tpa balance scorecard กับดัก ·...

1
TPA news 12 No. 150 June 2009 ล้าที่จะเปลี่ยนแปลง TPA news 13 No. 150 June 2009 ล้าที่จะเปลี่ยนแปลง จากทผูเขยนไดอธบายถงวธในการ นำเอา Balanced Scorecard มาสูการปฏบต เพอใหองคกรไดรบประโยชนอยาง แทจรง จากการนำเอา Balanced Scorecard มา ประยุกตใช รวมทงไดบอกถงกบดกตางๆ ทอาจจะเกดขนทงหมด เพ อใหผูอานได พจารณาวาการใช Balanced Scorecard ในองคกรของตนเอง กำลงตดกบดกตางๆ อยูหรอไม หลายๆ องคกรพอจดทำชุดตวชวด เสรจแลว ทุกๆ อยางกเหมอนกบถูกวางไว บนหง ไมไดเอามาใช ผูบรหารทุกคนรูสกวา “สูญเปลา” บางองคกรกมวเอา Balanced Scorecard มาใชแตในงานประเมนผลการ ปฏบตงานของฝายบุคคลเทานน ทงๆ ทการ ประเมนผลการปฏบตงานนนเปนเพยง ผล- พลอยไดจากการนำเอา Balanced Scorecard มาประยุกตใชเทานน บางองคกรยงเลวราย เขาไปใหญ มการตง Working Team หรอ ทมงานทมหนาทจดทำ Balanced Score- card ทงหมด ทงๆ ท Balanced Score- card นนเปนเครองมอในการวางแผน กลยุทธ ซงเปนหนาทสำคญของผูบรหาร ระดบสูง แตผูบรหารระดบสูงกลบละเลย มอบหมายใหกบพนกงานเปนผูจดทำ บาง องคกรม KPI แตไมมระบบการรายงานผล หรอการประชุมทบทวน บางองคกรมการ ทบทวนแตไมมการตดสนใจ (Take Action) เพอดำเนนมาตรการแกไขและปรบปรุงอยาง วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ผู้อำนวยฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) กับดัก Balance Scorecard ทนทวงท ซงปญหาตางๆ เหลานทำใหประสทธภาพของ Balanced Scorecard ดอยลงไป ถนดตา สุดทายสำหรบการนำเอา Balanced Scorecard ไปใชนน ผูเขยนขอสรุปขนตอนและ บทบาทของทุกๆ ฝาย ทุกๆ หนวยงานในองคกรทมหนาทขบเคลอนยุทธศาสตรองคกร ดงรูป ท 5.9 รูปที่ 5.9 ขั้นตอนในการจัดทำ KPI ตามแนวคิดของ Balanced Scorecard ผูเขยนเชอวาหลงจากทผูอานไดอานหลกการและแนวคดในการนำเอา Balanced Scorecard ไปใชอยางครบถวนแลว จะมความเขาใจถงขนตอนในการนำเอา Balanced ต่อจากฉบับที่แล้ว อ่านต่อฉบับหน้า ขนตอน รายละเอยดกจกรรม ผรบผดชอบ 1 การวางแผนกลยุทธองคกรและการจดทำ แผนทกลยุทธขององคกร ผูบรหารระดบสูงและผูบรหารระดบกลาง 2 การกำหนดตวชวดระดบองคกรและ Initiative ระดบองคกร ผูบรหารระดบสูงและผูบรหารระดบกลาง 3 การจดทำ KPI Template และเกณฑในการประเมนผลผูบรหาร ผูบรหารระดบสูงและผูบรหารระดบกลาง 4 การกระจายตวชวดระดบองคกรมาสูระดบฝาย และระดบแผนก ใชแผนทกลยุทธ (กรณทตวชวดระดบฝายและ ระดบแผนกม 4 มุมมอง) และ/หรอ ใช Key Result Area (KRA เพอใหฝาย และแผนกม Focus ทชดเจนวางานทสำคญ (Critical Task) ทมสวนในการผลกดนใหองค กรสำเรจนนคออะไร ผูบรหารระดบกลางและ ผูบรหารระดบตน 5 การกำหนด Initiative ยอยๆ ในระดบฝายและระดบแผนก ผูบรหารระดบกลางและ ผูบรหารระดบตน 6 การกำหนด KPI Template และเกณฑใน การประเมนผลของหนวยงานตางๆ ภายในองคกร ผูบรหารระดบกลางและ ผูบรหารระดบตน 7 การสอสารใหกบพนกงานทราบถงเปาหมายและทศ ทางสำคญของตนเองในแตละหนวยงาน ผูบรหารระดบตน 8 การประชุมทบทวนของผูบรหาร เพอตดสนใจดำเนนมาตรการอยางทนทวงท ผูบรหารระดบสูงและระดบกลาง Scorecard ไปใชไดอยางถูกตองและยงกวานนจะเขาใจวาจะตองนำเอาไปใชอยางไรใหเกด ประโยชนสูงสุด เขาใจวตถุประสงคทแทจรงของ Balanced Scorecard ไมใชเอาไปใชแต ระบบเอกสาร ซงไมมประโยชนใดๆ กบองคกรเลย ตามประสบการณของผูเขยนเชอวา หากองคกรใดนำเอา Balanced Scorecard ไปใชไดอยางถูกวธ องคกรกจะสามารถผลกดนการเปลยนแปลงทางกลยุทธตางๆ ไดอยาง รวดเรว ปญหาตางๆ ไดรบการแกไขอยางเปนระบบ มกำหนดเสรจทชดเจน พนกงานทุก คนม Focus ในการทำงานสอดคลองกบกลยุทธขององคกร ซงในระยะสนดวยปญหา ตางๆ ไดมการสะสางอยางเปนระบบ องคกรไดใชศกยภาพทมอยางเตมทดวย Cross Functional Management หรอการบรหารขามสายงาน องคกรจะสามารถทำกำไรไดด ขนอยางมนยสำคญ สำหรบในระยะยาวนนองคกรจะเปนองคการมการกำหนดทศทางท ชดเจน มการปรบปรุงอยางตอเนอง โดยทุกๆ หนวยงานในองคกรมสวนรวม มตวชวดท ชดเจน พนกงานทมศกยภาพไดมโอกาสแสดงความสามารถทม มโอกาสเตบโตในอาชพการ งาน ทำใหองคกรมผูบรหารเลอดใหมทมความสามารถเกดขนเพอเตมเตมองคกรอยางตอ- เนอง ซงจะทำใหองคกรมความสามารถในการแขงขนอยางยงยน นนคอวตถุประสงคสำคญ ของ Balanced Scorecard “องคกรและหนวยงานตางๆ ภายในองคกรม Focus ทชดๆ รูวาบทบาทสำคญของ ตนเองคออะไร การขบเคลอนมาตรการตางๆ ไดรบการลงมอทำอยางรวดเรว มตวชวดและ เปาหมายทเปนตวเลขจบตองไดเพอวดความสำเรจ เปดโอกาสใหพนกงานทมความสามารถ ไดมบทบาทในองคกร มความเตบโตในองคกร นคอ Balanced Scorecard ถาผดไปจาก นไมใชแลวละครบ”

