(the usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส...

8
1 โรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ (colorectal cancer: CRC หรือ bowel cancer) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในชีวิตประจ�ำวันและมีควำมส�ำคัญในระดับโลก จำกข้อมูลกำรส�ำรวจทั่วโลกปี พ.ศ. 2551 พบว่ำ มีผู้ป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่รำยใหม่สูงถึง 1,200,000 รำย และมีผู้ที่เสียชีวิตจำกโรคนี้สูงถึง 608,700 รำย นอกจำกนี้จำก กำรส�ำรวจผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งทุกชนิดทั่วโลกในปี พ.ศ. 2555 พบว่ำมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงถึงล�ำดับที่ 3 รองจำก มะเร็งปอดและมะเร็งเต้ำนม (โดยเพศหญิงป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงเป็นอันดับ 2 รองจำกมะเร็งเต้ำนม และเพศชำยพบ มะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงเป็นอันดับ 3 รองจำกมะเร็งปอดและมะเร็งต่อมลูกหมำก ตำมล�ำดับ) 1-3 ปัจจัยเสี่ยง (risk factors) มะเร็งล�ำไส้ใหญ่มักชอบเป็นในผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง 4-23 ดังนี- อำยุตั้งแต่ 50 ปี - มีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์มำก อ้วน ชอบรับประทำนเนื้อแดงหรือเนื้อสัตว์ใหญ่ รับประทำน อำหำรที่ผ่ำนควำมร้อนสูง เช่น ปิ้ง ย่ำง รมควัน รับประทำนผัก ผลไม้ และธัญพืชน้อย - เป็นโรคไขมันพอกตับหรือโรคเบำหวำนอยู่ก่อน - เคยเป็นติ่งเนื้องอกในล�ำไส้ใหญ่ชนิด adenomatous polyp หรือติ่งเนื้องอกล�ำไส้ใหญ่ชนิด serrated (hyperplastic) polyposis syndrome หรือเคยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และได้รับกำรรักษำมำก่อนแล้ว - ป่วยเป็นโรคล�ำไส้อักเสบเรื้อรังชนิด inflammatory bowel diseases (IBD; ulcerative colitis หรือ Crohn’s disease) - มีญำติสำยตรงเป็นโรคติ่งเนื้องอกล�ำไส้ใหญ่ชนิด adenomatous polyp หรือมีญำติสำยตรงเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ (CRC) นพ.สุริยำ กีรติชนำนนท์ (Dr.Suriya Keeratichananont, MD. Gastroenterologist and Hepatologist) อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหาร ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ โรงพยาบาลกรุงเทพ (The usefulness, indications and modalities for colonic polyps and colorectal cancer screening) ประโยชน์ ข้อบ่งชี้ และ วิธีกำรตรวจคัดกรองติ่งเนื้องอก และโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่

Upload: others

Post on 28-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

1

โรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ ่(colorectal cancer: CRC หรือ bowel cancer) เป็นโรคทีพ่บได้บ่อยในชีวิตประจ�ำวนัและมคีวำมส�ำคญัในระดบัโลกจำกข้อมลูกำรส�ำรวจท่ัวโลกปีพ.ศ.2551พบว่ำ

มีผู้ป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่รำยใหม่สูงถึง1,200,000รำยและมีผู้ที่เสียชีวิตจำกโรคนี้สูงถึง608,700รำยนอกจำกนี้จำก

กำรส�ำรวจผู้ป่วยท่ีเป็นมะเร็งทุกชนิดท่ัวโลกในปี พ.ศ. 2555 พบว่ำมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงถึงล�ำดับท่ี 3 รองจำก

มะเร็งปอดและมะเร็งเต้ำนม(โดยเพศหญิงป่วยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงเป็นอันดับ2รองจำกมะเร็งเต้ำนมและเพศชำยพบ

มะเร็งล�ำไส้ใหญ่สูงเป็นอันดับ3รองจำกมะเร็งปอดและมะเร็งต่อมลูกหมำกตำมล�ำดับ)1-3

ปัจจัยเสี่ยง (risk factors) มะเร็งล�ำไส้ใหญ่มักชอบเป็นในผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง4-23ดังนี้

-อำยุตั้งแต่50ปี

-มีพฤติกรรมเสี่ยงเช่นสูบบุหรี่ดื่มแอลกอฮอล์มำกอ้วนชอบรับประทำนเนื้อแดงหรือเนื้อสัตว์ใหญ่รับประทำน

อำหำรที่ผ่ำนควำมร้อนสูงเช่นปิ้งย่ำงรมควันรับประทำนผักผลไม้และธัญพืชน้อย

-เป็นโรคไขมันพอกตับหรือโรคเบำหวำนอยู่ก่อน

-เคยเป็นติง่เนือ้งอกในล�ำไส้ใหญ่ชนดิadenomatouspolypหรอืติง่เนือ้งอกล�ำไส้ใหญ่ชนดิserrated(hyperplastic)

polyposissyndromeหรือเคยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และได้รับกำรรักษำมำก่อนแล้ว

