smart industry vol.15/2010 "logistics...

16
Free copy Volume 15 / 2553 ฉบับที่ 15 เพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของเอสเอ็มอีไทย Logistics การทาเรือฯ เตรียม “e-Port” เพิ่มศักยภาพการใหบริการ กรมศุลกากร หนวยงานหลัก ขับเคลื ่อนการแขงขันโลจิสติกสของไทย “ระบบโลจิสติกส” หัวใจความ สำเร็จของ ออฟฟศเมท” “สุวรรณไพศาลขนสง” ติดปก ธุรกิจดวยไอที “ไอซ โซลูชั่น” ซอฟตแวรโลจิสติกส สัญชาติไทย...อีกหนึ่งตัวชวยเอสเอ็มอี Netbay ผูใหบริการซอฟตแวรและ โซลูชั่นดานโลจิสติกสครบวงจร

Upload: software-park-thailand

Post on 12-Nov-2014

1.846 views

Category:

Technology


5 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Free copy Volume 15 / 2553

ฉบับที่ 15

เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอสเอ็มอีไทย

Logistics

การทาเรือฯ เตรียม “e-Port” เพิ่มศักยภาพการใหบริการ

กรมศุลกากร หนวยงานหลักขับเคล่ือนการแขงขันโลจิสติกสของไทย

“ระบบโลจิสติกส” หัวใจความสำเร็จของ “ออฟฟศเมท” “สุวรรณไพศาลขนสง” ติดปกธุรกิจดวยไอที

“ไอซ โซลูชั่น” ซอฟตแวรโลจิสติกสสัญชาติไทย...อีกหนึ่งตัวชวยเอสเอ็มอี

Netbay ผูใหบริการซอฟตแวรและ

โซลูชั่นดานโลจิสติกสครบวงจร

Page 2: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Editorial

จุลสารขาว Smart Industryจัดทำโดยเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใตสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)99/31 อาคาร Software Park ถนนแจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร. 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884www.smartindustry.org www.swpark.or.th www.tmc.nstda.or.th www.nstda.or.th

Editorial

Content

4

8

10

12

3

หากจะกลาวถึงภาพรวมของระบบโลจิสติกสแลว ซัพพลายเชนนับวามีบทบาทที่สำคัญอยางมาก เนื่องจากมีการนำเทคโนโลยีมาชวยในทุกขั้นตอนของธุรกิจนับตั้งแตกระบวนการผลิต การขนสงสินคา การสต็อกสินคา จนถึงการบริหารสินคาและการสงตอถึงผูบริโภค ซึ่งเมื่อมีการนำเทคโนโลยีมาชวยในการบริหารที่ดีแลว จะสามารถลดตนทุนในการดำเนินงานของธุรกิจไดดวย

อยางไรก็ตาม สิ่งที่ทำใหซัพพลายเชนแตกตางจากการบริหารแบบดั้งเดิมคือ การมีการวางแผนที่มี ความรวมมือและเชื่อมโยงกัน (Collaborative Planning Flow) ซึ่งกอใหเกิดกระบวนการทางดานการบูรณาการ (Integration) ขึ้น โดยสิ่งเหลานี้จะตองมีเรื่องประสิทธิผลเขามาเกี่ยว ที่จะพิสูจนใหเห็นวา กระบวนการทำงานลาชาเปนอยางไร และกอใหเกิดความเสียหายเพียงใด ตองคำนึงถึงการวางแผนความรวมมือกัน (CollaborativePlanning) ดวยวาตางฝายรวมมือกันมากนอยเพียงใด ในสวนของการวัดผลนั้นจะตองมีเรื่องของกระบวนการภายใน (Internal) และกระบวนการภายนอก (external) ซึ่งจะตองอาศัยความรวมมืออยางใกลชิดระหวางซัพพลายเออร (Supplier) และลูกคาดวย สิ่งที่จะตองคำนึงถึงตอมาคือ ชองทางการจัดจำหนาย (Channel of Distribution) รวมถึง การจัดการแค็ตตาล็อก (Category Management) ที่สอดรับกันอยางมีระบบทำใหลดขั้นตอนในการทำงานที่ซ้ำซอน มีการนำระบบบารโคด เขามาบันทึกขอมูลภายในองคกร เพื่อใหไปสูมาตรฐานสากลและลดความผิดพลาดของการทำงานดวย ซึ่งสงผลใหองคกรสามารถลดตนทุนในการดำเนินการไดมากขึ้น ขณะเดียวกันองคกรก็สามารถที่จะมีประสิทธิภาพการทำงานที่สูงขึ้นดวย เพื่อใหเกิดความพอใจสำหรับลูกคา คูคา และนักธุรกิจอื่นๆ ที่เราติดตอดวย

