บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/econtent/hg010/lesso… ·  ·...

31
แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม บทที2 โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.1

Upload: dangkhue

Post on 01-May-2018

219 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม

บทที่ 2

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.1

Page 2: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ที่มาและความสําคัญ

ทฤษฎี หมายถึง “กลุ่มของข้อเสนอแนะเกี่ยวกับนามธรรมและตรรกะที่พยายามอธิบายความ สัมพันธ์ในระหว่างสถานการณ์นั้น ๆ (A set of abstract and logical propositions which attempts to explain relationship between the phenomena)

อับราฮัม คับลาน (Abraham Kaplan) กล่าวว่า “ทฤษฎีเป็นวิธีในการทําความเข้าใจต่อ สถานการณ์กดดัน เพื่อให้เรานํากลุ่มความคิดที่เป็นสาระมาปรับและเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่ต้องการ อย่างมีประสิทธิภาพ”

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.2

Page 3: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ความหมายทฤษฎี

1 ความคิดที่เชื่อมโยงเป็นตรรกะประกอบกนัเข้ากับข้อเสนอแนะ โดยการสังเกต

2 ทฤษฎีต้องประกอบไปด้วยความเป็นสากล (Generalization) จากข้อเท็จจรงิที่

รู้จักกันดีและหลกัสากลนั้นอธิบายได้

3 ทฤษฎี คือ กลุ่มความคิดต้องสอดคล้องกับเงื่อนไข 3 ข้อคือ3.1 ข้อคิดเห็นต้องมีคําอธิบายที่ชัดเจน

3.2 ข้อคิดเห็นต้องสอดคล้องซึ่งกันและกัน

3.3 หลักสากลควรมาจากการอนุมาน

3.4 ต้องการแสดงแนวทางการสังเกตและความเป็นสากลเพื่อขยายขอบเขตแห่งความรู้

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.3

Page 4: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ประโยชน์ของการใช้ทฤษฎีทางสังคม

ทําให้เรามองปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยความเป็นจริง ทฤษฎีจะทําให้เรา

เข้าใจโลกแห่งความเป็นจริง (Real World)

1. เข้าใจความจริง

2. อธิบายความจรงิ

3. ทํานายอนาคตจากความจรงินั้น นอกจากโลกของความจรงิแล้ว

ยังทําให้เราเข้าใจโลกทางสังคม และให้ความกระจ่างชัดต่อ

ข้อเท็จจริงทางสังคม (Social Reality) ในแง่มุมนั้นอย่างดี จาก

การคิดและ สร้างทฤษฎีในแง่มุมต่าง ๆ ดังกล่าว ทําให้เรา

สามารถเข้าใจความจรงิทางสังคมที่หลากหลายได้ดีขึ้น

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.4

Page 5: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ทฤษฎีหลักทางสังคม

มี 4 ทฤษฎีด้วยกันคือ

1 ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Theory)

2 ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)

3 ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory)

4 ทฤษฎีสัญลักษณ์ (Symbolic Theory)

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.5

Page 6: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ระดับทฤษฎี นามธรรม รูปธรรม

มหภาค โครงสร้างการหน้าที่ ความขัดแย้ง

จุลภาค ปฎิสังสรรค์ทางสัญลักษณ์ การแลกเปลี่ยน

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.6

Page 7: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคมระดับมหภาค

• ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural Functionalism)

• ทฤษฎีความขัดแย้ง(Conflict Theory)

1 2

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.7

Page 8: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคมระดับจุลภาค

• ทฤษฎีการปฏิสังสรรค์ หรือทฤษฎีการกระทําระหว่างกันเชิงสัญลักษณ์ (Interactive Theory)

• ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน(Exchange Theory)

1 2

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.8

Page 9: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ระดับมหภาค

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.9

Page 10: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

1. ทฤษฎีโครงสร้างการหน้าที ่(Structural Functionalism)

เน้นที่การพิจารณาสังคม โดยแบ่งสังคมออกเป็น 2 ระดับ คือ

1. สังคมในระดับใหญ่ คือการศึกษาสังคมในระดับโครงสร้าง

2. สังคมในระดับเล็ก คือการศึกษาสังคมในระดับความสัมพันธ์

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.10

Page 11: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

1. ทฤษฎีโครงสร้างการหน้าที ่(Structural Functionalism)

o ..