-ป่วยเป็นโรคล�ำไส้อกัเสบเรือ้รงัชนดิinflammatoryboweldiseases(IBD;ulcerativecolitisหรอืCrohn’sdisease)

-มีญำติสำยตรงเป็นโรคติ่งเนื้องอกล�ำไส้ใหญ่ชนิดadenomatouspolypหรือมีญำติสำยตรงเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่

(CRC)

นพ.สุริยำ กีรติชนำนนท์ (Dr.Suriya Keeratichananont, MD. Gastroenterologist and Hepatologist)

อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหาร ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ โรงพยาบาลกรุงเทพ

(The usefulness, indications and modalities for colonic polypsand colorectal cancer screening)

ประโยชน์ ข้อบ่งชี้ และวิธีกำรตรวจคัดกรองติ่งเนื้องอกและโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่

Page 2: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

2

-มีโรคพันธุกรรมเสี่ยงมะเร็งบำงชนิดในครอบครัว(geneticssyndromes)ได้แก่familialadenomatouspolyposis

syndrome(FAP),hereditarynon-polyposisCRC(HNPCCหรือLynchsyndrome),Peutz-Jegherssyndrome(PJS)

และacromegalyเป็นต้น

พยำธิสรีรวิทยำและกำรด�ำเนินโรค (pathophysiology) ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่ำวข้ำงต้นจะส่งผลท�ำให้เซลล์เย่ือบุผิวล�ำไส้เกิดกำรเปล่ียนแปลงรูปร่ำงมีกำรแบ่งตัวที่

เร็วขึ้น เพิ่มปริมำณเซลล์มำกขึ้นจนก่อตัวเป็นติ่งเนื้องอกเล็ก ๆ ที่ผิวของล�ำไส้ เรียกติ่งเนื้องอกชนิดนี้ว่ำ adenomatous

polyps(ดงัภำพที่1-3)ซึง่เป็นต่ิงเนือ้งอกทีส่ำมำรถกลำยพนัธุต่์อเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ได้(cancerprecursorlesions)จำกนั้น

เนื้องอกpolypsจะค่อยๆโตขึ้นอย่ำงช้ำๆและเพิ่มจ�ำนวนมำกขึ้นเมื่อขนำดของpolypsใหญ่เกินกว่ำ1-2เซนติเมตร

จะเกิดกำรกลำยพันธุ ์ของเซลล์เย่ือบุผิวที่รุนแรงกว่ำเดิม (severe dysplasia) จนกลำยเป็นก้อนมะเร็งล�ำไส้ใหญ่

(adenocarcinomaofcolon,CRC)24ท�ำให้รูล�ำไส้ตีบแคบ

ภาพที ่1กำรแบ่งตวัทีผ่ดิปกตขิองเซลล์เยือ่บผุวิล�ำไส้ใหญ่จนเกดิเป็นติง่เนือ้งอกadenomatouspolypsและกลำยพนัธ์ุต่อ

(severedysplasia)จนกลำยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่(adenocarcinoma,cancer)

ภาพท่ี 2 ภำพติ่ ง เ น้ืองอก

adenomatous polyps ที่อยู่บน

ผวิล�ำไส้และกลำยพนัธุเ์ป็นมะเรง็

ล�ำไส้ใหญ่

Page 3: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

3

ภาพที ่4กำรลกุลำมของเซลล์มะเรง็(tumor)ท�ำให้รูล�ำไส้ตบีแคบและกนิลึกลงสู่ผนังและอวัยวะข้ำงเคียง

อำกำรและกำรพยำกรณ์โรค (symptoms and prognosis) ผู้ที่มีควำมเสี่ยงต่อมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และได้รับกำรตรวจคัดกรองโรคแต่เนิ่นๆ มักจะยังไม่มีอำกำรผิดปกติใดๆ

ผู้ป่วยกลุ่มแรกนี้จะตอบสนองต่อกำรรักษำดีมำกและมีอำยุยืนนำนหลังได้รับกำรรักษำแล้ว เนื่องจำกกำรตรวจคัดกรอง

ท�ำให้แพทย์สำมำรถตรวจพบและท�ำกำรตดัติง่เนือ้งอกadenomatouspolypsหรอืมะเรง็ระยะเริม่แรกออกได้ประกอบกบั

ภาพที ่3ติง่เนือ้งอกadenomatouspolypsบนผวิล�ำไส้ใหญ่ท่ีมเีพียงต�ำแหน่งเดยีวและหลำยต�ำแหน่ง(ภำพถ่ำยจริง

จำกกำรส่องกล้องตรวจล�ำไส้ใหญ่:colonoscopy)

ต่อมำเซลล์มะเรง็จะกนิลกึลงสูผ่นงัของล�ำไส้และลกุลำมไปยงัเนือ้เยือ่ข้ำงเคยีง(localinvasion)เช่นต่อมน�ำ้เหลอืง

และอวัยวะรอบๆส�ำไส้ (ภำพที่4)จำกนั้นจะแพร่กระจำยต่อไปยังอวัยวะส�ำคัญอื่นๆ (distantmetastases) เช่นตับ

