visual perception in design

36
VISUAL PERCEPTION IN DESIGN 12.11.14

Upload: bangkoker

Post on 22-Jul-2016

252 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Visual Perception in Design

VISUAL PERCEPTION IN DESIGN12.11.14

Page 2: Visual Perception in Design

GESTALT THEORY OF VISUAL PERCEPTION

Page 3: Visual Perception in Design

Overview

- Translation - Gestalt = Form or Pattern

- Early 20th Century - Germany - Max Wertheimer (April 15, 1880 – October 12, 1943) - founder - Kurt Lewin, Wolfgang Kohler and Kurt Koffka

Page 4: Visual Perception in Design

แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการ

ภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย หลักการจัดการเรียนการสอน

ตามทฤษฏีนี้จะเน้นกระบวนการคิด การสอนโดยเสนอภาพรวมก่อนการเสนอส่วนย่อย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี

ประสบการณ์มากและหลากหลายซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามรถคิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มและเกิดการเรียนรู้แบบหยั่ง

เห็นได้ กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับ

กลุ่มพฤติกรรมนิยม ผู้นำากลุ่มได้แก่ แมกซ์ เวอร์ ไธเมอร์ (Max Wertheimer) และผู้ร่วมกลุ่มอีก 3 คน คือ เคอร์ท

เลอวิน (Kurt Lewin) , เคอร์ท คอฟพ์กา (Kurt Koffka) และวอล์ฟแกง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) ซึ่งเป็นชาว

เยอรมัน

คำาว่า เกสตัลท์ (Gestalt) เป็นภาษาเยอรมันซึ่งวงการจิตวิทยาได้แปลความหมายไว้เดิมแปลว่า แบบหรือรูป

ร่าง (Gestalt = form or Pattern) ต่อมาปัจจุบันแปล เกสตัลท์ว่า เป็นส่วนรวมหรือส่วนประกอบทั้งหมด (Gestalt

=The wholeness)

กลุ่มนี้มีแนวคิดว่า การเรียนรู้เกิดได้จากการจัดสิ่งเร้าต่าง ๆ มารวมกันเริ่มต้นด้วยการ รับรู้โดยส่วนรวมก่อน

แล้ว จึงจะสามารถวิเคราะห์เรื่องการเรียนรู้ส่วนย่อยทีละส่วนต่อไป

ต่อมา เลอวิน ได้นำาเอาทฤษฎี เกสตัลท์ มาปรับปรุงเป็นทฤษฎีสนาม (Field theory) โดยนำาความรู้ทาง

คณิตศาสตร์ และฟิสิกส์มาอธิบายทฤษฎีของเขา (นักศึกษาจะได้ทราบรายละเอียดในบทต่อ ๆ ไปซึ่งจะอยู่ใน

เรื่องของทฤษฎีการเรียนรู้) แต่ก็ยังคงใช้หลักการเดียวกัน นั่นคือการเรียนรู้ของบุคคลจะเป็น ไปได้ด้วยดีและ

สร้างสรรค์ถ้าเขาได้มีโอกาสเห็นภาพรวม ทั้งหมดของสิ่งที่จะเรียนเสียก่อนเมื่อเกิดภาพ รวมทั้งหมดแล้วก็

เป็นการง่ายที่บุคคลนั้นจะเรียนสิ่งที่ละเอียดปลีกย่อย ต่อไป

Page 5: Visual Perception in Design

ต่อมา เลอวิน ได้นำาเอาทฤษฎี เกสตัลท์ มาปรับปรุงเป็นทฤษฎีสนาม (Field theory) โดยนำาความรู้ทาง

คณิตศาสตร์ และฟิสิกส์มาอธิบายทฤษฎีของเขา (นักศึกษาจะได้ทราบรายละเอียดในบทต่อ ๆ ไปซึ่งจะอยู่ใน

เรื่องของทฤษฎีการเรียนรู้) แต่ก็ยังคงใช้หลักการเดียวกัน นั่นคือการเรียนรู้ของบุคคลจะเป็น ไปได้ด้วยดีและ

สร้างสรรค์ถ้าเขาได้มีโอกาสเห็นภาพรวม ทั้งหมดของสิ่งที่จะเรียนเสียก่อนเมื่อเกิดภาพ รวมทั้งหมดแล้วก็

เป็นการง่ายที่บุคคลนั้นจะเรียนสิ่งที่ละเอียดปลีกย่อย ต่อไป

หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์

กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิด จากประสบการณ์เดิม และการ

เรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะ คือ

1. การรับรู้ (Perception) การรับรู้หมายถึงการแปลความหมายหรือการตีความต่อสิ่งเร้าของ อวัยวะรับสัมผัส

ส่วน ใดส่วนหนึ่งหรือทั้งห้าส่วน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง และการตีความนี้ มักอาศัย ประสบการณ์

เดิมดังนั้น แต่ละคน อาจรับรู้ในสิ่งเร้าเดียวกันแตกต่างกันได้ แล้วแต่ประสบการณ์ เช่น นางสาว ก. เห็นสีแดง

แล้วนึกถึงเลือดแต่นางสาว ข. เห็นสีแดงอาจนึกถึงดอกกุหลาบสีแดงก็ได้

2. การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจะเกิดแนวความคิดในการ เรียนรู้หรือการแก้

ปัญหา ขึ้นอย่างฉับพลันทันทีทันใด (เกิดความคิดแวบขึ้นมาในสมองทันที) มองเห็นแนวทาง การแก้ปัญหา

ตั้งแต่จุดเริ่มต้นเป็น ขั้นตอนจนถึงจุดสุดท้ายที่สามารถจะแก้ปัญหาได้ เช่น การร้องออกมาว่า ยูเรก้า ของอาร์

คีเมดิส เพราะเกิดการหยั่งเห็น (Insight) ในการแก้ปัญหาการหาปริมาตรของมงกุฎทองคำาด้วย วิธีการแทนที่น้ำา

ว่าปริมาตรของมงกุฎที่จมอยู่ในน้ำา จะ เท่ากับริมาตรของน้ำาที่ล้นออกมา ดังที่เราเคยเรียนกันมาแล้ว แล้วใช้วิธี

การนี้หาปริมาตรของวัตถุที่มีรูปทรงไม่เป็น เรขาคณิตมาจนถึงบัดนี้

Page 6: Visual Perception in Design
Page 7: Visual Perception in Design

Gestalt Laws of Organization

- Pragnanz (ความแน่นอนหรือชัดเจน)

- Proximity (ความใกล้ชิด)

- Similarity (ความคล้ายคลึงกัน)

- Closure (ความสิ้นสุด)

- Symmetry (สมมาตร)

- Continuity (ความต่อเนื่อง)

- Common Fate (โชคชะตากรรมร่วมกัน)

Page 8: Visual Perception in Design

Pragnanz

- Key factor of Gestalt Theory- Orderly- Simplify Everyday Life- “Law of good Figure”

Page 9: Visual Perception in Design
Page 10: Visual Perception in Design
Page 11: Visual Perception in Design
Page 12: Visual Perception in Design

Proximity

- Seeing things as a whole collecttive visual

- Not one individual item

Page 13: Visual Perception in Design
Page 14: Visual Perception in Design
Page 15: Visual Perception in Design
Page 16: Visual Perception in Design

Similarity

- The arrangement of items in a group that are similar, grouped together

- They can be grouped in size, shape, and direction (see ex 2)

Page 17: Visual Perception in Design
Page 18: Visual Perception in Design
Page 19: Visual Perception in Design
Page 20: Visual Perception in Design

Closure

- The ability to see what is not there- Complete groups and see what is missing- “Close Gaps”

Page 21: Visual Perception in Design
Page 22: Visual Perception in Design
Page 23: Visual Perception in Design
Page 24: Visual Perception in Design

Symmetry

- Making an object we want it to be- Seeing an object, no matter the distance, and believing it to be the same- Center of the object

Page 25: Visual Perception in Design
Page 26: Visual Perception in Design
Page 27: Visual Perception in Design
Page 28: Visual Perception in Design

Continuity

- Continuing a pattern that goes forever, even after the physical image is gone- Continue auditory kinetic, and visual in the mind

Page 29: Visual Perception in Design
Page 30: Visual Perception in Design
Page 31: Visual Perception in Design
Page 32: Visual Perception in Design

Common Fate

- Object that move in a common direction will be grouped

Page 33: Visual Perception in Design
Page 34: Visual Perception in Design
Page 35: Visual Perception in Design
Page 36: Visual Perception in Design

Sources :

- Cognitive Psychology (8th Ed), pages 119-122

- www.scholarpedia.org

- www.jeremybolten.com

- pss.sagepub.com

- http://mediaelectron.blogspot.com/2008/11/what-is-gestal- psychology.html

- http://webspace.ship.edu/cgboer/gestalt.html