บางละ สมชาย : ฉันเตรียมของสอดไสและกระติกน้ําแข็งไปดวย เอาขึ้นนั่งซอนทายเลย ท้ังสองซอน

จักรยานกันมาตามทางลูกรัง สมชาย : มานี เธอนั่งมานานแลว เธอขี่บางซิ มานี : ก็ได ๆ ฉันขี่เอง เธอถือกับขาวไวใหดี ๆ นะ มานี : โอโฮ ! ทางขรุขระจังเลย ขึ้นเนินดวย โอยเหนื่อย สมชาย : ตอนนี้เปนตาเธอขี่แลวหามบน มานีขี่จักรยานแลนลงเนินเขาดวยความเหนื่อยลา พอพนเนินเขา ถนนลาดลงต่ํา

หนทางขรุขระ รถจักรยานแลนลงเนินเขาอยางรวดเร็ว สมชาย : มานีเบรครถซิ อยาขี่เร็ว เดี๋ยวรถลม (ตะโกนบอกดวยความตกใจ) มานี : เธอนั่งดี ๆ นั่งนิ่ง ๆ รถสายแลว (ตะโกนดวยความตกใจ) “โครม” รถจักรยานชน

กอนหินกอนใหญ สมชายนั่งจุก มานีกระโดดลงรถทัน ยืนหนาตื่นตกใจ มานี : สมชายเธอนั่งรถไมดี รถจึงลม ขาวเหนียวไกยาง กระเด็นเปอนหมด อดกินกัน

(โวยวาย) สมชาย : เธอนั่นแหละขี่รถไมระวัง โอยจุก (พูดดวยใบหนาเหยเก) รถจักรยานลมอยูลอบิด ท้ัง

สองถกเถียงกันดวยวาใครเปนตนเหตุทําใหรถลม พอดี ภักดีขี่รถจักรยานผานมา มานีรีบวิ่งโบกมือใหภักดีหยุดรถ

มานี : ภักดี เธอกลับไปหมูบานใชไหม ขอฉันซอนกลับไปดวยแลวฉันจะใหเธอลอกการบาน พูดพลางเดินขึ้นซอนทายรถจักรยาน

ภักด ี : “สมชาย เธอเปนอยางไรบาง” (พูดพลางเดินมาดูสมชาย แลวดัดใหลอจักรยานท่ีบิดเบ้ียวกลับคืนสูปกต)ิ

มานี : นี่ภักดี เธออยามัวเสียเวลาอยูเลย รีบกลับเถอะฉันหิวขาวแลว (พูดดวยน้ําเสียงรบเรา) ภักด ี : เดี๋ยวกอนซิใหสมชายหายจุกกอนแลวคอยกลับพรอมกัน

Page 123: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๓ ภักด ี : สมชายเขายังไมหายจุกเธอจะท้ิงเขาไปไดอยางไรกัน คนเปนเพ่ือนกันตองรูจัก

ชวยเหลือเพ่ือนยามเดือดรอน ใหกําลังใจยามเพ่ือนกําลังทอแท ตองดีใจเม่ือเห็นเพ่ือนไดดีมีความสุข และมีความรักความจริงใจใหกัน

มานี : ขอโทษจะ ฉันลืมไป คราวตอไปเราจะไมทําอยางนี้อีก ขอโทษนะสมชาย สมชาย : ไมเปนไรหรอก เราเปนเพ่ือนกัน เรากลับบานกันเถอะ และแลวภักดีก็ชวนมานี

สมชาย เดินจูงจักรยานไปดวยกัน

Page 124: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๔ใบงาน

เวลาการทํากิจกรรม ๑๐ นาที คําชี้แจง หลังจากนกัเรียนชมละครเรื่อง “เพ่ือนรัก” แลวดําเนินการดังตอไปนี ้

๑. เลือกประธาน และเลขานุการ ๒. ตั้งช่ือกลุม ๓. รวมอภิปรายในหัวขอดังตอไปนี ้ ๓.๑ ใครเปนผูท่ีนาคบหาท่ีสุด เพราะเหตุใด ๓.๒ นักเรียนจะปฏิบัติตนใหเปนเพ่ือนท่ีดีไดอยางไรบาง ๓.๓ ผลของการปฏิบัติตนใหเปนเพ่ือนท่ีดีกอเกิดประโยชนตอตนเองอยางไรบาง ๔. บันทึกผลการอภิปราย พรอมสงตัวแทนรายงานผล

Page 125: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๕เพลงมิตรด ี

เนื้อรอง คุณหญิงช้ิน ศิลปบรรเลง มิตรดีเปนท่ีพ่ึงพา ไดทุกคราเดือดรอน เศราใจ หาทางขจัดปดภัย ไมล้ีหนีไกลเม่ือยามอับจน มิตรเลวดีแตสอพลอ ยกยอเพ่ือหวังประโยชนตน หากมีภัยตองผจญ พวกนี้ทุกคนเล่ียงหนีหลบไหล

Page 126: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๖ ความรูสําหรับครู การเปนเพ่ือนที่ด ี

๑. ความหมายของเพ่ือน ๑.๑ เพ่ือน คือ ผูรวมธุระ ผูชอบพอรักใครกัน ผูอยูในสภาพหรือลักษณะเดียวกัน

เชน เปนเพ่ือนมนุษยดวยกัน ๑.๒ มิตร คือ เพ่ือนรักใครคุนเคยกัน

๒. ความหมายของเพ่ือนท่ีด ีเพ่ือนท่ีดี คือ เพ่ือนท่ีสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข

๓. คุณสมบัติของเพ่ือนท่ีด ี๓.๑ แบงปนลาภท่ีตนหามาไดแกเพ่ือน ๓.๒ เจรจากับเพ่ือนดวยถอยคําท่ีไพเราะออนหวาน ๓.๓ ปองกันเพ่ือนผูประมาทแลว ๓.๔ ปองกันทรัพยของเพ่ือนผูประมาทแลว ๓.๕ เม่ือเพ่ือนมีภัยเปนท่ีพ่ึงพํานักได ๓.๖ เพ่ือมีธุระชวยออกทรัพยใหเกินกวาท่ีออกปาก ๓.๗ ชวยปกปดความลับของเพ่ือนไมใหแพรงพราย ๓.๘ ไมละท้ิงเพ่ือนในยามวิบัต ิ๓.๙ ประพฤติตนเสมอตนเสมอปลาย ๓.๑๐ รักเพ่ือนดวยความบริสุทธ์ิใจ

๔. โทษของการไมเปนเพ่ือนท่ีด ี๔.๑ เปนท่ีเกลียดชังของเพ่ือน ๔.๒ เปนคนโดดเดี่ยววาเหว ๔.๓ ไมมีใครชวยเหลือเม่ือมีทุกขปญหา ๔.๔ จะถูกประทุษราย ๔.๕ ประสบความสําเร็จหรือเจริญกาวหนาไดยาก

๕. ผลดีอันเกิดจากการเปนเพ่ือนท่ีด ี๕.๑ เปนท่ีรักใครนับถือของเพ่ือน ๕.๒ มีความสุขอบอุนใจเพราะใคร ๆ ก็อยากเปนเพ่ือนดวย ๕.๓ มีผูชวยเหลือเม่ือมีทุกขหรือปญหา ๕.๔ มีความปลอดภัยในชีวิตไมมากไปดวยเวร ๕.๕ มีความสําเร็จและเจริญกาวหนาไดรวดเร็ว

Page 127: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๗สุภาษิตเกี่ยวกับเพ่ือน