ในยุคของการแขงขันที่มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยเสริมศักยภาพและสรางความสามารถในการแขงขันของธุรกิจที่มีการนำมาใชมากขึ้น โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมโลจิสติกสไดมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่หลากหลายมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ Supply Chain ในกระบวนการโลจิสติกส ซึ่งจะยังสงผลใหธุรกิจสามารถที่จะลดตนทุนและขับเคลื่อนไดอยางมีประสิทธิภาพ

Smart Industry จึงขอนำเสนอการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในอุตสาหกรรมโลจิสติกส(Logistics) บทบาทของหนวยงานภาครัฐในการสรางศักยภาพในการแขงขันดวยระบบโลจิสติกส (e-logistics) ที่มีการพัฒนาระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสทางการคาเพื่อเพิ่มศักยภาพการนำเขาสงออก หรือ National Single Windows (NSW)

นอกจากนี้ยังนำเสนอความคืบหนาของหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวของกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในอุตสาหกรรมโลจิสติกส นับตั้งแตกรมศุลกากรมีการพัฒนาระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสไรกระดาษ หรือ ระบบงานพิธีการศุลกากรไรกระดาษ (Paperless Customs System) ซ่ึงผูประกอบการสามารถย่ืนคำขอผานระบบคอมพิวเตอรในรูปแบบหนาตางเดียว หรือระบบ One Stop Service เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับผูนำเขาและสงออกเพื่อรองรับการคาระหวางประเทศที่มีมูลคามหาศาล

กองบรรณาธิการ

RFIDและ Supply Chain Management

อาวุธลับสำหรับ e-logistics

e-logisticsเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

เตร�ยมบร�การ “e-Port” เพ��มศักยภาพการใหบร�การ

“ไอซ โซลูชั่น”ซอฟตแวรโลจิสติกสสัญชาติไทย...อีกหนึ่งตัวชวยเอสเอ็มอี

“ระบบโลจ�สติกส”หัวใจความสำเร�จของ

Page 3: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

What’s new!

นอกจากน้ี ผูประกอบการยังหันมาใหความสำคัญกับเทคโนโลยี RFID ซ่ึงเปนระบบที่ชวยเพิ่มความรวดเร็วและถูกตองแมนยำในการตรวจสอบประเภทและปริมาณของสินคาคงคลัง การใชระบบ Global Positioning System (GPS) ในการติดตามสถานะของรถบรรทุกสินคา รวมทั้งการวิเคราะหเสนทางการเดินรถทำใหประสิทธิภาพในการขนสงดียิ่งขึ้น โดยเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้จะชวยเพิ่มความสะดวก ลดระยะเวลา และความผิดพลาดในการดำเนินงาน อันจะสงผลตอการเพิ่มคุณภาพการใหบริการแกลูกคา โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการคาปลีกไดดวย

Supply Chain Management (SCM) เปนระบบบริหารหวงโซอุปทานของธุรกิจโลจิสติกส ที่มีการนำเทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยในการบริหารธุรกิจของผูประกอบการและธุรกิจ โดยระบบSupply Chain มีระบบอัตโนมัติเขามามีบทบาทสำคัญ ตั้งแต การผลิตสินคา การเลือกสินคา รูปแบบการผลิตที่ตองการ การจายเงิน รวมไปถึงการจัดสงอยางเปนระบบของผูประกอบการและธุรกิจสามารถเห็นการสงถายและบริหารขอมูลที่มีประสิทธิภาพ มีความรวดเร็วสูง สามารถโตตอบกันไดแบบเรียลไทม (Real Time) และมีตนทุนท่ีต่ำ ซ่ึงเปนผลดีชวยใหการทำงานและประสานกันของทุกฝายที่เกี่ยวของเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เกิดการพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน สามารถนำทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาใชประโยชนรวมกันในการวางแผน คาดการณ หรือตัดสินใจ