ปอดกระดูกสมองโดยผ่ำนทำงเส้นเลือดและท่อน�้ำเหลืองซึ่งจัดว่ำเป็นมะเร็งระยะสุดท้ำย(stageIVCRC)

Page 4: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

4

ผู้ป่วยยังคงมีสุขภำพที่สมบูรณ์แข็งแรงจึงมีควำมพร้อมที่จะเข้ำรับกำรรักษำได้อย่ำงปลอดภัยแต่หำกรอให้เกิดกลุ่มอำกำร

ผดิปกติจำกก้อนมะเรง็ขึน้แล้วเช่นท้องผูกเรือ้รงัต้องใช้ยำระบำยเพิม่ขึน้เรือ่ยๆ ,ขบัถ่ำยอุจจำระผดิปกตไิปจำกเดมิ(bowel

habit change) เช่น ท้องผูกสลับท้องเสีย อุจจำระลีบเล็กลง ถ่ำยปนมูกลื่น ถ่ำยเป็นเลือดแดงหรือสีด�ำแดง, โลหิตจำง,

ปวดท้องแบบบีบมวนเกร็ง,ท้องอืดท้องโตขึน้เรือ่ยๆ(เนือ้งอกใหญ่จนอดุตนัรลู�ำไส้),เบือ่อำหำรและน�ำ้หนกัลดลงผดิสังเกต

พบว่ำผู้ป่วยกลุ่มหลังนี้มักเป็นมะเร็งระยะลุกลำมหรือระยะท้ำยของโรคแล้ว ซึ่งจะให้ผลกำรรักษำและกำรท�ำนำยโรคไม่ดี

เท่ำผู้ป่วยที่ตรวจพบในระยะเริ่มแรกโดยทั่วไปสำมำรถจัดมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ได้เป็น4ระยะตำมAmericanJointCommittee

ofCancer(AJCC,TNMsystem)โดยผู้ป่วยมะเร็งระยะที่1หรือระยะต้นของระยะที่2(IIA)จะมีกำรท�ำนำยโรคที่ดีมำก

หลังได้รับกำรรักษำโดยพบว่ำโอกำสที่ผู้ป่วยจะยังคงมีชีวิตอยู่รอดต่อไปอย่ำงน้อยอีก5ปี(overall5-yearsurvival)สูงถึง

ร้อยละ70-82แต่หำกเป็นมะเร็งระยะIIB,IIC,IIIB,IIICหรือระยะที่IVจะมีโอกำสรอดชีวิตที่5ปีข้ำงหน้ำลดลงเหลือเพียง

ร้อยละ5-59ตำมล�ำดับ25,26

ประโยชน์ของกำรตรวจคดักรองติง่เนือ้งอกและมะเรง็ล�ำไส้ใหญ่ (colonic polyps and CRC screening) มรีำยงำนวจิยัทำงกำรแพทย์จ�ำนวนมำกทีย่นืยนัถงึประโยชน์ของกำรตรวจคดักรองติง่เนือ้งอกและมะเรง็ล�ำไส้ใหญ่

โดยพบว่ำกำรตรวจคัดกรองสำมำรถลดควำมเสี่ยงต่อกำรเกิดโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ในอนำคตได้ถึงร้อยละ76-90 (reduce

incidenceofCRC)และยังช่วยลดอัตรำกำรเสียชีวิตจำกโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ได้อย่ำงมีนัยส�ำคัญคือตั้งแต่ร้อยละ33-80

(reduceCRC-relatedmortality)ซึ่งเป็นผลดีที่สืบเนื่องจำกกำรตัดติ่งเนื้องอกadenomatouspolypsออกในขณะท�ำกำร

ตรวจคัดกรองด้วยกำรส่องกล้องตรวจล�ำไส้ใหญ่(colonoscopicpolypectomy)ก่อนที่จะเกิดกำรกลำยพันธุ์เป็นมะเร็ง27-38

ข้อบ่งช้ีและวิธกีำรตรวจคดักรองติง่เนือ้งอกและมะเรง็ล�ำไส้ใหญ่ ค�ำแนะน�ำและวิธีกำรตรวจคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ในบทควำมนี้อ้ำงอิงจำก 4 สถำบันวิชำกำรหลักในระดับ

นำนำชำติคือAmericanCollegeofGastroenterology(ACG)ปีพ.ศ.255239,AmericanGastroenterologicalAssociation

(AGA)ปีพ.ศ.255540,TheBritishSocietyofGastroenterology(BSG)และEuropeanguidelinesในปีพ.ศ.2553-

255641-43และAsiaPacificConsensusปีพ.ศ.255844โดยให้ค�ำแนะน�ำถงึข้อบ่งชีแ้ละช่วงอำยท่ีุควรตรวจคัดกรองติง่เนือ้งอก

และมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ไว้ดังตำรำงที่1

ตารางที ่1ข้อบ่งชีแ้ละช่วงอำยท่ีุควรตรวจคดักรองติง่เนือ้งอกและมะเรง็ล�ำไส้ใหญ่(indicationsandtimetocolonicpolyps

andCRCscreening)

ผู้ที่ควรได้รับการตรวจคัดกรอง ช่วงอายุที่ควรเริ่มตรวจคัดกรอง

ผู้ที่มีอำยุในช่วง50-75ปี ตั้งแต่อำยุ50ปี

สูบบุหรี่ ตั้งแต่อำยุ50ปี

อ้วน(อำจมีไขมันพอกตับหรือเบำหวำนร่วม) ตั้งแต่อำยุ50ปี

เคยเป็นติ่งเนื้องอกadenomatouspolyps ช่วง3-5ปีภำยหลังตัดติ่งเนื้องอกออกหมดแล้ว

เคยเป็นมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และได้รับกำรรักษำแล้ว เริ่มที่1,3และ5ปีหลังผ่ำตัดมะเร็งแล้ว

Page 5: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

5

วิธกีำรตรวจคดักรองติง่เนือ้งอกและมะเรง็ล�ำไส้ใหญ่แบ่งได้เป็น 3 วธิหีลกั ๆ ดงันี้ 1. ส่องกล้องตรวจล�าไส้ใหญ่ เช่น กำรส่องตรวจล�ำไส้ใหญ่เฉพำะส่วนซ้ำย (flexible sigmoidoscopy) ซึ่งช่วย

คัดกรองเนื้องอกได้เพียงบำงส่วนของล�ำไส้อีกวิธีหนึ่งคือกำรส่องกล้องตรวจล�ำไส้ใหญ่ครบทุกส่วน(totalcolonoscopy)

วิธหีลงันีจั้ดเป็นวธีิมำตรฐำน(goldstandardtest)และถกูยอมรับมำกทีสุ่ดในระดับสำกลเนือ่งจำกเป็นวธิทีีใ่ห้ควำมแม่นย�ำ

สูงสุดส�ำหรับกำรตรวจหำติ่งเนื้องอกและมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ และยังช่วยให้แพทย์สำมำรถตัดติ่งเนื้องอกต้นเหตุของกำรเกิด

มะเรง็หรอืสำมำรถตดัติง่มะเรง็ระยะแรกเริม่ออกได้ในขณะส่องกล้อง(ภำพที่5)จงึถอืได้ว่ำtotalcolonoscopyเป็นหตัถกำร

ที่มีประโยชน์ทั้งในด้ำนกำรวินิจฉัยและให้กำรรักษำในเวลำเดียวกันโดยพบภำวะแทรกซ้อนในอัตรำที่ต�่ำ(โอกำสตกเลือด

พบได้เพียง0.3-3.2ครั้งต่อกำรส่อง1,000ครั้ง,ผนังล�ำไส้ทะลุพบเพียง0.1-2ครั้งต่อกำรส่อง1,000ครั้ง,ภำวะไวต่อยำ

แก้ปวด,คลำยวิตกกังวลพบได้เพียง1รำยต่อผู้ป่วย1,000รำย)

ภาพที ่5แสดงวธีิกำรคล้องและตดัติง่เนือ้งอกล�ำไส้ใหญ่ออกในขณะส่องกล้องcolonoscopyเพือ่ป้องกนั

กำรกลำยพันธุ์เป็นมะเร็ง(colonoscopywithsnarepolypectomyforcancerprevention)

ผู้ที่ควรได้รับการตรวจคัดกรอง ช่วงอายุที่ควรเริ่มตรวจคัดกรอง

ญำติสำยตรงของผู้ป่วยที่มีadenomatouspolyps ตั้งแต่อำยุ40-60ปี

ญำติสำยตรงของผู้ป่วยมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ ตั้งแต่อำยุ40ปีหรือเริ่มตอนที่อำยุต่�ำกว่ำอำยุของญำติที่เป็นมะเร็ง10ปี(10yearsearlierthantheyoungestcancerinthefamily)

ผู้ป่วยโรคล�ำไส้อักเสบเรื้อรังIBD ภำยหลังเป็นโรคล�ำไส้IBD8-10ปี

ผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเสี่ยง;FAP,HNPCC,PJS ตั้งแต่อำยุ10-12ปีและ20-25ปีตำมล�ำดับ

ผู้ป่วยที่มีเนื้องอกล�ำไส้ชนิดserratedhyperplastic ช่วง1-3ปีหลังตรวจพบ(ขึ้นกับลักษณะเนื้องอก)

Page 6: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

6

ขั้นตอนในกำรตรวจส่องกล้องล�ำไส้ใหญ่ประกอบด้วย กำรได้รับค�ำแนะน�ำจำกแพทย์ในด้ำนประโยชน์ ข้อบ่งช้ี

กำรเตรียมควำมพร้อมและวิธีกำรเตรียมล�ำไส้ให้สะอำด (bowel preparation regimen) เพ่ือให้แพทย์สำมำรถส่องตรวจ