มีเพ่ือนดี เพียงหนึ่ง ถึงจะนอย ดีกวารอย เพ่ือนคิด ริษยา เหมือนเกลือด ี มีนิดหนอย ดอยราคา ยังดีกวา น้ําเค็ม เต็มทะเล

Page 128: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๘ พลเมืองที่ด ี

๑. กิจกรรมที่ ๒ พลเมืองท่ีด ี๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การเห็นแกประโยชนสวนรวม ๓.๒ การยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืนตามกฎเกณฑของสังคม ๓.๓ การเคารพในสิทธิและหนาท่ีของกันและกัน ๓.๔ การควบคุมตนเองทางกาย วาจา ใจ

๔. จุดประสงค ๑. สามารถอธิบายถึงหนาท่ีของพลเมืองท่ีดี ๒. สามารถปฏิบัติตนตามหนาท่ีของพลเมืองท่ีด ีตามวัยและสถานภาพของตน

๕. แนวคิด การปฏิบัติตนตามหนาท่ี การปฏิบัติตามกฎหมาย ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของ

ชาติ ตลอดจนมีความเล่ือมใสศรัทธาในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยภายใตการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข เปนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ สงผลใหสังคมและประเทศชาติ สงบสุข และเจริญกาวหนา ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ สนทนาเกี่ยวกับปญหาการอยูรวมกัน และทํางานดวยกันเปนกลุม ๖.๒ ถามถึงสภาพของการอยูและทํางานรวมกันอยางมีความสุขในกลุม ขั้นกิจกรรม ๖.๓ วิทยากรช้ีแจงกติกาและขั้นตอนการเลนเกมตอภาพ ๖.๔ แบงกลุมออกเปน ๔ กลุม ตั้งช่ือกลุม และเลนเกมตอภาพ ๖.๕ สนทนา/อภิปรายกับนักเรียนในประเด็นตอไป

- กลุมใดทําไดถูกตองและเสร็จกอน ทําไมจึงเสร็จกอน - กลุมใน/สมาชิกคนใดท่ีทําผิดกติกาอยางไรบาง เชน

- พูดแนะนําเพ่ือน - ไมฟงคําส่ังของผูนํา - ไมเอาใจใสในกิจกรรม

๖.๖ วิทยากรสอบถามผูเขารวมกิจกรรมและผูสังเกต วาสมาชิกของกลุมทุกคนควรปฏิบัติตนอยางไรบาง ขณะเขารวมกิจกรรมหรือเลนเกม

Page 129: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๒๙๖.๗ แบงนักเรียนเปน ๔ กลุมเหมือนเดิม ใหแตละกลุมรวมกันคิดตามประเด็น

ตอไปนี ้กลุมท่ี ๑ ความหมายของพลเมืองท่ีด ีกลุมท่ี ๒ หนาท่ีของพลเมืองท่ีด ีกลุมท่ี ๓ โทษของการเปนพลเมืองท่ีด ีกลุมท่ี ๔ ประโยชนของการเปนพลเมืองท่ีด ีใหผูแทนของแตละกลุมนําเสนอผลงาน

ขั้นสรุป ๖.๘ วิทยากรและนักเรียนรวมสรุปการปฏิบัติตนใหเปนพลเมืองท่ีดีของประเทศชาต ิ๖.๙ อานบทรอยกรอง “พลเมืองท่ีด”ี

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ บทรอยกรอง “พลเมืองท่ีด”ี ๗.๒ ภาพตัดตอ ๔ ภาพ (ภาพทหา, ภาพทําบุญตักบาตร ภาพถนนหนทาง, ภาพเทิดทูน

พระมหากษัตริย ๗.๓ รายละเอียดเกมภาพตัดตอ ๗.๔ แผนภูมิกติกาของเกม

๘. การวัดและประเมินผล สังเกต

- การเลนกิจกรรม - การอภิปราย - การสรุปรายงานผลงาน

Page 130: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๐

บทรอยกรอง “พลเมืองทีด่”ี ศ.สุมน อมรวิวัฒน

คุณสมบัติของพลเมืองท่ีด ี คือการทําหนาท่ีอยางถูกตอง

มีระเบียบวินัย คิดไตรตรอง รักษาสิทธ์ิท้ังผองของปวงชน พูดและทําตามหลักปฏิบัต ิ ซ่ือสัตย รับผิดชอบ ไมฉอฉล รักชาติยิ่งชีวิตอุทิศตน เปนศาสนิกชนควรบูชา อีกพระมหากษัตริยฉัตรปกเกลา ไทยเราจงรักภักดิ์ถวนหนา รวมผดุงสยามรัฐวัฒนา รวมเย็นแหลงหลาตราบฟาดิน

Page 131: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๑

เกม ภาพตัดตอ จุดประสงค

๑. เพ่ือใหนักเรียนยอมรับกฎกติกาท่ีตั้งขึ้น ๒. เพ่ือสงเสริมความรวมมือกันในการทํากิจกรรม ๓. เพ่ือใหนักเรียนไดควบคุมตัวเอง ๔. เพ่ือใหเกิดความสนุกสนาน

อุปกรณ ๑. ภาพตัดตอ จํานวน ๔ ชุด

- ภาพทหาร - ภาพถนนหนทางไฟฟา - ภาพเทิดทูนพระมหากษัตริย - ภาพทําบุญตักบาตร

วิธีการเลน ๑. แบงกลุมนักเรียนออกเปน ๔ กลุม แตละกลุมกําหนดผูสังเกตการณกลุม ๒ คน ๒. แจงกติกาการเลนใหนักเรียนทราบ ดังนี ้๒.๑ แตละกลุมตั้งผูนํา ๓ คน ๒.๒ ผูนําท้ัง ๓ คน ออกคําส่ังใหสมาชิกนําภาพตัดตอวางประกอบกัน ใหเปนรูปภาพ

โดยผูแตละคนผลัดกันออกคําส่ังครั้งละ ๑ คน เทานั้น ๒.๓ สมาชิกท่ีเหลือภายในกลุมหามพูด ทําตามคําส่ังผูนําเทานั้น

๓. แจกภาพตัดตอใหกลุมละ๑ ชุด ผูนําแจกภาพตัดตอใหสมาชิกภายในกลุม คนละ ๑ ช้ิน ๔. ทบทวนและทําความเขาใจ กติกาอีกครั้งหนึ่งกอนลงมือเลน ๕. ใหทุกกลุมนั่งเปนวงกลม สมาชิกลุมแตละคนวางช้ินภาพตัดตอตรงหนาของงาน ผูนํา

กลุมท้ัง ๓ คนอยูในวงกลม ๖. เริ่มเลน ๑. ผูนําพิจารณาภาพตัดตอท่ีวางอยูตรงหนาสมาชิกแตละคน ๒. ผูนํา ๓ คนผลัดกันออกคําส่ังครั้งละ ๑ คน ใหสมาชิกวางตอภาพตัดตอท่ี กลางวง

ใหเปนรูปภาพท่ีตองการ ๗. ภายในเวลา ๕ นาที กลุมใดตอภาพตัดตอเสร็จหรือสมบูรณมาท่ีสุดแลถูกตองตาม

กติกาเปนผูชนะ

Page 132: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๒ความรูสําหรับครู

การเปนพลเมืองที่ดีของประเทศชาต ิ ๑. ความหมายของคําวา “พลเมือง” พลเมือง หมายถึง ประชาชนซ่ึงเปนกําลังอันสําคัญของประเทศชาติ ๒. หนาท่ีของพลเมืองท่ีด ี ๒.๑ มีความรักชาต ิเคารพศาสนา เทิดทูนพระมหากษัตริย