นอกจากนี้ Supply Chain Management และ e-Supply Chain ยังทำใหบริษัทหรือองคกร รวมทั้งคูคาที่มาทำธุรกิจรวมกัน ซึ่งจะนำไปสูทีมที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และนาเช่ือถือ ทำใหไดเปรียบคูแขงขัน อยางไรก็ตาม บริษัทหรือองคกร รวมทั้งคู คาที ่มาทำธุรกิจรวมกันจะตองมีเปาหมายอยางเดียวกัน เพื่อที่จะไดเปรียบคูแขงขัน สามารถเอาชนะ และอยูรอดเปนเบอรหนึ่งหรืออยูแถวหนาได

RFIDและ Supply Chain Management

อาวุธลับสำหรับ e-logistics

ในหวงโซอุปทานของระบบโลจิสติกส การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในการบริหารงานและลดตนทุนการดำเนินธุรกิจท่ีหลากหลาย อาทิ การนำเทคโนโลยี Radio Frequency Identification (RFID), และ Supply ChianManagement เปนเทคโนโลยีท่ีเขามาชวยเพ่ิมศักยภาพในการแขงขันในดานโลจิสติกส หรือ e-logistics เพื่อใหการดำเนินธุรกิจอยูในระดับสากลและเปนอาวุธทางการคาที่ทรงพลังในการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของธุรกิจและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา

โดยในสวนของ RFID เปนระบบเก็บขอมูลลงบน Tag Electronics ที่มีบทบาทในการเพิ่มขีดความสามารถในการคำนวณ และการรักษาความปลอดภัยของขอมูล ซึ่ง RFID เปนนวัตกรรมในการสนับสนุนระบบโลจิสติกสและซัพพลายเชนโดยการเพิ่มประสิทธิภาพของการสงและรับขอมูลขาวสาร รวมถึงระบบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย (Security and Access Control) ในการขนสงสินคาขามประเทศ

ผูประกอบการและธุรกิจมีการนำเทคโนโลยี RFID มาใชในการขนสงสินคา การตรวจสอบสถานะสินคา และรถขนสง รวมถึงการบริหารจัดการคลังสินคาเพื่อชวยเพิ่มความรวดเร็ว และความถูกตองแมนยำในการตรวจสอบประเภทและปริมาณสินคาคงคลัง เนื่องจากการขนสงสินคาจำเปนตองมีการวางแผนเสนทางการขนสงที่ดีเพื่อประหยัดคาใชจายท่ีตองสูญเสียไปกับการเดินทาง รวมถึงตองประหยัดเวลาในการสงสินคา

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 3

Page 4: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

COVER story

e-logisticsเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ปจจุบันแนวโนมการแขงขันท่ีเขมขนข้ึนอันเน่ืองมาจากกระแสโลกาภิวัฒน (Globalization) ซึ่งมีการเปดเสรีทางการคามากขึ้น ผลักดันใหภาคธุรกิจตองยกระดับความสามารถในการดำเนินธุรกิจในทุกวิถีทาง ทั้งการลดตนทุนธุรกิจและสรางมูลคาเพิ่มเพื่อนำเสนอลูกคา การบริหารจัดการกระบวนการนำสงสินคาและบริการจากผูผลิตถึงผูบริโภคตลอดหวงโซอุปทาน หรือการบริหารจัดการโลจิสติกส จึงเปนเปาหมายสำคัญที่ผูประกอบการสามารถใชเปนแหลงท่ีมาของความไดเปรียบในการแขงขัน ทั้งในระดับธุรกิจและระดับประเทศ

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศลดตนทุน และเพื่อใหประเทศไทยมีศักยภาพทางการแขงขันทางดานโลจิสติกส สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของ จึงไดจัดทำแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2554 ขึ้น และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตรดังกลาว เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2550 เพื่อเปนการเปดโอกาสใหทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของเขามามีสวนรวม ไดมีสวนผลักดันใหมีการนำยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติเพ่ือใหเกิดผลเปนรูปธรรม และเปนการสนับสนุนใหมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในระบบโลจิสติกสของประเทศ หรือ e-logistics