Upload: others

Post on 19-Sep-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: TPA Balance Scorecard กับดัก · สุดท้ายสำหรับการนำเอา Balanced Scorecard ไปใช้นั้น ผู้เขียนขอสรุปขั้นตอนและ

TPA n

ews

12 No. 150 ● June 2009

ก ล้าที่จะเปลี่ยนแปลง

TPA n

ews

13No. 150 ● June 2009

กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง

จากที่ผู้เขียนได้อธิบายถึงวิธีในการ

นำเอา Balanced Scorecard มาสู่การปฏิบัติ

เพื ่อให้องค์กรได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง

จากการนำเอา Balanced Scorecard มา

ประยุกต์ใช้ รวมทั้งได้บอกถึงกับดักต่างๆ

ที ่อาจจะเกิดขึ ้นทั ้งหมด เพือ่ให้ผู ้อ่านได้

พิจารณาว่าการใช้ Balanced Scorecard

ในองค์กรของตนเอง กำลังติดกับดักต่างๆ

อยู่หรือไม่

หลายๆ องค์กรพอจัดทำชุดตัวชี้วัด

เสร็จแล้ว ทุกๆ อย่างก็เหมือนกับถูกวางไว้

บนหิ้ง ไม่ได้เอามาใช้ ผู้บริหารทุกคนรู้สึกว่า

“สูญเปล่า” บางองค์กรก็มั่วเอา Balanced

Scorecard มาใช้แต่ในงานประเมินผลการ

ปฏิบัติงานของฝายบุคคลเท่านั้น ทั้งๆ ที่การ

ประเมินผลการปฏิบัติงานนั้นเป็นเพียงผล-

พลอยได้จากการนำเอา Balanced Scorecard

มาประยุกต์ใช้เท่านั้น บางองค์กรยิ่งเลวร้าย

เข้าไปใหญ่ มีการตั้ง Working Team หรือ

ทีมงานที่มีหน้าที่จัดทำ Balanced Score-

card ทั้งหมด ทั้งๆ ที่ Balanced Score-

card นั ้นเป ็นเคร ื ่องม ือในการวางแผน

กลยุทธ์ ซึ ่งเป็นหน้าที ่สำคัญของผู้บริหาร

ระดับสูง แต่ผู ้บริหารระดับสูงกลับละเลย

มอบหมายให้กับพนักงานเป็นผู้จัดทำ บาง

องค์กรมี KPI แต่ไม่มีระบบการรายงานผล

หรือการประชุมทบทวน บางองค์กรมีการ

ทบทวนแต่ไม่มีการตัดสินใจ (Take Action)

เพื่อดำเนินมาตรการแก้ไขและปรับปรุงอย่าง

วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ผู้อำนวยฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)

กับดัก Balance Scorecard

ทันท่วงที ซึ่งปัญหาต่างๆ เหล่านี้ทำให้ประสิทธิภาพของ Balanced Scorecard ด้อยลงไป

ถนัดตา

สุดท้ายสำหรับการนำเอา Balanced Scorecard ไปใช้นั้น ผู้เขียนขอสรุปขั้นตอนและ

บทบาทของทุกๆ ฝ่าย ทุกๆ หน่วยงานในองค์กรที่มีหน้าที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กร ดังรูป