เปรียบว่าสังคมคือสิ่งมีชีวติอยา่งหนึ่ง และถือเอาการปฏิบัติหน้าที่อย่าง “ปกติ”

ของสังคม เป็นเครื่องหมายของสุขภาพอนามัย สังคมที่ดีก็คือสุขภาพที่ดีของสังคม

สุขภาพของสังคมจึงเป็นสิ่งที่ดีเป็นสิ่งที่พึงปรารถนา

o ..

อธิบายและมองสังคมส่วนรวมว่าเป็นระบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ หรือ

ระบบต่าง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวกันและมีความสมัพนัธ์กัน ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเปลี่ยน

ส่วน อื่น ๆ จะมีผลกระทบเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.11

Page 12: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

นักทฤษฎีที่สําคัญ

o ออกัสต์ คองต์ (August Comte)

o เฮอร์เบริต์ สเปนเซอร์ (Herbert Spencer)

o อีมิล เดอร์คไฮม์ (Emile Durkheim )

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.12

Page 13: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ออกัสต์ คองต์ (August Comte)

o งานของคองต์สะท้อนการต่อต้านการปฏิวัติในฝรั่งเศสและความรอบรู้ทาง

ปัญญา ซึ่งเป็นมูลเหตุ สําคัญในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมคองต์ไมพ่อใจต่อ

ความวุ่นวายในสังคม และวิจารณ์ต่อผู้สนับสนุนการปฏิวัติและความรอบรู้

ทางปัญญา

o สร้างความคิดแนวปฏิฐานนิยม (Positivism) หรือ ปรัชญาแนวปฏิฐาน

(Positive Philosophy) และคิดเรื่อง “ฟิสิกส์ทางสังคม” (Social Physics) ที่

เรียกว่า “Sociology” (สังคมวิทยา) เพื่อตอบโต้ปฏิกิริยาเชิงลบและความวุ่นวาน

จากการปฏิวัติ

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.13

Page 14: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

เฮอร์เบริต์ สเปนเซอร์ (Herbert Spencer)

เสนอว่า วิวัฒนาการของสังคมนุษย์เป็นแบบสายเดียว (Unilinear) ที่ทุกสิ่งทุก

อย่างในจักรวาลมจีุดกําเนิดมาจากแหล่งเดียวกนัด้วยและมารวมตัวกันด้วย

กระบวนการสังเคราะห์ (Synthesis) ทําให้เกิดพัฒนาการที่ก้าวหน้าขึน้และ

ซับซ้อนมากขึ้น การพฒันาของสังคมจะมวีิวัฒนาการเป็นไปตามกฎของธรรมชาติ

กล่าวคือ มนุษย์ที่มีความสามารถในการปรบัตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมใหม่ๆ

ได้เป็นอย่างดีจะมชีีวิตอยูร่อดตลอดไป และนําไปสู่การพฒันาที่ดขีึ้นต่อไป

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.14

Page 15: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

อีมิล เดอร์คไฮม์ (Emile Durkheim)

o สมาชิกในสังคมอยู่เป็นระเบียบได้ : ความเชื่อ+ค่านิยมร่วมกัน เป็นระเบียบ

ของสังคม

o ส่วนต่างๆของสังคม มีหน้าที่ ( function ) ต่อการดํารงอยู่ของสังคมโดย

ส่วนรวม

o การฆ่าตัวตายของคนกลุ่มต่างๆขึ้นกับพลังทางสังคม

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.15

Page 16: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

2. ทฤษฎีความขัดแย้ง(Conflict Theory)

o แนวคิดนี้เกิดขึ้นจากคาร์ล มาร์ก (Karl Marx : 1818 – 1883)

o ทุกสังคมไม่สามารถหลกีเลี่ยงความขัดแย้งได้ และสังคมไม่ได้ประสาน

สอดคล้องกันทั้งหมด

o ความขัดแย้งนั้นเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงในที่สุด

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.16

Page 17: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ประเภทของการขัดแย้ง

1 ความขัดแย้งทางชนชั้น มักเกิดจากสถานภาพทางสังคมที่ถูกแบ่งแยก

2 ความขัดแย้งทางค่านิยม เช่น ค่านิยมจากความเชือ่ทางศาสนาเรื่องการ

คุมกําเนิด/การทําแท้ง

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.17

Page 18: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

นักทฤษฎีที่สําคัญ

o Karl Marx

o Ralf Dahrendorf

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.18

Page 19: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)

o เชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงของสังคม นั้นจะมีขั้นตอนของการพัฒนาทาง

