welcome to chiang rai

15
Welcome Chiang Rai To

Upload: kanokporn-saenatit

Post on 24-Mar-2016

223 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

Welcome to Chiang Rai

TRANSCRIPT

Page 1: welcome to Chiang Rai

Welcome

Chiang RaiTo

Page 2: welcome to Chiang Rai

พระตำหนักดอยตุง

พระตำหนักดอยตุง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ฟ้าหลวง

จังหวัดเชียงราย บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200

ม. เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาดอยตุง เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรง

งานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระ-ตำหนักเป็นอาคารสองชั้น มีรูป

ทรงผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของสวิส มีการแกะสลักไม้ตามกาแล เ

ชิงชายและขอบหน้าต่างเป็นลวดลายต่าง ๆ ฝีมือช่างชาวเหนือ พระตำหนักดอยตุง

ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย

บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200 ม. เป็นส่วนหนึ่งข

องโครงการพัฒนาดอยตุง

Page 3: welcome to Chiang Rai

การเดินทาง

พระตำหนักดอยตุงอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 60 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข

110 ไป 45 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1149 ไปประมาณ 15

กิโลเมตร สำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถประจำทางสามารถใช้บริการรถสองแถ

วสีม่วงบริเวณปากทาง รถออกตั้งแต่ 07.00 น. มีรถออกทุก 20 นาที

Page 4: welcome to Chiang Rai

วัดร่องขุ่น เป็นวัดพุทธและวัดฮินดู ที่จังหวัดเชียงราย ออกแบบและก่อสร้างโดย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน โดยเฉลิมชัยคาดว่างานก่อสร้างวัดร่องขุ่นจะไม่เสร็จลงภายในช่วงชีวิตของเขา[1] วัดร่องขุ่นได้ต้นแบบการสร้างมาจาก วัดมิ่งเมือง ใน จังหวัดน่าน[2]

เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างวัดมาจาก 3 สิ่งต่อไปนี้คือ

ชาติ : ด้วยความรักบ้านเมือง รักงานศิลป์ จึงหวังสร้างงานศิลปะที่ยิ่งใหญ่ไว้เป็นสมบัติของแผ่นดิน

ศ า ส น า : ธ ร ร ม ะ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต ข อ ง อ า จ า ร ย์ เ ฉ ลิ ม ชั ย จ า ก จิ ต ที่ ร้ อ น ก ล า ย เ ป็ น เ ย็ น จึงขออุทิศตนให้แก่พระพุทธศาสนา

พระมหากษัตริย์ : จากการเข้าเฝ้าฯ ถวายงานพระองค์ท่านหลายครั้ง ทำให้อาจารย์เฉลิมชัยรักพระองค์ท่านมาก จากการพบเห็นพระอัจฉริยะภาพทางศิลปะและพระเมตตาของพระองค์ท่าน จนบังเกิดความตื้นตันและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จึงปรารถนาที่จะสร้างงานพุทธศิลป์ถวายเป็นงานศิลปะประจำรัชกาลพระองค์ท่าน

วัดร่องขุ่นแห่งนี้เป็นวัดพุทธ ซึ่งสังกัดอยู่ในฝ่ายมหานิกาย ไม่ใช่วัดฮินดูเหมือนดังที่จั่วหัวไว้ในวรรคแรก ซึ่งนั่นการนำเอาวัฒนธรรมแวดล้อมของตัวเองเข้ามาผสมผสานหรือถูกอิทธิของศาสนาอื่นเข้ามาแท

Page 5: welcome to Chiang Rai

รกแซงบ้าง ก็เป็นเรื่องของธรรมชาติ

ตามพระบัญญัติแห่งคณะสงฆ์ไทยแล้ว วัดร่องขุ่น เป็น “วัดพุทธ” ไม่ใช่ “มหายาน”

[แก้]ความหมายของอุโบสถ

สีขาว : พระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า

สะพาน : การเดินข้ามจากวัฎสงสารสู่พุทธภูมิ

เขี้ยว หรือ ปากพญามาร : กิเลสในใจ

สันของสะพาน : มีอสูรอมกัน ข้างละ 8 ตัว 2 ข้าง รวมกันแทนอุปกิเลส 16

กึ่งกลางของสะพาน : เขาพระสุเมรุ

ดอกบัวทิพย์ : มี 4 ดอกใหญ่ตรงทางขึ้นด้านข้างอุโบสถแทนซุ้มพระอริยเจ้า 4 พระองค์ คือ พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์