ที่ 5.9

รูปที่ 5.9 ขั้นตอนในการจัดทำ KPI ตามแนวคิดของ Balanced Scorecard

ผู้เขียนเชื่อว่าหลังจากที่ผู้อ่านได้อ่านหลักการและแนวคิดในการนำเอา Balanced

Scorecard ไปใช้อย่างครบถ้วนแล้ว จะมีความเข้าใจถึงขั้นตอนในการนำเอา Balanced

ต่อจากฉบับที่แล้ว

อ่านต่อฉบับหน้า

ขั้นตอน รายละเอียดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ

1 การวางแผนกลยุทธ์องค์กรและการจัดทำ แผนที่กลยุทธ์ขององค์กร

ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลาง

2 การกำหนดตัวชี้วัดระดับองค์กรและ Initiative ระดับองค์กร

ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลาง

3 การจัดทำ KPI Template และเกณฑ์ในการประเมินผลผู้บริหาร

ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลาง

4 การกระจายตัวชี้วัดระดับองค์กรมาสู่ระดับฝ่าย และระดับแผนก● ใช้แผนที่กลยุทธ์ (กรณีที่ตัวชี้วัดระดับฝ่ายและ

ระดับแผนกมี 4 มุมมอง) และ/หรือ● ใช้ Key Result Area (KRA เพื่อให้ฝ่าย

และแผนกมี Focus ที่ชัดเจนว่างานที่สำคัญ (Critical Task) ที่มีส่วนในการผลักดันให้องค์กรสำเร็จนั้นคืออะไร

ผู้บริหารระดับกลางและ ผู้บริหารระดับต้น

5 การกำหนด Initiative ย่อยๆ ในระดับฝ่ายและระดับแผนก

ผู้บริหารระดับกลางและ ผู้บริหารระดับต้น

6 การกำหนด KPI Template และเกณฑ์ใน การประเมินผลของหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร

ผู้บริหารระดับกลางและ ผู้บริหารระดับต้น

7 การสื่อสารให้กับพนักงานทราบถึงเป้าหมายและทิศทางสำคัญของตนเองในแต่ละหน่วยงาน

ผู้บริหารระดับต้น

8 การประชุมทบทวนของผู้บริหาร เพื่อตัดสินใจดำเนินมาตรการอย่างทันท่วงที

ผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง

Scorecard ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและยิ่งกว่านั้นจะเข้าใจว่าจะต้องนำเอาไปใช้อย่างไรให้เกิด

ประโยชน์สูงสุด เข้าใจวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของ Balanced Scorecard ไม่ใช่เอาไปใช้แต่

ระบบเอกสาร ซึ่งไม่มีประโยชน์ใดๆ กับองค์กรเลย

ตามประสบการณ์ของผู้เขียนเชื่อว่า หากองค์กรใดนำเอา Balanced Scorecard

ไปใช้ได้อย่างถูกวิธี องค์กรก็จะสามารถผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางกลยุทธ์ต่างๆ ได้อย่าง

รวดเร็ว ปัญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระบบ มีกำหนดเสร็จที่ชัดเจน พนักงานทุก

คนมี Focus ในการทำงานสอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร ซึ่งในระยะสั้นด้วยปัญหา

ต่างๆ ได้มีการสะสางอย่างเป็นระบบ องค์กรได้ใช้ศักยภาพที่มีอย่างเต็มที่ด้วย Cross

Functional Management หรือการบริหารข้ามสายงาน องค์กรจะสามารถทำกำไรได้ดี

ขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ สำหรับในระยะยาวนั้นองค์กรจะเป็นองค์การมีการกำหนดทิศทางที่

ชัดเจน มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยทุกๆ หน่วยงานในองค์กรมีส่วนร่วม มีตัวชี้วัดที่

ชัดเจน พนักงานที่มีศักยภาพได้มีโอกาสแสดงความสามารถที่มี มีโอกาสเติบโตในอาชีพการ

งาน ทำให้องค์กรมีผู้บริหารเลือดใหม่ที่มีความสามารถเกิดขึ้นเพื่อเติมเต็มองค์กรอย่างต่อ-

เนื่อง ซึ่งจะทำให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน นั่นคือวัตถุประสงค์สำคัญ

ของ Balanced Scorecard

“องค์กรและหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กรมี Focus ที่ชัดๆ รู้ว่าบทบาทสำคัญของ

ตนเองคืออะไร การขับเคลื่อนมาตรการต่างๆ ได้รับการลงมือทำอย่างรวดเร็ว มีตัวชี้วัดและ

เป้าหมายที่เป็นตัวเลขจับต้องได้เพื่อวัดความสำเร็จ เปิดโอกาสให้พนักงานที่มีความสามารถ

ได้มีบทบาทในองค์กร มีความเติบโตในองค์กร นี่คือ Balanced Scorecard ถ้าผิดไปจาก

นี้ไม่ใช่แล้วล่ะครับ”