๒.๒ ศรัทธาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ๒.๓ เคารพกฎหมายบานเมือง ๒.๔ เสียภาษีบํารุงรัฐ ๒.๕ ซ่ือสัตยสุจริตตอหนาท่ีการงาน ๒.๖ ขยันหม่ันเพียรประกอบอาชีพสุจริต ๒.๗ ไมตกเปนทาสยาเสพติดและอบายมุขทุกชนิด ๒.๘ พัฒนาตนเองใหสมบูรณและกาวหนาอยูเสมอ ๒.๙ ชวยสราง ปองกัน รักษา สาธารณสมบัติของชาต ิ๒.๑๐ เสียสละไมเห็นแกตัวเม่ือชาติมีภัยสามารถเสียสละชีวิตเพ่ือปกปองชาติได

๓. โทษของการไมเปนพลเมืองท่ีด ี๓.๑ ถูกเพงโทษ ๓.๒ ถูกประณามวาเปนคนเห็นแกตัว ทําลายชาต ิ๓.๓ เปนท่ีเกลียดชังของคนท่ัวไป ๓.๔ จะไมมีแผนดินอยู ๓.๕ ไมมีท่ีพ่ึงทางใจ ๓.๖ ไมเปนศูนยรวมใจของชนในชาต ิ๓.๗ ถวงความเจริญในการพัฒนาประเทศชาต ิ

๔. ผลดีอันเกิดจากการเปนพลเมืองท่ีด ี๔.๑ มีความเปนอยูปลอดภัย ๔.๒ เปนท่ีนิยมรักใครของคนท่ัวไป ๔.๓ เปนท่ีตองการของสังคม ของชาต ิเพราะเปนคนมีประโยชน ๔.๔ ชวยสงเสริมการพัฒนาประเทศใหกาวหนาไปไดรวดเร็ว ๔.๕ คนในชาติอยูรวมกันดวยความรมเย็นเปนสุข ๔.๖ สามารถดํารงชาติไวได

Page 133: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๓แผนภูมิกติกาของเกมภาพตัดตอ

กติกา

๑. ผูท่ีสามารถพูดและออกคําส่ังไดคือผูนําเกม ๓ คนเทานั้น ๒. ผูนําเกมผลัดกันออกคําส่ังไดครั้งละ ๑ คน ๓. ผูท่ีตอภาพหามพูด ตองปฏิบัติตามคําส่ังผูนําเกมเทานั้น ๔. ใชเวลาในการตอภาพภายใน ๕ นาที

Page 134: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๔ พุทธศาสนกิชนที่ด ี

๑. กิจกรรมที่ ๓ พุทธศาสนิกชนท่ีด ี๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ ความชอบ ความช่ืนชม และดานคุณคาของส่ิงตาง ๆ ๓.๒ ความตั้งใจ การเอาใจใส ทําใหดีกวาเดิมอยูเสมอ ๓.๓ ความเพียรพยายาม มุงม่ัน บากบ่ัน ๓.๔ การเลือกรับขอมูลขาวสาร

๔. จุดประสงค ๔.๑ สามารถอธิบายไดวาการเปนพุทธศาสนิกชนท่ีดีมีความสําคัญและประโยชนอยางไร ๔.๒ สามารถอธิบายไดวาพุทธศาสนิกชนท่ีดีความปฏิบัติตนอยางไร ๔.๓ มีความพรอมท่ีจะปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนท่ีด ี

๕. แนวคิด พุทธศาสนิกชนท่ีดีตองเปนผูตั้งใจศึกษาธรรม มีศรัทธาม่ันคงในพระรตันตรัย ไมเปนทาส

ของอบายมุข มีความเพียรพยายาม มุงม่ัน มีความเพียรชอบ จะทําใหมีหลักในการดํารงชีวิต นําพาใหชีวิตของตนเองและครอบครัวสงบสุข สังคมเกิดสันติสุข ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ วิทยากรและนักเรียนรวมกันสนทนากันวาคนท่ีนับถือพระพุทธศาสนาควรปฏิบัติ

อะไรบางท่ีนายกยองชมเชย และมีการปฏิบัติอยางไรบางท่ีไมสมควร ขั้นกิจกรรม ๖.๒ ใหนักเรียนแบงกลุม ๓ กลุม แตละกลุมเลือกประธานและเลขานุการกลุม ๖.๓ แตละกลุมรวมกันอภิปรายตามประเด็นดังนี ้

กลุมท่ี ๑ ผลดีท่ีเกิดขึ้นแกบุคคลใกลชิดเชน บิดา มารดา ญาติพ่ีนอง มิตรสหาย และบุคคลอ่ืนท่ีเคยพบเห็นจากการปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนท่ีด ี

กลุมท่ี ๒ ผลเสียท่ีเกิดขึ้นแกบุคคลใกลชิดเชน บิดามารดา ญาติพ่ีนอง มิตรสหาย และบุคคลอ่ืนท่ีเคยพบเห็นจากการไมปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนท่ีด ี

กลุมท่ี ๓ มีวิธีปฏิบัติตนอยางไรท่ีจะทําใหเปนพุทธศาสนิกชนท่ีด ีขั้นสรุป ๖.๔ นักเรียนรวมกันสรุป “การปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนท่ีด”ี ๖.๕ วิทยากรสรุปใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

Page 135: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๕ ๖.๖ อานบทรอยกรอง “ศาสนิกท่ีด”ี

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ บทรอยกรอง ศาสนิกท่ีด ี๗.๒ ทําความด ี๗.๓ กระดาษบันทึก

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกต

- การตอบคําถาม - การรวมกิจกรรม

๘.๒ ตรวจผลงาน - - บันทึกขอสรุปของกลุม

Page 136: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๖ บทรอยกรอง ศาสนิกที่ด ี

ศ.สุมน อมรวิวัฒน

ศาสนิกนับถือศาสนา ตามรอยศาสดานําทางให ศีลธรรมสองทางสวางไกล ศรัทธานอมยอมใจใฝผลบุญ คําส่ังสอนหลักแสดงนั้นแจงชัด ปฏิบัติตามจริงส่ิงเกื้อหนุน ละเวนช่ัว ทําดีนี้เกิดคุณ จิตค้ําจุนนึกครบสงบงาม

Page 137: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๗ความรูสําหรับครู การเปนสาวกที่ด ี

๑. ความหมาย

สาวกท่ีดี หมายถึง ผูท่ีสามารถเดินตามทางของพระศาสดาได ๒. วิธีปฏิบัติเพ่ือเปนสาวกท่ีด ี

๒.๑ ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยใหเขาใจถูกตอง และเพียงพอแกสถานะของตน ๒.๒ มีศรัทธาม่ันคงในพระรัตนตรัย ๒.๓ มีศีลบริสุทธ์ิ และไมตกเปนทางอบายมุข ๒.๔ ไมเช่ือมงคลตื่นขาว คือ เช่ือกรรมไมเช่ือมงคล ๒.๕ ไมแสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา ๒.๖ ทําบุญแตในพระพุทธศาสนา

๓. ผลดีอันเกิดจากการเปนสาวกท่ีด ี๓.๑ มีชีวิตท่ีสงบเย็นอยูดวยความถูกตอง ๓.๒ เปนคนมีความม่ันคง เพราะมีท่ีพ่ึงทางใจอันถูกตอง ๓.๓ สามารถแกปญหาของชีวิตท่ีเกิดขึ้นดวยปญญาอันถูกตอง ๓.๔ ผูท่ีเกี่ยวของมีความสุขสงบเย็นไปดวย ๓.๕ เปนผูสามารถไดรับประโยชนสูงสุดท่ีมนุษยควรไดรับ ๓.๖ เปนตัวอยางอันดีแกผูท่ีพบเห็น ใหเกิดความปรารถนาจะทําตาม ๓.๗ เปนการสงเสริมความเจริญ และความม่ันคงของชาต ิ