ผวิล�ำไส้ได้ชดัเจนและแม่นย�ำต่อด้วยกำรให้ยำระงับปวดยำคลำยวติกกงัวลเพือ่ช่วยให้ผ่อนคลำยหลับสบำยแต่ไม่ถงึขัน้สลบ

(moderatesedation)จำกนั้นแพทย์จะค่อยๆใส่สำยตรวจพลำสติกเล็กๆที่โค้งงอได้ผ่ำนทำงรูทวำรหนักโดยปลำยสำย

จะติดกล้องถ่ำยภำพขนำดเล็กเพื่อท�ำกำรวินิจฉัยถ่ำยภำพและช่วยในกำรตัดติ่งเนื้องอกออกโดยใช้เวลำประมำณ45-120

นำทีประสทิธผิลท่ีดีของกำรตรวจส่องกล้องล�ำไส้ใหญ่นอกจำกจะขึน้กบัควำมเชีย่วชำญของทมีแพทย์พยำบำลและอปุกรณ์

ส่องกล้องที่ทันสมัยและมีควำมปลอดภัยที่สูงแล้ว ยังขึ้นอยู่กับคุณภำพของกำรเตรียมล�ำไส้ (bowel preparation quality)

แพทย์ควรเลือกใช้สูตรยำระบำยที่ท�ำให้ล�ำไส้สะอำดมองเห็นภำพผิวล�ำไส้ได้ในระดับดีถึงดีมำกเป็นหลัก45-47(ภำพที่6)

ภาพที่ 6 ล�ำดับภำพแสดงถึงประสิทธิภำพกำรมองเห็นผิวล�ำไส้ใหญ่ในผู้ป่วยท่ีได้รับกำรเตรียมล�ำไส้ในเกณฑ์ดีและดีมำก

(good,excellentprep)เทียบกับกำรเตรียมล�ำไส้ที่ไม่สะอำด(fair,poorprep)

จำกที่ประชุมของสมำคมแพทย์โรคระบบทำงเดินอำหำรของประเทศสหรัฐอเมริกำ (AGA) ในปีพ.ศ.255748ได้

แนะน�ำตัวยำระบำยที่ควรเลือกใช้ส�ำหรับเตรียมล�ำไส้ไว้ ซึ่งได้แก่ ยำ polyethylene glycol-Electrolyte Lavage Solution

(PEG-ELS)โดยทยอยดื่มในขนำด2-4ลิตรก่อนส่องกล้องตัวยำPEG-ELSมีคุณสมบัติที่ดีในด้ำนควำมเป็นiso-osmotic

จึงง่ำยต่อกำรรับประทำน ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่จ�ำเป็นต่อร่ำงกำยและมีควำมปลอดภัยสูงต่อผู้ป่วยท่ีมีโรคประจ�ำตัว

ร่วมด้วยส�ำหรบัยำอืน่ๆ ทีส่ำมำรถเลอืกใช้ได้เช่นยำsodiumphosphate(NaP)หรอืยำsodiumpicosulfateแต่เนือ่งจำก

ยำNaPสำมำรถก่อให้เกิดภำวะไตเสื่อมไตวำยและกำรเสียสมดุลเกลือแร่ของร่ำงกำยจึงแนะน�ำให้หลีกเลี่ยงกำรใช้NaP

ในผูส้งูอำยุผูม้ปัีญหำคลืน่ไส้อำเจยีนผูป่้วยทีม่โีรคประจ�ำตวัเหล่ำนีร่้วมด้วยได้แก่โรคควำมดนัโลหติสงูตบัแขง็ท้องมำน

หัวใจล้มเหลว(NYHAclassIII,IV)และโรคไตเสื่อมหรือไตวำย

(AronchickCA.Bowelpreparationscale.Gastrointest Endosc.2004;60(6):1037-1038)

Page 7: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

7

2. ตรวจคัดกรองจากอุจจาระ คือกำรตรวจหำเม็ดเลือดแดงซึ่งหลุดลอกออกมำจำกผิวของติ่งเน้ืองอกหรือ

ก้อนมะเร็งแล้วปนออกมำกับอุจจำระของผู้ป่วย (stool fecal occult blood test: FOBT) เลือกตรวจได้ 2 วิธีคือ fecal

immunohistochemical test (FIT) ซึ่งให้ควำมไวในกำรตรวจหำมะเร็งสูงถึงร้อยละ 82 และมีควำมจ�ำเพำะต่อมะเร็งสูงถึง

ร้อยละ92ซึง่ดีกว่ำวิธีด้ังเดิมชนดิguaiactest(gFOBT)ท่ีมคีวำมไวและควำมจ�ำเพำะในกำรตรวจหำมะเรง็เพยีงร้อยละ64

และ87ตำมล�ำดับกำรตรวจFITมีข้อดีคือใช้กำรตรวจเพียง1ครั้งจำกปริมำณอุจจำระเพียงเล็กน้อยตรวจง่ำยสะดวก

และรำคำถูกส�ำหรับกำรตรวจอุจจำระอีกชนิดหนึ่งคือกำรตรวจหำสำรพันธุกรรมของเซลล์ก่อมะเร็งซึ่งเรียกว่ำstoolDNA