บันไดทางขึ้น : มี 3 ขั้นแทน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

Page 6: welcome to Chiang Rai

ภูชี้ฟ้า  

  เป็นแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของจังหวัดเชียงรายและเป็นจุดหมายปลาย

ทางของนักเดินทางที่ชอบความสวยงามของธรรมชาติและยังพอเรี่ยวแรงที่ฝันอยากจะมาสัมผั

สกับความงามของสถานที่แห่งนี้สักครั้งในชีวิต  ภูชี้ฟ้า  ถ้าพูดถึงความหนาวเย็นก็คงจะไม่แตกต

างอะไรมากหนักกับหลายๆดอยสูงทางภาคเหนือของไทยแต่สิ่งหนึ่งที่อยู่คู่กับยอดภูแห่งนี้มาต

ลอดและสร้างความประทับใจให้กับผู้ที่มาพบเห็นก็คือ  ความสวยงามแปลกตาของหน้าผาสูงที่

ยื่นเด่นลอยออกไปในอากาศ      สายลมหนาวที่วูบผ่านมาแล้วเลยผ่านไป      ทิวทัศน์เบื้องล่างคือ 

ภาพทะเลหมอกและภาพของดวงอาทิตย์สีแดงที่กำลังเบียดเสียดแทรกตัวออกมาท่ามกลาง

Page 7: welcome to Chiang Rai

ทะเลหมอกหนาและหุบเขาน้อยใหญ่ภาพความสวยงามต่างๆเหล่านี้ได้กลายเป็นสิ่งที่ดึงดูด

ผู้คนมากมายให้หลั่งไหลมาที่นี่ในแต่ละปีเมื่อลมหนาวมาเยือนจะมีนักท่องเที่ยวมากมายจ

ากทั่วทุกสารทิศเดินทางมาสัมผัสกับอากาศหนาวและชมความงามของทะเลหมอกยามเช้า

ที่ภูชี้ฟ้าอย่างไม่ขาดสายโดยเฉพาะช่วงวันหยุดยาวบนยอดดอยสูงแห่งนี้แทบไม่มีที่ยืนถ่าย

รูปทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้าที่ภูชี้ฟ้าได้รับการกล่าวขานว่าสวยงามกว่าที่ใดๆ 

Page 8: welcome to Chiang Rai

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้รับการสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง เมื่อวันที่ 25

กันยายน พ.ศ. 2541 โดยมีสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ

การดำเนินการด้านต่างๆ ได้มีการพัฒนามาเป็นลำดับ ด้วยความมั่นคงและมีคุณภาพ

จวบจนถึงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้

Page 9: welcome to Chiang Rai

ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบร

มราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ประกอบพิธีเปิดมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า

หลวง พิธีเปิดศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร และพระราชทานปริญญาบัตร

แก่ผู ้สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2545 ยังความปลื้มปิติสำนึกในพระมห

ากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น

Page 10: welcome to Chiang Rai

ว ั ด เ ว ี ย ง ค ำ ก า ข า ว   

ตั้งอยู่บ้านเทอดไทย ต.แม่สลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย 

มีองค์พระทรงชัยรัตนพลังแผ่นดิน ขนาดหน้าตักกว้าง 8 เมตร สูง 10 เมตร 

อยู่บนอาคาร 3 ชั้น สามารถขึ้นไปเที่ยวชมวิวได้อีกจุดหนึ่ง

Page 11: welcome to Chiang Rai
Page 12: welcome to Chiang Rai

สามเหลี่ยมทองคำ (อังกฤษ: Golden Triangle) หมายถึงพื้นที่รอยต่อระหว่างสามประเทศ ได้แก่

ประเทศไทย (จังหวัดเชียงราย) ลาว (แขวงบ่อแก้ว) และพม่า (แขวงท่าขี้เหล็ก, รัฐฉาน) มีลักษณะเป็

นพื้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกัน โดยมีแม่น้ำโขงตัดผ่านชายแดนไทยและลาว นับเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่

สำคัญแห่งหนึ่งของภูมิภาค นอกจากนี้สามเหลี่ยมทองคำยังมีทิวทัศน์ที่งดงามโดยเฉพาะยามเช้า ที่