๔. โทษของการไมสามารถเปนสาวกท่ีด ี๔.๑ มีชีวิตความเปนอยูดวยความทุกขเรารอนใจ ๔.๒ เปนคนเปลาประโยชน เพราะขาดท่ีพ่ึงทางใจอันถูกตอง ๔.๓ ไมสามารถแกไขปญหาของชีวิตท่ีเกิดขึ้นได ๔.๔ ทําใหตนเองขาดประโยชนท่ีพึงจะไดรับ ๔.๕ ทําใหผูท่ีเกี่ยวของมีความทุกขเรารอนใจไปดวย ๔.๖ เปนการทําลายศาสนาโดยไมรูตัว หรือรูเทาไมถึงการณ ๔.๗ บ่ันทอนความเจริญ และความม่ันคงของชาต ิ

Page 138: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๘ สุขภาพอนามัยที่ด ี

๑. กิจกรรมที่ ๔ สุขภาพอนามัยท่ีด ี๒. เวลาที่ใช ๔๕ นาที ๓. พฤติกรรมบงชี ้

๓.๑ การเปนผูมีอารมณแจมใส มีใจเมตตา ๓.๒ การเลือกกิจกรรมออกกําลังกายท่ีเหมาะสม ๓.๓ การเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนตอรางกาย ๓.๔ การใชเวลาในการทํางานและเลือกกิจกรรมเพ่ือการพักผอนหยอนใจท่ีเหมาะสม

๔. จุดประสงค ๔.๑ นักเรียนสามารถบอกความสําคัญและผลดีของการมีสุขภาพอนามัยท่ีดีได ๔.๒ นักเรียนสามารถอธิบายถึงวิธีการรักษาสุขภาพอนามัยท่ีดีได ๔.๓ นักเรียนสามารถปฏิบัติตนในการรักษาสุขภาพอนามัยได

๕. แนวคิด การรูจักพิจารณาในการเลือกบริโภคอาหาร การปฏิบัติตนใหเหมาะสมและถูกตองในการ

ทํางาน การออกกําลังกาย การพักผอนหยอนใจ และการมีอารมณแจมใสดวยใจเมตตา ยอมทําใหมีสุขภาพอนามัยท่ีด ีมีความสุขกายและสุขใจ ๖. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ขั้นนํา ๖.๑ วิทยากรและนักเรียนรวมกันสนทนาตามแนวพุทธภาษิต “อโรคยา ปรมา ลาภา ความ

ไมมีโรคเปนลาภอันประเสริฐ” ตามประเด็นคําถามตอไปนี ้- นักเรียนเคยเห็นคนเจ็บปวยไหม เคยถามเขาไหมวาเขารูสึกอยางไร และนักเรียนรูสึกอยางไร

- นักเรียนเคยเห็นคนใกลชิดเชน บิดามารดา ญาติพ่ีนอง และมิตรสหายเจ็บปวยไหม เคยถามเขาไหมวาเขารูสึกอยางไร นักเรียนเองรูสึกอยางไร

- นักเรียนเองเคยเจ็บปวยไหม รูสึกอยางไร บิดามารดา ญาติพ่ีนองรูสึกอยางไร - ทําไมคนเราจึงเจ็บปวย - ถาเราไมเจ็บปวยหรือเม่ือเราหายจากการเจ็บปวย เรารูสึกอยางไร - นักเรียนเคยพบคนท่ีไมเคยเจ็บปวยบางไหม คิดวาเขาจะรูสึกอยางไร - นักเรียนรูสึกอยางไร เม่ือบุคคลในครอบครัวไมมีใครเจ็บปวย - ความไมมีโรคไมเจ็บปวยเปนลาภอันประเสริฐจริงไหม อยางไร

Page 139: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๓๙ ขั้นกิจกรรม ๖.๒ แบงนักเรียนเปน ๔ กลุม แตละกลุมเลือกประธานและเลขานุการกลุม ๖.๓ ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายและหาขอสรุปตามประเด็นตอไปนี ้

กลุมท่ี ๑ นักเรียนมีแนวปฏิบัติในการเลือกรับประทานอาหารเพ่ือใหมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงอยางไรบาง

กลุมท่ี ๒ นักเรียนมีวิธีการออกกําลังกายหรือบริหารรางกาย เพ่ือใหรางกายแข็งแรงอยางไรบาง

กลุม ๓ นักเรียนมีวิธีการพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยอยางไรบาง

กลุมท่ี ๔ นักเรียนสามารถทําอะไรบางเพ่ือใหมีอารมณแจมใส มีจิตใจเมตตา ๖.๔ ใหผูแทนของแตละกลุมของแตละกลุมนําเสนอผลการอภิปรายกลุม เพ่ือนนักเรียนให

ขอเสนอและเพ่ิมเติม ขั้นสรุป ๖.๕ วิทยากรและนักเรียนรวมสรุปแนวปฏิบัติเพ่ือใหมีสุขภาพอนามัยท่ีด ี

๗. ส่ือการจัดกิจกรรม ๗.๑ ใบงาน ๗.๒ กระดาษบันทึก

๘. การวัดและประเมินผล ๘.๑ สังเกต

- การรวมกิจกรรม - ความสนใจในกิจกรรม

๘.๒ ตรวจผลงาน - บันทึกผลการอภิปราย

Page 140: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๐ใบงานที ่๑ สําหรับกลุมที ่๑

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวามีรายการอาหารอะไรบางท่ีนักเรียนรับประทานบอย ๆ หรือเปนประจํา และชวยกันวิเคราะหตามตารางตอไปนี ้

ท่ี รายการอาหาร (กับขาว/ขนม)

ประเภท (หมู)

สารอาหาร

ประโยชนตอสุขภาพอนามัย มาก ปานกลาง นอย/ไมมี

สรุป ๑. อาหารท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยมาก มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๒. อาหารท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยปานกลาง มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๓. อาหารท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยนอยหรือไมมีเลย มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

Page 141: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๑ใบงานที ่๒ สําหรับกลุมที ่๒

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวามีนักเรียนเคยออกกําลังกายดวยกิจกรรมหรือวิธีการอะไรบาง และชวยกันวิเคราะหตามตารางตอไปนี ้

ท่ี รายการกิจกรรมออกกําลังกาย จํานวน คน

ประโยชนตอสุขภาพอนามัย มาก ปานกลาง นอย/ไมมี

สรุป ๑. กิจกรรมออกกําลังกายตอสุขภาพอนามัยมาก มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๒. กิจกรรมออกกําลังกายตอสุขภาพอนามัยปานกลาง มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๓. กิจกรรมออกกําลังกายนอยหรือไมมีเลย มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๔. กิจกรรมท่ีนักเรียนทํามากท่ีสุดไดแก............................................................................................ อันดับ ๒ ไดแก............................................................................................................................. อันดับ ๓ ไดแก.............................................................................................................................

Page 142: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๒ใบงานที ่๓ สําหรับกลุมที ่๓

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวานักเรียนเคยพักผอนหยอนใจโดยการทําอะไรบาง และชวยกันวิเคราะหตามตารางตอไปนี ้

ท่ี รายการกิจกรรมพักผอนหยอนใจ จํานวน คน

ประโยชนตอสุขภาพอนามัย มาก ปานกลาง นอย/ไมมี

สรุป ๑. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยมาก มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๒. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยปานกลาง มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๓. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนนอยหรือไมมีเลย มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๔. กิจกรรมท่ีนักเรียนทํามากท่ีสุดไดแก............................................................................................ อันดับ ๒ ไดแก............................................................................................................................. อันดับ ๓ ไดแก.............................................................................................................................