ประวัติศาสตร์ 5 ขั้น

o โดยแต่ละขั้นจะมีวิธีการผลิต (Mode of Production) ที่เกิดจากความสัมพันธ์

ของ อํานาจของการผลิต (Forces of production) ซึ่งได้แก่ การจัดการด้าน

แรงงาน ที่ดิน ทุน และเทคโนโลยี กับ ความสัมพันธ์ทางสังคมของการผลติ

(Social relation of production) ซึ่งได้แก่ เจ้าของปัจจัยการผลติ และคนงานที่ทํา

หน้าที่ผลิต

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.19

Page 20: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)

แนวคิดของมาร์กซ์

ในระบบการผลติแต่ละระบบจะมีความขัดแยง้ระหวา่งชนชัน้ผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการ

ผลิตกับผู้ใช้แรงงานในการผลิต ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ที่เป็น

โครงสร้างส่วนล่างของสังคม (Substructure) และเมื่อโครงสรา้งส่วนล่างมีการ

เปลี่ยนแปลงจะมีผลทําใหเ้กิดการผันแปรและเปลี่ยนแปลงต่อโครงสรา้งส่วนบนของ

สังคม (Superstructure)

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.20

Page 21: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ (Ralf Dahrendorf)

แนวคิดของราล์ฟ ดาห์เรนดอร์

o ความขัดแยง้ไมไ่ดม้แีต่เรื่องระหว่างชนชั้น อาจเป็นความขัดแยง้ระหว่างกลุ่ม

ต่างๆได้

o กลุ่มภายในสังคมสามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 2 ประเภท

1. กลุ่มที่มีสิทธิอํานาจ

2. กลุ่มที่ไม่มสีิทธิอํานาจ

o ความขัดแยง้ระหว่างกลุ่มต่างๆ อาทิเช่น กลุ่มสีผิว กลุ่มเพศชาย-หญงิ กลุ่ม

ผลประโยชน์ต่างๆ

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.21

Page 22: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

ระดับจุลภาค

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.22

Page 23: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

1. ทฤษฎีการปฏิสังสรรค์ หรือทฤษฎีการกระทําระหว่างกันเชิงสัญลักษณ์

(Interactive Theory)

o บางครั้งอาจถูกเรียกวา่ Symbolic Interaction ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีในกลุ่ม

ทฤษฎีจุลภาค

o สนใจความสัมพันธ์ของมนุษย์ หรือกลุ่มคนที่มีจํานวนสมาชิกไม่มาก มีกรอบ

แนวความคิดวา่ การที่คนเรามคีวามสัมพันธ์กันทางสังคม (Social Interaction)

ขึ้นอยู่กับการมีระบบสัญลักษณ์และระบบสัญลักษณ์ที่สําคัญที่สุดของมนุษย์ที่ทํา

ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ได้ก็คือ ภาษา (ซึ่งหมายถึงทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน)

ทฤษฎีระดับจุลภาค

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.23

Page 24: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

การอธิบายโดย ทฤษฎีการปฏิสังสรรค์ หรือทฤษฎีการกระทาํระหว่างกัน

เชิงสัญลักษณ์ (Interactive Theory)

o การกระทําใด ๆ ของมนุษย์จึงล้วนแต่มีความหมาย เป็นการกระทําซึ่งผ่าน

ระบบสัญลกัษณ์ออกมา

o คําว่า Symbolic Interaction จึงหมายถึง กลุ่มสัญลกัษณแ์ละความเข้าใจที่ใช้

กันจนเป็นปกติในกลุ่มคนทั่ว ๆไป ดังนั้นปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นจึงขึ้นอยู่กับ

การสื่อความเข้าใจและการสรา้งความหมายของมนุษย์ในแต่ละสังคม

ทฤษฎีระดับจุลภาค

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.24

Page 25: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

นักทฤษฎีที่สําคัญ

o Max Weber

o Charles Horton Cooley

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.25

Page 26: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

แมค เวเบอร์ (Max Weber)

o ใช้หลักจิตวิทยามาใช้ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และในผลงานที่ชื่อว่า The Protestant Ethic and the Spirit of Capitalism

o การพัฒนาของในสังคมอุตสาหกรรมสมัยใหม่ตามลัทธิทุนนิยม เกิดขึ้นหลังสมัยศตวรรษที่ 16 เมื่อในยุโรปตะวันตกมีการแพร่กระจายคําสอนของศาสนาคริสต์ ลัทธิโปรแตสแตน (Protestant ethic) ที่สอนให้ศาสนิกชนเกิดจิตวิญญาณแบบทุนนิยม (Spirit of Capitalism)

o การพัฒนาของจิตวิญญาณแบบทุนนยิมทําให้เกิดลัทธิความมีเหตุผล (Rationalism) ซึ่ง

ภายใต้สังคมที่ใช้ความมีเหตุผลจะทําให้บุคคลมีความน่าเชื่อถือ ซื่อสัตย์ สุจริต ยอมรับสิ่ง