ดวงอาทิตย์ขึ้นท่ามกลางสายหมอก เดิมสามเหลี่ยมทองคำเป็นที่รู้จัก ในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยวรอ

ยต่อระหว่างประเทศ แต่ในปัจจุบันมีความสำคัญในทางเศรษฐกิจมากขึ้น เนื่องจากเป็นแหล่งขนถ่า

ยสินค้าที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของไทย

สามเหลี่ยมทองคำในส่วนของประเทศไทย อยู่ในเขตบ้านสบรวก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

มีท่าเรือขนาดเล็กขนส่งสินค้าไปยังประเทศจีน และลาว เมื่อมองจากฝั่งไทยไปทางตะวันออกเฉียงเ

หนือ จะเห็นหมู่บ้านในฝั่งลาวอย่างชัดเจน ส่วนทางพม่าซึ่งอยู่ด้านตะวันตกนั้น ไม่มีหมู่บ้านหรือสิ่

งก่อสร้างให้เห็นในระยะใกล้ๆ

บ ริ เ ว ณ ดั ง ก ล่ า ว ยั ง เ ป็ น ที่ บ ร ร จ บ กั น ข อ ง แ ม่ น้ ำ โ ข ง แ ล ะ แ ม่ น้ ำ ร ว ก ที่ เ รี ย ก ว่ า ส บ ร ว ก

Page 13: welcome to Chiang Rai

บริเวณนี้มีเคยมีชนกลุ่มน้อย และกองกำลังติดอาวุธอยู่หลายกลุ่ม พื้นที่ในแถบนี้เคยเป็นแหล่งปลูกฝิ่น

และผลิตยาเสพติดแหล่งใหญ่ เช่น มีโรงงานผลิตเฮโรอีนและกระจายอยู่ตามชายแดน ส่วนการลำเลียง

ฝิ่นจะไปเป็นขบวนลัดเลาะไปตามไหล่เขาพร้อมกำลังคุ้มกัน ว่ากันว่ายาเสพติดและฝิ่นจะถูกแลกเปลี่ย

นด้วยทองคำในน้ำหนักที่เท่ากัน จึงเป็นที่มาของชื่อ สามเหลี่ยมทองคำ

นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางไปยังสามเหลี่ยมทองคำในช่วงฤดูหนาวและไปถ่ายรูปกับป้าย

“สามเหลี่ยมทองคำ” ที่ติดตั้งไว้ริมฝั่งแม่น้ำโขงด้วย นอกจากนี้ยังนิยมนั่งเรือเที่ยวชมทิวทัศน์จุดบ

รรจบของพรมแดนไทย ลาว และพม่า ค่าเช่าเรือประมาณ 300-400 บาท (นั่งได้ 6 คน) นอกจากนี้ยั

งสามารถล่องแม่น้ำโขงไปเที่ยวทางตอนใต้ของประเทศจีน เช่น สิบสองปันนา คุนหมิง ได้อีกด้วย

แต่หากต้องการจะชมทิวทัศน์มุมกว้าง ของสามเหลี่ยมทองคำบริเวณสบรวกและเพื่อนบ้าน

ต้องขึ้นไปบนดอยเชียงเมี่ยง ที่อยู่ริมแม่น้ำโขง

Page 14: welcome to Chiang Rai

หอนาฬิกาหอนาฬิกาหลังใหม่ของจังหวัดเชียงรายโดย

ความร่วมมือระหว่ าง เทศบาลนครเชียงราย

และอาจารย์ เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์ตั วหอนา

ฬิกามีสีทองมี เสียงระฆังบอกเวลาทุกชั่วโมง

และที่สำคัญเมื่อถึงเวลา 2 ทุ่มและ 3 ทุ่มของทุกวัน

จะมีการเล่น แสงสีเสียงประกอบเพลงเชียงรายรำลึ

ก หอนาฬิกาจะเปลี่ยนสีจากสีทอง เป็นสีแดง ชมพู

ฟ้า เขียว และอื่นๆ สลับกันไปมา ตรงกลางอาคารจ

ะมีดอกบัวค่อยๆโผล่ออกมา และบานออกในที่สุด เป็

นที่ตื่นตาตื่นใจต่อนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว

ต่างชาติ ที่มาเฝ้ารอเวลานั้นๆ

Page 15: welcome to Chiang Rai