Page 143: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๓ ใบงานที ่๔ สําหรับกลุมที ่๔

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวาเม่ือนักเรียนไมสบายใจ นักเรียนมักทําอะไรเพ่ือใหเกิดความสบายใจ และชวยกันวิเคราะหตามตารางตอไปนี ้

ท่ี รายการกิจกรรมออกกําลังกาย จํานวน คน

ประโยชนตอสุขภาพอนามัย มาก ปานกลาง นอย/ไมมี

สรุป ๑. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยมาก มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๒. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนตอสุขภาพอนามัยปานกลาง มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๓. กิจกรรมพักผอนหยอนใจท่ีมีประโยชนนอยหรือไมมีเลย มี...........รายการ คือ.................................................................................................................................................

๔. กิจกรรมท่ีนักเรียนทํามากท่ีสุดไดแก............................................................................................ อันดับ ๒ ไดแก............................................................................................................................. อันดับ ๓ ไดแก.............................................................................................................................

Page 144: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๔

ภาคผนวก

Page 145: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๕ การเตรียมงาน ๑. เตรียมเขียนโครงการ ๒. เตรียมงบประมาณ ๓. เตรียมแตงตั้งคณะกรรมการฝายตาง ๆ เชน

๓.๑ คณะกรรมการอํานวยการ ๓.๒ คณะกรรมการดําเนินงานมี ๑๔ ฝาย ดังนี ้ กรรมการฝายประสานงาน กรรมการฝายท่ีปรึกษาประจํากลุม กรรมการฝายวิชาการและธุรการ กรรมการฝายประชาสัมพันธ กรรมการฝายพิธีการ กรรมการฝายเตรียมงานและจัดหาอุปกรณ กรรมการฝายเหรัญญิก กรรมการฝายปฏิคม กรรมการฝายสถานท่ีและบริการ กรรมการฝายโภชนาการ กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ กรรมการฝายพยาบาล กรรมการฝายรักษาความปลอดภัย กรรมการฝายประเมินผล

๔. เตรียมเด็กท่ีจะเขารับการอบรม ๔.๑ แจงใหเด็กทราบ ๔.๒ ทําหนังสือแจงใหผูปกครองเด็กใหทราบ ๔.๓ แจงใหเด็กเตรียมอุปกรณและเครื่องใชท่ีจําเปน

๕. เตรียมจัดรายช่ือเด็กเปนกลุม ๆ ๘ กลุม จํานวนเทากัน และทําปายช่ือเด็กกลุมละสีเชน กลุมฉันทะ ๑ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๑ สีน้ําเงิน กลุมฉันทะ ๒ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๒ สีน้ําเงิน กลุมวิริยะ ๑ สีฟา กลุมวิมังสา ๑ สีเขียว กลุมวิริยะ ๑ สีฟา กลุมวิมังสา ๑ สีเขียว

๖. เตรียมสถานท่ี ๖.๑ เตรียมหองประชุม ทําความสะอาด

Page 146: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๖ ตกแตงเวที เขียนปายตามตัวอยางดังนี ้โครงการอบรมคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียน “การอยูคายพุทธบุตรนักเรียน”

วันท่ี..........เดือน..........................พ.ศ.................... โรงเรียน.........................................................อําเภอ....................................

สถานท่ีอบรม........................................................

จัดแตงโตะหมูบูชาครบชุด (มีธงชาต,ิ พระบรมฉายาลักษณ, พระพุทธรูป) ติดตั้งเครื่องขยายเสียงพรอมเครื่องเทปคาสเซ็ทอยางดี จัดตั้งชุดรับแขกและเกาอ้ี ดูแลแสงไฟใหพอใชสําหรับกิจกรรมกลางคืน ๖.๒ เตรียมท่ีวางอาหาร เตรียมท่ีวางอาหาร ๔ ท่ี (ถาเด็กนอย จัด ๒ ท่ี ก็ได) จัดท่ีวางอาหารใกลหองประชุม (ถารับประทานอาหารท่ีหองประชุม) จัดท่ีวางคูลเลอรน้ํา ๔ ท่ี ๖.๓ เตรียมท่ีลางจาน ใชโตะตั้งเปนแถวเทาจํานวนกลุมของนักเรียน จัดท่ีลางจานในสถานท่ีอันเหมาะสม (ถาท่ีลางจานมีอยูแลวก็ไมตองจัดใหม) ๖.๔ เตรียมท่ีเก็บจาน จัดโตะเปนแถวยาว สามารถตั้งกะลังมังได ๔ ใบ จํานวน ๔ แถว จัดท่ีลางจานในสถานท่ีอันเหมาะสม (ถาท่ีลางจานมีอยูแลวก็ไมตองจัดใหม) ๖.๕ เตรียมท่ีวางรองเทา เลือกสถานท่ีท่ีวางรองเทาท่ีเหมาะสม เขียนปายช่ือกลุมติดไว ใหเด็กวางรองเทาเปนกลุม ท่ีหองประชุม, โรงอาหาร, ท่ีหองนอน ๖.๖ เตรียมท่ีนอนชาย-หญิง ๖.๗ เตรียมท่ีอาบน้ําชาย-หญิง ๖.๘ เตรียมราวตากผาชาย-หญิง ๖.๙ เตรียมสถานท่ีแบงฐานอบรม ๔ ฐาน ทําความสะอาดสถานท่ี ติดตั้งเครื่องขยายเสียงเล็ก ตั้งน้ําดื่มสําหรับพระวิทยากร

Page 147: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๗ ตั้งโตะเกาอ้ีสําหรับพระวิทยากรนั่ง

๗. เตรียมอุปกรณ ๗.๑ เตรียมเส่ือปูหองประชุม ถาจํานวนเด็ก ๒๕๐ คน ใชเส่ือยาว ๒๔ ผืน ถาจํานวนเด็ก ๓๐๐ คน ใชเส่ือยาว ๓๒ ผืน ใชปูเวทีสําหรับนั่งสวดมนต ๓๒ ผืน ๗.๒ เตรียมเส่ือปูหองพระวิทยากร ๗.๓ เตรียมเส่ือปูหองพักครูท่ีปรึกษา ๗.๔ เตรียมภาชนะใสน้ําลางจาน ใชกะละมังขนาดกลางหรือใหญ ๑๖ ใบ ๗.๕ เตรียมภาชนะใสเศษอาหาร จํานวน ๔ ใบ ๗.๖ เตรียมน้ํายาลางจานและสกอตไบรท ๗.๗ เตรียมเหยือกน้ําจํานวน ๑ โหล ๗.๘ เตรียมคูลเลอรขนาดใหญ ๔ ใบ ๗.๙ เตรียมแกวน้ําจํานวนนักเรียน, คร,ู พระวิทยากร ๗.๑๐ เตรียมจานขนาด ๘ นิ้ว (หรือถาดหลุมก็ได) และชอนจํานวนเทานักเรียน, ครู, พระ

๘. เตรียมอุปกรณเสริมกิจกรรม ๘.๑ พิธีมอบตัวเปนศิษย เตรียมพานดอกไมสําหรับหญิงและพานธูปเทียนแพสําหรับชาย ประเคนใหพระวิทยากร

รับมอบแทนวิทยากรทุกรูปและทุกคน ๘.๒ พิธีสูความเปนพุทธบุตร เตรียมเทียนขนาด ๖ นิ้ว เทาจํานวน พระ, ครู, นักเรียน