ใหม่และสามารถเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สภาวะแวดล้อมใหม่ ๆ อิทธิพลของความคิด ความเชื่อ

และบุคลิกภาพของคนในสังคมภายใต้สภาวะดังกล่าวมีผลทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง

สังคมตามมา

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.26

Page 27: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

Charles Horton Cooley

o ทฤษฎีสะท้อนเงาตัวเองในกระจก (The Looking Glass Self) เขาคิดว่า มนุษย์มีความสํานึก ๆ เกิด จากการถูกหลอ่หลอมโดยความปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง อีกประการหนึ่ง คูลีย์ ศึกษาเรื่องกลุ่มปฐมภูมิ (Primary Group) กลุ่มปฐมภูมิ เป็นกลุ่มที่มี ความสนิทสนมผูกพันธ์อย่างใกล้ชดิ เขาพบว่า กลุ่มนี้มีบทบาทอย่างยิ่งในการเชื่อมโยงผู้กระทําากับสังคม ส่วนใหญ่ เชื่อมโยง ปฐมภูมิ ผู้กระทํา มีอิทธิพล สังคมใหญ่

o ใช้วิธีที่ “วิเคราะห์ ่ ด้วยความเห็นอกเห็นใจ” (Sympathetic Introspection) จึงสามารถจะเข้าใจพฤติกรรมของคนในสังคม ได้อย่างท่องแท้

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.27

Page 28: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคมทฤษฎีระดับจุลภาค

2. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม (Social Exchange Theory)

o ได้พยายามอธิบายให้เข้าใจถึงการเพิ่มและสญูเสยีอํานาจ เหมือนกับ

กระบวนการแลกเปลี่ยนอิทธิพลระหวา่งผู้นํากับผู้ตามที่เกิดขึ้นตลอดเวลา

ในการอยู่รว่มกัน ทฤษฎีนี้พิจารณาบนพื้นฐานของกระบวนการมี

ความสัมพันธ์ระหวา่งบุคคล เพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของกลุม่คนใน

สังคมอันซับซ้อน

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.28

Page 29: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคมทฤษฎีระดับจุลภาค

หลักวิธีคิด

o มนุษย์จะพัฒนาความสัมพันธ์ที่จะทําให้ตนได้รบัประโยชน์มากที่สุด

o ผลประโยชน์ (Profits) = รางวัล (Rewards) – ต้นทุน (Costs)

o จะสื่อสารกับคนที่เราคิดว่าเราจะได้รบัผลกําไรจากการลงทุนไป การลงทุน

เช่น การลงทุนด้านเวลา อารมณ์ ศักดิ์ศรี ถ้าสิ่งที่เราจะได้รับมันมากกว่าที่

เราลงทุนไปหรือเราได้กําไร เราจะทํา (แต่ใช้ได้กับบางคนเท่านั้น)

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.29

Page 30: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคมทฤษฎีระดับจุลภาค

การแลกเปลี่ยนในแนวทฤษฎีสรุปได้ดังนี้

o ในเชิงการแลกเปลี่ยนทางสังคมนั้น มีองค์ประกอบที่เข้ามาเกี่ยวข้องคือ การสรา้ง

ความประทับใจ(ทําให้ได้ราคามากขึ้นต่อสินค้านั้น) รักษาระยะห่างทางบทบาท

(ระยะห่างก็เป็นตัวกําหนดราคาด้วย ยิ่งสนิทราคาก็จะถูกลง)

o องค์ประกอบอีกด้านคือบรรทัดฐานที่เกี่ยวกับการตอบแทนซึ่งกันและกัน ทั้ง

คุณค่า และราคา

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.30

Page 31: บทที่ 2elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/ECONTENT/HG010/lesso… ·  · 2012-08-01เข้าใจโลกแห่งความเป็ิง ... กลุ่ี่มีสิมท

HG010วิชาประเด็นทางสังคม

สรุปผลที่ได้รับจากการเกิดการแลกเปลี่ยนทางสังคม ทําให้สังคม

เกิดการบูรณาการ เกิดความไว้วางใจ นําไปสู่การเกิด

โครงสร้างสังคมใหม่ นําไปสู่การปฏิบัติตามบรรทัดฐานทาง

สังคมและนําไปสู่ค่านิยมร่วมกัน

โดยอาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ(มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย) P.31