(multitargetDNAstoolassays)นั้นให้ควำมจ�ำเพำะที่ดีกว่ำFOBTแต่มีควำมไวที่ต�่ำในกำรตรวจหำมะเร็งอีกทั้งรำคำสูง

และมีที่ใช้จ�ำกัดเพียงในบำงประเทศอย่ำงไรก็ตำมกำรตรวจFOBTและstoolDNAเป็นเพียงตัวช่วยคัดกรองเบื้องต้น

เท่ำนั้น หำกผลตรวจเป็นบวก (positive) ยังคงต้องส่งผู้ป่วยเข้ำรับกำรตรวจส่องกล้องล�ำไส้ใหญ่ต่อเพื่อยืนยันกำรวินิจฉัย

และให้กำรรักษำต่อไป

3. ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ล�าไส้ใหญ ่(CTcolonography:CTCหรือvirtualcolonoscopy)กำรตรวจนี้ใช้

เทคนคิพเิศษทำงเอกซเรย์คอมพวิเตอร์ซึง่ท�ำได้เพยีงในบำงสถำบนัอำศยัรงัสแีพทย์เฉพำะทำงรำคำค่อนข้ำงสงูและจ�ำเป็น

ต้องใช้ยำระบำยเตรียมล�ำไส้ใหญ่ให้สะอำด ผู้ป่วยจะได้รับกำรเป่ำลมทำงทวำรหนักในขณะยังรู้สึกตัวดี ฉำยรังสีเอกซเรย์

ช่องท้องแล้วท�ำกำรจ�ำลองภำพล�ำไส้เป็น3มิติกำรตรวจนีใ้ห้ควำมไวประมำณร้อยละ83-90ส�ำหรับกำรคดักรองติง่เนือ้งอก

ขนำดตั้งแต่ 1 เซนติเมตร มีควำมจ�ำเพำะในกำรตรวจหำติ่งเนื้องอกและมะเร็งร้อยละ 95 แต่ยังมีข้อจ�ำกัดในกำรตรวจ

หำติ่งเนื้องอกขนำด6-9มิลลิเมตร(ควำมไวเพียงร้อยละ68-80)ซึ่งติ่งเนื้องอกลักษณะนี้ยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญต่อ

กำรเกิดมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ในประชำกรเอเชียควำมแม่นย�ำของกำรตรวจจะลดลงหำกเตรียมล�ำไส้ไม่สะอำดซึ่งท�ำให้ยำกต่อ

กำรแยกระหว่ำงติ่งเนื้องอกและเศษอุจจำระคั่งค้ำงอย่ำงไรก็ตำมเมื่อตรวจพบควำมผิดปกติจำกCTCยังคงต้องส่งผู้ป่วย

เข้ำรับกำรส่องกล้องล�ำไส้ต่อเช่นกันเพื่อยืนยันกำรวินิจฉัย ท�ำกำรตัดและตรวจพิสูจน์ชิ้นเนื้อต่อไป ดังนั้น จึงควรเลือกใช้

กำรตรวจCTCส�ำหรับผู้ป่วยที่ยำกต่อกำรส่องกล้องให้ได้ครบทุกส่วนของล�ำไส้ใหญ่หรือใช้ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีข้อจ�ำกัดด้ำน

โรคประจ�ำตวัทีย่งัควบคุมไม่ได้และยงัไม่พร้อมท่ีจะตรวจด้วยกำรส่องกล้องส่วนกำรตรวจเอกซเรย์วิธดีัง้เดิมด้วยกำรสวนแป้ง

แบเรียมทำงทวำรหนัก (double contrast barium enema) นั้นมีควำมแม่นย�ำต�่ำกว่ำวิธีข้ำงต้น จึงควรเลือกใช้ในผู้ป่วย

ที่มีข้อจ�ำกัดในกำรตรวจด้วยวิธีอื่นๆเท่ำนั้น

โดยสรปุ การตรวจคดักรองต่ิงเน้ืองอกและมะเรง็ล�าไส้ใหญ่มีประโยชน์อย่างมากต่อการช่วยลดอุบัติการณ์และการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่ ดังนั้น ประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคควรได้รับค�าแนะน�าถึงประโยชน์ ข้อดีและข้อจ�ากัดของ แต่ละวิธท่ีีใช้ตรวจคดักรองเพือ่ความเหมาะสม และเพือ่ประโยชน์สงูสดุส�าหรบัประชากรกลุ่มเสี่ยงดังกล่าว

Page 8: (The usefulness, indications and modalities for …...1 โรคมะเร งล ำไส ใหญ (colorectal cancer: CRC หร อ bowel cancer) เป นโรคท พบได