๙. เตรียมบุคคลเสริมกิจกรรม ๙.๑ พิธีเปดการอบรม

- เตรียมบุคคลเปนพิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - เตรียมบุคคลจุดเทียนชนวนสงใหประธาน

๙.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย - เตรียมเด็กกลาวนํามอบตัวเปนศิษย จํานวน ๑ คน

๙.๓ พิธีอธิษฐานจิตเพ่ือชีวิตใหม และปดการอบรม - เตรียมประธานกลาวปราศรัยและปดการอบรม - เตรียมตัวแทนฝายคร ูอาจารยหญิงอานบทความเปนตัวแทนแม ๑ คน - เตรียมนักเรียนท่ีชนะการประกวดเรียงความ ๖ คน (ประเภทละ ๓ รางวัล)

๑๐. เตรียมเพลงประกอบกิจกรรม

Page 148: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๘๑๐.๑ พิธีเปดการอบรม เตรียมเพลงพระรัตนตรัย ๑๐.๒ พิธีมอบตัวเปนศิษย ดนตรีเดี่ยวไวโอลินเพลงชุดลมพัดชายเขา เพลงพระคุณท่ีสาม เพลงแมพิมพของชาติล ๑๐.๓ กติกาสัญญาใจ เพลงทําดีไดด ี๑๐.๔ พิธีสูความเปนพุทธบุตร ดนตรีชุดลมพัดชายเขา เพลงพระรัตนตรัย เพลงอธิษฐาน บทสวดสรรเสริญพุทธคุณ ๑๐.๕ พิธีอธิษฐานจิตเพ่ือชีวิตใหม ดนตรีชุดลพัดชายเขา เพลงพระคุณท่ีสาม เพลงแมพิมพของชาติ เพลงลาคุณคร ู๑๐.๖ พิธีปดการอบรม

- เพลงพระรัตนตรัย - เพลงลมพัดชายเขา - เพลงธรณีกรรแสง - เพลงพญาโศก

Page 149: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๔๙ หนาที่กรรมการฝายตาง ๆ

๑. กรรมการอํานวยการ มีหนาท่ีใหคําปรึกษาแนะนํา แกปญหาอํานวยความสะดวก ควบคุม

การอยูคายใหเปนไปดวยความเรียบรอยทุกประการ ๒. กรรมการดําเนินการ ๒.๑ กรรมการฝายประสานงาน มีหนาท่ีประสานงานกับพระวิทยากร ครูอาจารยท่ี

ปรึกษาประจํากลุม กรรมการฝายตาง ๆ ๒.๒ กรรมการท่ีปรึกษาประจํากลุม มีหนาท่ีดังนี ้

๑) รับรายงานตัวนักเรียน แจกปายช่ือนักเรียน ใหนักเรียนนํากระเปาไปเก็บในท่ีซ่ึงจัดไวเปนกลุม

๒) ดูแลใหนักเรียนติดปายช่ือใหเรียบรอย ๓) สํารวจกระเปานักเรียน เพ่ือดูความเรียบรอย มิใหมีอาวุธ ส่ิงเสพติด และรับฝากของมีคาของนักเรียน

๔) ใหนักเรียนทําความรูจักใหมากท่ีสุด สํารวจจํานวนนักเรียน ในกลุมทุกกิจกรรม และกอนนอน ชวยจัดเล้ียงอาหาร น้ําดื่ม ตามกําหนดเวลา

๕) ประสานงานกับพระวิทยากร ในการอบรมนักเรียน ๖) รวมกิจกรรมกับนักเรียนทุกกิจกรรม ๗) เปนวิทยากรเสริม รับทราบปญหาและเปนท่ีปรึกษาของนักเรียน ๘) ดูแลใหนักเรียนปฏิบัติตามระเบียบของอยูคาย ใหนักเรียนมีความสามัคคีตอกัน ตรงตอเวลา เขาหองประชุมอยางสงบ

๒.๓ กรรมการฝายวิชาการและธุรการ - มีหนาท่ีจัดเตรียมเอกสารตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการอบรม - จัดรายช่ือนักเรียนท่ีเขารับการอบรมใหเปนกลุมโดยคละกัน ๔ กลุม จัดทําปายช่ือนักเรียน ปายช่ือครู แยกไวเปนกลุม ๆ ละสี เขียนปายช่ือกลุมทําเปนกลองสามเหล่ียมวางไวท่ีหนาแถวในหองประชุม

- เขียนปายช่ือกลุมท่ีวางรองเทา ท่ีหองนอน ท่ีลางจาน ท่ีตักอาหาร ๒.๔ กรรมการฝายประชาสัมพันธ

- มีหนาท่ีประชาสัมพันธโครงการ เชน จัดสงเสริมโครางการไปใหส่ือมวลชนตาง ๆ จัดสงโครงการไปใหสมาคม ชมรม หางราน เพ่ือขอความอุปถัมภโครงการ

- เขียนปายประชาสัมพันธภายในและภายนอกสถานท่ีนั้น ๒.๕ กรรมการฝายพิธีการ

Page 150: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๐- จัดดอกไมธูปเทียน จัดโตะหมูบูชา จัดเตรียมเวที - จัดเตรียมอุปกรณสําหรับพิธีตาง ๆ เชน พิธีเปด พิธีปดการอบรม พิธีมอบตัวเปนศิษย พิธีสูความเปนพุทธบุตร และพิธีอธิษฐานจิตเพ่ือชีวิตใหม

- เปนพิธีกรตลอดงาน - ดูแลอํานวยความสะดวกแกพระวิทยากรในทุก ๆ ดาน

๒.๖ กรรมการฝายเตรียมการและจัดหาอุปกรณ - มีหนาท่ีจัดหาอุปกรณท่ีจําเปนในการอยูคายมาเตรียมไวใหพรอม โดยประสานงานกับกรรมการฝายอ่ืน ๆ

- รับเงินท่ีผูมีจิตศรัทธาบริจาค ควบคุมการใชจายเงิน - จัดทําบัญชีรับ-จายใหเรียบรอย

๒.๗ กรรมการฝายปฏิคม - ตอนรับแขกผูมีเกียรติ ผูปกครองนักเรียน ทานประธาน หรือผูท่ีมาเกี่ยวของกับงานในโครงการ

- บริการน้ําดื่ม แนะนําใหรูจักสถานท่ีเปนตน ๒.๘ กรรมการฝายสถานท่ีและบริการ

- จัดเตรยีมหองประชุม จัดชุดรับแขก สถานท่ีวางอาหาร ท่ีลางจาน ท่ีอาบน้ํา หองนอน ราวตากผา สถานท่ีแบงฐานอบรม

๒.๙ กรรมการฝายโภชนาการ - จัดปรุงอาหาร จัดน้ําดื่มใหเพียงพอกับจํานวนผูท่ีเขารวมการอบรม ใหทันตามเวลาท่ีกําหนด

๒.๑๐ กรรมการฝายโสตทัศนูปกรณ - จัดแสง เสียง ใหเพียงพอทุกจุดท่ีจําเปน - บันทึกเทป บันทึกภาพ ตลอดการฝกอบรม

๒.๑๑ กรรมการฝายพยาบาล - ดูแลชวยเหลือผูเขี่วมการอบรมท่ีเจ็บไขไดปวยตลดเวลาจนส้ินโครงการ

๒.๑๒ กรรมการฝายรักษาความปลอดภัย - รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของผูเขารวมอบรม - ดูแลมิใหเรื่องท่ีไมเหมาะสมเกิดขึ้น

๒.๑๓ กรรมการฝายประเมินผล - จัดทําแบบประเมินผล และประเมินผลโครงการ

Page 151: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๑ ตัวอยางหนังสือขออนุญาตนํานักเรียนเขาคายพุทธบุตร

ท่ี ศธ ๑๑๔๑.๐๙/ โรงเรียนวัดบานมุง อ.เนินปราง จ.พิษณุโลก 65170

๑๘ มิถุนายน ๒๕๔๐ เรื่อง ขออนุญาตนํานักเรยีนเขาคายอบรมคุณธรรม “คายพุทธบุตรนักเรียน” เรียน ผูปกครอง (ด.ช. ด.ญ.).......................................................................