8

เอกสารอ้างอิง 1. Ferlay J, Soerjomataram I, ErvikM, et al.GLOBOCAN2012 v1.0,CancerIncidenceandMortalityWorldwide:IARCCancerBaseNo.11[Internet] 2.JemalA,BrayF,CenterMM,etal.Globalcancerstatistics.CACancerJClin2011;61:69. 3.FerlayJ,ShinHR,BrayF,etal.Estimatesofworldwideburdenofcancerin2008:GLOBOCAN2008.IntJCancer2010;127:2893-917. 4.AtkinWS,MorsonBC,CuzickJ.Long-termriskofcolorectalcancerafterexcisionofrectosigmoidadenomas.NEnglJMed1992;326:658. 5.CottetV,ParienteA,NaletB,etal.Colonoscopicscreeningoffirst-degreerelativesofpatientswithlargeadenomas:increasedriskofcolorectaltumors.Gastroenterology2007;133:1086. 6.TuohyTM,RoweKG,MineauGP,etal.Riskofcolorectalcancerandadenomasinthefamiliesofpatientswithadenomas:apopulation-basedstudyinUtah.Cancer2014;120:35. 7.ImperialeTF,RansohoffDF.Riskforcolorectalcancerinpersonswitha family history of adenomatous polyps: a systematic review. Ann Intern Med2012;156:703. 8.EkbomA,HelmickC,ZackM,AdamiHO.Ulcerativecolitisandcolorectalcancer.Apopulation-basedstudy.NEnglJMed1990;323:1228. 9.DengL,GuiZ,ZhaoL,etal.Diabetesmellitusandtheincidenceofcolorectal cancer: an updated systematic review and meta-analysis. Dig Dis Sci2012;57:1576. 10.DeBruijnKM,ArendsLR,HansenBE,etal.Systematicreviewandmeta-analysisoftheassociationbetweendiabetesmellitusandincidenceandmortalityinbreastandcolorectalcancer.BrJSurg2013;100:1421. 11.DelhougneB,DeneuxC,AbsR,etal.Theprevalenceofcolonicpolypsinacromegaly:acolonoscopicandpathologicalstudyin103patients.JClinEndocrinolMetab1995;80:3223. 12.FedirkoV,TramacereI,BagnardiV,etal.Alcoholdrinkingandcolorectalcancerrisk:anoverallanddose-responsemeta-analysisofpublishedstudies.AnnOncol2011;22:1958. 13.KitaharaCM,BerndtSI,deGonzálezAB,etal.Prospectiveinvestigationofbodymassindex,colorectaladenoma,andcolorectalcancerintheprostate,lung,colorectal,andovariancancerscreeningtrial.JClinOncol2013;31:2450. 14.RenehanAG,TysonM,EggerM,etal.Body-massindexandincidenceofcancer:asystematicreviewandmeta-analysisofprospectiveobservationalstudies.Lancet2008;371:569. 15.BotteriE,IodiceS,BagnardiV,etal.Smokingandcolorectalcancer:ameta-analysis.JAMA2008;300:2765. 16. Botteri E, Iodice S, Raimondi S, et al. Cigarette smoking andadenomatouspolyps:ameta-analysis.Gastroenterology2008;134:388. 17.WallaceK,GrauMV,AhnenD,etal.Theassociationoflifestyleanddietaryfactorswiththeriskforserratedpolypsofthecolorectum.CancerEpidemiolBiomarkersPrev2009;18:2310. 18.BuchananDD,SweetK,DriniM,etal.Risk factors forcolorectalcancer inpatientswithmultipleserratedpolyps:across-sectionalcaseseries fromgeneticsclinics.PLoSOne2010;5:e11636. 19.PandeM,LynchPM,HopperJL,etal.SmokingandcolorectalcancerinLynchsyndrome:resultsfromtheColonCancerFamilyRegistryandtheUniversityofTexasM.D.AndersonCancerCenter.ClinCancerRes2010;16:1331. 20.ChaoA,ThunMJ,ConnellCJ,etal.Meatconsumptionandriskofcolorectalcancer.JAMA2005;293:172. 21.WillettWC,StampferMJ,ColditzGA,etal.Relationofmeat,fat,andfiberintaketotheriskofcoloncancerinaprospectivestudyamongwomen.NEnglJMed1990;323:1664. 22.CrossAJ,FerrucciLM,RischA,etal.Alargeprospectivestudyofmeatconsumptionandcolorectalcancerrisk:aninvestigationofpotentialmechanismsunderlyingthisassociation.CancerRes2010;70:2406. 23.ChanDS,LauR,AuneD,etal.Redandprocessedmeatandcolorectalcancerincidence:meta-analysisofprospectivestudies.PLoSOne2011;6:e20456. 24.FearonER,VogelsteinB.Ageneticmodelforcolorectaltumorigenesis.Cell1990;61:759. 25.AJCC(AmericanJointCommitteeonCancer)CancerStagingManual,7thedition,Edge,SB,Byrd,DR,Compton,CC,etal.(Eds)(Eds),Springer,NewYork2010.p.143.