ดวยโรงเรียนวัดบานมุง จะจัดอบรมจริยธรรม คุณธรรม สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ ประมาณ ๒๐๐ คน ณ วัดบานมุง ในวันท่ี................................................รวม ๓ วัน ๒ คืน เพ่ือเปนการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาจิตใจแกนักเรียน และสามารถนําความรูความเขาใจไปใชในชีวิตประจําวัน โดยอาราธนาพระวิทยากร จากสํานักเผยแพรพระพุทธศาสนาจังหวัดพิษณุโลกมาเปนพระวิทยากรในการอบรมนักเรียนในครั้งนี้ และมีครูรวมควบคุมนักเรียน ฉะนั้นโรงเรียนจึงขออนุญาตนํานักเรียนในปกครองของทาน ไปอยูคายอบรมคุณธรรมนักเรียนในครั้งนี ้

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ หวังวาคงไดรับความรวมมือจากทานดวยด ีและขอความกรุณาคืนแบบตอบรับคืนโรงเรียนดวย จักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ (นายกําแหง สุขศิร)ิ

อาจารยใหญโรงเรียนวัดบานมุง

แบบตอบรับ ขาพเจา ผูปกครองของ.......................................................................................นักเรียนช้ัน ป. ๕ อนุญาต ไมอนุญาต ใหนักเรียนในความปกครองของขาพเจา ไปรวมอบรมคุณธรรมครั้งนี ้

ลงช่ือ..............................................ผูปกครอง

Page 152: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๒การเตรียมอุปกรณเคร่ืองใช

อุปกรณเคร่ืองใชระหวางการอยูคายพุทธบุตร ๑. ผาหม ๒. ผาเช็ดตัว ๓. แปรงสีฟน ยาสีฟน ผงซักฟอก ๔. ผาถุง ผาขาวมา สําหรับใชผลัดอาบน้ํา ๕. หมอน ๖. เส่ือพับ ผืนเล็ก ๑ ผืน ๗. แกวน้ํา ชอน ๘. ยารักษาโรค (โรคประจําตัว) ๙. ถุงพลาสติกสําหรับใสเส้ือผาเปยก ๑๐. สบู ขันน้ํา รองเทาแตะ ๑๑. ไฟฉาย ๑๒. เครื่องเขียน เชน ปากกา ดินสอ เปนตน

หมายเหต ุ: หามนักเรียนนําทรัพยสินเงินทาองของมีคาติดตัวมาระหวางการอบรม

Page 153: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๓ แบบประเมินผลการอบรมประจําวัน

วันท่ี...........เดือน................................พ.ศ............... คําช้ีแจงรายการประเมินมี ๑๐ ขอ ขอละ ๑๐ คะแนน

ขอท่ี

รายการ

กลุมนักเรียน รวมคะแนน กลุม ๑ กลุม ๒ กลุม ๓ กลุม ๔

๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑. ความมีระเบียบวินัย ๒. การตรงตอเวลา ๓. รักษาความสะอาด ๔. มีความตั้งใจและสนใจใน

บทเรียน

๕. มีความสามัคคีพรอมเพรียงในหมูคณะ

๖. มีความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย

๗. ใหความรวมมือในการทํา กิจกรรม

๘. มีความสํารวมท้ังกายและวาจามีความคิดริเริ่มสรางสรรค

๙. มารยาทระหวางรับประทานอาหาร ระหวางการอบรม

รวม คณะผูประเมิน ลงช่ือ ๑. ..................................................... (....................................................) ลงช่ือ ๒. ..................................................... (....................................................)

Page 154: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๔

แบบประเมินในการอยูคายพุทธบุตรนักเรียน

ระหวางวันท่ี...........เดือน................................พ.ศ............... ณ .............................................................

ช่ือ.........................................................โรงเรียน................................................................. คําช้ีแจง จงกาเครื่องหมาย / ลงในชองระดับความคิดเห็นท่ีตรงกับความจริงมากท่ีสุด

ขอท่ี รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น

มาก ปานกลาง นอย ๑. กอนการอบรมครั้งนี้ นักเรียนรูและเขาใจดาน

คุณธรรมมากนอยเพียงใด

๒. การกําหนดหัวขอในการบรรยายในแตละหัวขอเหมาะสมมากนอยเพียงใด

๓. การจัดวิทยากรในการบรรยายในแตละหัวขอเหมาะสมมากนอยเพียงใด

๔. การจัดแบงกลุมและฐานปฏิบัติงานเหมาะสมมากนอยเพียงใด

๕. การฝกสมาธิชวยใหนักเรียนมีจิตใจสงบและนําไปใชในการดํารงชีวิตมากนอยเพียงใด

๖. นักเรียนไดรับความรูในดานมารยาทชาวพุทธมากนอยเพียงใด

๗. การเดินจงกรมชวยใหนักเรียนควบคุมสติไดมากนอยเพียงใด

๘. การทําวัตรเชา-เย็นชวยใหนักเรียนสบายใจมากนอยเพียงใด

๙. การบริหารรางกายเชนการฝกโยคะชวยรางกายสดช่ืนแจมใสมากนอยเพียงใด

๑๐. คติธรรมท่ีไดรับจากการอบรมมีประโยชนตอนักเรียนไดมากนอยเพียงใด

๑๑. หลังการบรรยายหัวขอธรรมะตาง ๆ แลว นักเรียนมีความรู และเขาใจดานคุณธรรมและหลักศาสนาเพ่ิมขึ้นจากเดิมเพียงใด

Page 155: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๕

ขอท่ี รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น

มาก ปานกลาง นอย ๑๒. รายการฉายสไลดธรรมะมีประโยชนตอนักเรียนมาก

นอยเพียงใด

๑๓. รายการธรรมะนันทนาการชวยใหนักเรียนสนุกสนานและไดรับความรูมากนอยเพียงใด

๑๔. รายการละครธรรมะนักเรียนไดคติธรรมมากนอยเพียงใด

๑๕. นักเรียนไดรับความอบอุนและไดรับคําปรึกษาจากครูพ่ีเล้ียงประจําฐานมากนอยเพียงใด

๑๖. นักเรียนรูสึกประทับใจในการรับประทานอาหารอยางมีระเบียบมากนอยเพียงใด

๑๗. นักเรียนรูสึกซาบซ้ึงเขาใจและไดแนวทางท่ีจะนําไปใชในชีวิตประจําวันไดมากนอยเพียงใด

๑๘. ถาหากโอกาสหนามีการจัดเขาอบรมในลักษณะนี้อีกครั้งนักเรียนอยากเขาอบรมเพียงใด

๑๙. เม่ือส้ินสุดการอบรมครั้งนี้แลว นักเรียนจะแกไขปรับปรุงความประพฤติไปในทางท่ีดีมากนอยเพียงใด

๒๐. ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 156: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๖

แบบประเมินผลติดตามคุณลักษณะของนักเรียน หลังการอยูคายพุทธบุตร โครงการพัฒนาจิตลักษณะในระบบการเรียนการสอน

ขอท่ี คุณลักษณะของนักเรียนท่ีประเมิน ระดับคุณภาพ

มาก ปานกลาง นอย ๑. ความสนใจใฝรูและสรางสรรค

- ฟงคําบรรยาย อาน เขียน หนังสือ ดวยความตั้งใจ

- มีความตั้งใจศึกษาเลาเรียน - มีมานะ บากบ่ันตอการแกไขปญหาอุปสรรคตาง ๆ

ดวยความถูกตองแลมีเหตุผล

- ใชเวลาวางสรางสรรคส่ิงตาง ๆ ใหเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตประจําวัน

- มีการยับยั้งการแสดงพฤติกรรมท่ีไมด ีพรอมท่ีจะแกไขปญหา และใชความมีเหตุผลในการแกปญหา

- ศึกษาขอเท็จจริง และคนหาสาเหตุอยางมีเหตุผลและถูกตอง

- ปรับปรุงแกไขวิธีทํางานอยูเสมอ - มีความกระตือรือรนท่ีจะแสวงหาความรู - มีความกลาตัดสินใจและริเริ่มสรางสรรค ๒. ความมีน้ําใจ

- ไมรังแก ทํารายผูอ่ืน

- ชวยเหลือผูอ่ืนดวยความมีน้ําใจและไมตองการส่ิงตอบแทน

- ตักเตือนผูอ่ืนใหยับยั้งและควบคมุพฤติกรรมของเขา ท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายได

- การชวยเหลือผูอ่ืนและงานสาธารณประโยชน โดยไมนิ่งดูดาย

- แบงปนส่ิงของใหผูท่ีสมควรให - ใหอภัยในความผิดของผูอ่ืน ท่ีสํานึกผิดและไม

อาฆาตจองเวร

- เม่ือเก็บของไดสงคืนเจาของ

Page 157: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๗

ขอท่ี คุณลักษณะของนักเรียนท่ีประเมิน ระดับคุณภาพ

มาก ปานกลาง นอย ๓. ความมีวินัย

- ใชเหตุผลในการแกไขปญหาตาง ๆ

- ควบคุมอารมณและการทํางานของตนเองใหอยูในสภาพปกติได

- การยอมรับผิด เม่ือทําผิด - พูดความจริง - รักษาความสะอาดของสาธารณสถาน - กลาแสดงออกท่ีดี มีเหตุผล กลารับผิดเม่ือทําผิด และ

แกปญหาดวยความชอบธรรม ดวยความสามัคค ีและยุติธรรม

- ควบคุมสติดวยอาการปกต ิและมีลักษณะของความเปนผูนําท่ีด ี

- เห็นประโยชนตอสวนรวม - เคารพในสิทธิและหนาท่ีของกันและกัน ๔. ความเปนไทย

- ความสุภาพออนนอม

- ใชภาษาไทยในการพูดและเขียนอยางถูกตอง - แตงกายถูกตองตามกาลเทศะ - การมาโรงเรียนทันเวลา - เก็บของใชเปนระเบียบเรียบรอย - ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลากําหนด - ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของโรงเรียน - ทํางานท่ีรับผิดชอบจนเสร็จเรียบรอย - มีการควบคุมสติปญญาการกระทําตาง ๆ ในทางท่ีดี

มีเหตุผลท่ีถูกตอง

- ไมแสดงอาการโกรธหรืออ่ืน ๆ ตามอารมณ หรือไรเหตุผลในทางท่ีไมดี ไมงาม

- รูตัวตลอดเวลาวาตองคิดและกระทําในส่ิงดีงามเสมอ

Page 158: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๘

ขอท่ี คุณลักษณะของนักเรียนท่ีประเมิน ระดับคุณภาพ

มาก ปานกลาง นอย - รวมกิจกรรมในวันสําคัญเกี่ยวกับชาติ ศาสนา หรือ

พระมหากษัตริย

๕. การบริโภคดวยปญญาในวิถีชีวิตไทย - รักษาสาธารณสมบัติของชุมชน

- ไมใชจายสุรุยสุราย ฟุมเฟอย - ไมยอมรับสวนแบงหรือสะสมส่ิงของท่ีไมจําเปนตอ

การครองชีพของตน

- มีความคิดฉับไว ทันตอเหตุการณในดานตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และการศึกษา เปนตน

- เลือกดูรายการโทรทัศนท่ีมีประโยชน - รูจักเลือกคบเพ่ือน - รูจักเลือกรับวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม - เลือกรับวิทยาการและเทคโนโลย ี

ลงช่ือ............................................................. (...............................................................) ผูทําการประเมิน

Page 159: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๕๙ แบบประเมินคุณลักษณะนักเรียนหลังจากการอยูคายพุทธบุตร

(สัมภาษณนักเรียนท่ีเปนกลุมตัวอยาง) โรงเรียน....................................................สังกัดการประถมศึกษาอําเภอ.................................................. สํานักงานประถมศึกษา...............................................ประเมิน ณ วันท่ี....................................................

ขอท่ี คุณลักษณะของนักเรียน ผลการปฏิบัติ

ดีขึ้นมาก ดีขึ้นนอย คงเดิม ๑. ลดความโกรธ ความรุนแรง ไมแกลงผูอ่ืน ๒. มีจิตใจท่ีเยือกเย็นขึ้น ๓. รักเพ่ือน ๆ มากขึ้น ๔. เช่ือฟงครูและผูปกครอง ๕. มีความขยัน พ่ึงตนเอง มีความอดทน ๖. สามารถไหวพระ สวดมนต ไดถูกตอง ๗. สามารถกราบพระพุทธรูปไดถูกตอง ๘. สามารถนั่งสมาธิได ๙. มีความซ่ือสัตยสุจริต ไมลักขโมย ไมพูดเท็จ ๑๐. ชวยเหลือผูอ่ืน ๑๑. เปนผูวางายสอนงาย ไมดื้อรั้น ๑๒. เปนคนตรงตอเวลา ๑๓. มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผและเสียสละตอผูอ่ืน ๑๔. แบงปนส่ิงของใหแกผูท่ีสมควรให

๑๕. อภัยในความผิดของผูอ่ืน ท่ีสํานึกผิดและไมอาฆาตจองเวร

๑๖. ปรับปรุงแกไขวิธีการทํางานอยูเสมอ

Page 160: คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

๑๖๐ บรรณานุกรม

ธรรมวิมลโมลี, พระ. ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๓๔. นอม รกขิตสีโล, พระปลัด. คูมือวิทยากรการอบรมคุณธรรม คายพุทธบุตร ศูนยสืบอายุ

พระพุทธศาสนา วัดชบประทานรังสฤษฎิ.์ นนทบุร ี: บริษัทพิมพดีจํากัด, ๒๕๓๖. ประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก, สํานักงาน. คูมือการอยูคายพุทธบุตร โครงการสงเสริมคณุธรรม ทาง

พระพุทธศาสนา. พิษณุโลก, ๒๕๓๖. ประถมศึกษาอําเภอเนินมะปราง, สํานักงาน. คูมือการอยูคายจิตสํานึก. พิษณุโลก, ๒๕๓๙. ศูนยกลางโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย. หลักสูตรการอยูคายพุทธบุตร วัดประยูรศาวาส.

กรุงเทพมหานคร, ๒๕๓๕. สุวิชา สิริธมโม, พระปลัด. คูมือคายจริยธรรมของพระนักเผยแผพระพุทธศาสนา จังหวัดพิษณุโลก.

พิษณุโลก, ๒๕๓๙.