26.HariDM,LeungAM,LeeJH,etal.AJCCCancerStagingManual7th edition criteria for colon cancer: do the complexmodifications improve prognosticassessment?JAmCollSurg2013;217(2):181-90. 27.ZauberAG,WinawerSJ,O’BrienMJ,etal.Colonoscopicpolypectomyandlong-termpreventionofcolorectal-cancerdeaths.NEnglJMed2012;366:687. 28.NishiharaR,WuK,LochheadP,etal.Long-TermColorectal-CancerIncidenceandMortalityafterLowerEndoscopy.NEnglJMed2013;369:1095-105. 29. Baxter NN, Warren JL, Barrett MJ, et al. Association betweencolonoscopyandcolorectalcancermortalityinaUScohortaccordingtositeofcancerandcolonoscopistspecialty.JClinOncol2012;30(21):2664-9. 30. Rabeneck L, Paszat LF, Saskin R, et al. Association betweencolonoscopy ratesandcolorectal cancermortality.AmJGastroenterol 2010;105(7): 1627-32. 31.SinghH,NugentZ,DemersAA, et al. The reduction in colorectalcancer mortality after colonoscopy varies by site of the cancer. Gastroenterology2010;139(4):1128-37. 32.BaxterNN,GoldwasserMA,PaszatLF,etal.Associationofcolonoscopyanddeathfromcolorectalcancer.AnnInternMed2009;150(1):1-8. 33.WinawerSJ,ZauberAG,HoMN,etal.Preventionofcolorectalcancerbycolonoscopicpolypectomy.TheNationalPolypStudyWorkgroup.NEnglJMed1993;329(27):1977-81. 34.CitardaF,TomaselliG,CapocacciaR,etal.Efficacyinstandardclinicalpractice of colonoscopic polypectomy in reducing colorectal cancer incidence. Gut2001;48(6):812-5. 35.Thiis-EvensenE,HoffGS,SauarJ,etal.Population-basedsurveillancebycolonoscopy:effectontheincidenceofcolorectalcancer.TelemarkPolypStudyI.ScandJGastroenterol1999;34(4):414-20. 36.SchoenRE,PinskyPF,WeissfeldJL,etal.Colorectal-cancerincidenceandmortality with screening flexible sigmoidoscopy. N Engl J Med 2012;366(25): 2345-57. 37.ElmunzerBJ,HaywardRA,SchoenfeldPS,etal.EffectofFlexibleSigmoidoscopy-BasedScreeningon IncidenceandMortalityofColorectalCancer:ASystematicReviewandMeta-AnalysisofRandomizedControlledTrials.PlosMedicine2012;9:e1001352,P1-9. 38. Atkin WS, Edwards R, Kralj-Hans I, et al. Once-only flexiblesigmoidoscopyscreeninginpreventionofcolorectalcancer:amulticentrerandomisedcontrolledtrial.Lancet2010;375(9726):1624-33. 39. Rex DK, Johnson DA, Anderson JC, et al. American College ofGastroenterology guidelines for colorectal cancer screening 2009 [corrected]. Am JGastroenterol2009;104(3):739-50. 40.LiebermanDA,RexDK,WinawerSJ,etal.GuidelinesforColonoscopySurveillanceafterScreeningandPolypectomy:AConsensusUpdatebytheUSMulti-SocietyTaskForceonColorectalCancer.Gastroenterol2012;143:844-57. 41.CairnsSR,ScholefieldJH,SteeleRJ,etal.Guidelinesforcolorectalcancerscreeningandsurveillanceinmoderateandhighriskgroups(updatefrom2002).Gut2010;59(5):666-89. 42.SteeleRJ,PoxC,KuipersEJ,etal.Europeanguidelinesforqualityassuranceincolorectalcancerscreeninganddiagnosis.FirstEdition-Managementoflesionsdetectedincolorectalcancerscreening.Endoscopy2012;44Suppl3:SE140-50. 43.EuropeanColorectalCancerScreeningGuidelinesWorkingGroup,etal.Europeanguidelinesforqualityassuranceincolorectalcancerscreeninganddiagnosis:overviewandintroductiontothefullsupplementpublication.Endoscopy2013;45(1):51-9. 44.SungJJ,NgSC,ChanFK,etal.AnupdatedAsiaPacificConsensusRecommendationsoncolorectalcancerscreening.Gut2015;64(1):121-32. 45.GyanprakashA.KetwarooandMandeepS.Sawhney.Qualitymeasuresandqualityimprovementsincolonoscopy.CurrOpinGastroenterol2015;31:56-61. 46.AndersonJC,ButterlyLF.Colonoscopy:Qualityindicators.ClinicalandTranslationalGastroenterolFebruary2015;[Epub.aheadofprint]. 47.KamińskiMF,HassanC,BisschopsR,etal.Advancedimagingfordetectionanddifferentiationofcolorectalneoplasia:EuropeanSocietyofGastrointestinalEndoscopy(ESGE)Guideline.Endoscopy2014;46(5):435-49. 48.JohnsonDA,BarkunAN,CohenLB,etal.OptimizingAdequacyofBowelCleansingforColonoscopy:RecommendationsFromtheUSMulti-SocietyTaskForceonColorectalCancer.Gastroenterology2014;147:903-24.