โดย e-logistics เปนการนำสารสนเทศมาใชเปนเคร่ืองมือในการดำเนินงานท่ีเก่ียวของกับการนำสินคาและบริการท่ีลูกคาตองการไปยังสถานท่ีท่ีถูกตองในเวลาที่เหมาะสม สรางความพอใจสูงสุดใหลูกคา โดยที่ผูประกอบการจะไดรับผลกำไร และประหยัดคาใชจาย เนื่องจากการบริหารจัดการระบบโลจิสติกสอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งทำใหตนทุนในเรื่องของการเคลื่อนยาย การขนสงทางเรือ ทางอากาศ และทางบก การคลังสินคา การรักษาสินคาต่ำ สามารถตอสูกับคูแขงขันและยืนหยัดอยูในตลาดที่มีการแขงขันรุนแรงได

แมวา จากการศึกษา รวบรวมขอมูลและวิเคราะหถึงสถานภาพของระบบโลจิสติกสไทยในปจจุบัน พบวา ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกสของไทยยังต่ำกวาประเทศคูคา ทั้งนี้ เนื่องมาจากแนวโนมเศรษฐกิจการคาโลก และการที่กิจกรรมการขนสงสินคาของไทย รอยละ 88 ใชรถบรรทุกซึ่งเปนรูปแบบที่มีตนทุนการใชพลังงานสูง ทำใหเปนภาระตนทุนกับภาคธุรกิจและภาระทางการคลังกับภาครัฐ เกิดเปนความจำเปนที่จะตองทบทวนรูปแบบการขนสงหลักของประเทศอยางจริงจัง

ดร.สมนึก คีรีโต ผูอำนวยการสถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลาวาแผน ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2554 เปนประเด็นยุทธศาสตรท่ีสำคัญในการ ยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ พรอมท้ังกำหนดตำแหนงเชิงยุทธศาสตรใหไทยมีระบบโลจิสติกสท่ีไดมาตรฐานสากล(World Class Logistics) รวมถึงเปนศูนยกลางโลจิสติกส เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเปนศูนยกลางธุรกิจและการคาของภูมิภาคอินโดจีน (Regional Logistics Hub)

4 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

Page 5: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

นอกจากนี้ยังมีวัตถุประสงคหลัก 4 ประการ คือเพื่อ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความสะดวกกิจกรรมทางการคา ซึ่งจะนำไปสูการลดตนทุนโลจิสติกส (Cost Efficiency) 2. เพ่ิมขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความตองการของลูกคา (Responsiveness) 3. เพ่ิมความปลอดภัยและความเช่ือถือไดในกระบวนการนำสงสินคาและบริการ (Reliability and Security) 4. สรางมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกสและอุตสาหกรรมตอเนื่อง

ทั้งนี้ รัฐบาลมีเปาหมายในการลดตนทุนโลจิสติกสตอผลผลิตมวลรวมประเทศ Gross Domestic Product (GDP) จากประมาณรอยละ 19 ในป 2548 ใหเหลือรอยละ 16 ในป 2554 โดยมี 4 ประเด็นยุทธศาสตรหลัก (Strategic Agenda) ประกอบดวย 1. การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกสในภาคการผลิต (Business Logistics Improvement) 2. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนสงและโลจิสติกส (Transport and Logistics Network Optimization) 3. การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส (Logistics Service Internationalization) 4. การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการคา (Trade Facilitation Enhancement) และ 5. การพัฒนากำลังคนและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร (Capacity Building)

ในสวนของ e-logistics นั้น อยูภายใตยุทธศาสตรการปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการคา (Trade Facilitation Enhancement) ซึ่งเปนยุทธศาสตร ที่ 4 ของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศไทย 2550-2554

โดยที่เปาหมายหลักในการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในการลดตนทุนของผูประกอบการในการทำธุรกรรมเพื่อการสงออกและนำเขาโดยมีโลจิสติกสของประเทศ และการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในการปรับปรุงอำนวยความสะดวกทางการคาหนวยงานภาครัฐนี้จึงมีความเกี่ยวของกับ 35 แหง อาทิ กรมศุลกากร กระทรวงพานิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนตน

โดยแผนยุทธศาสตรดังกลาว มีกลยุทธหลัก คือ การพัฒนาระบบการนำสง และแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารในกระบวนการโลจิสติกสใหเปนอิเล็กทรอนิกส (e-Logistics) และพัฒนาระบบ National Single Window (NSW) เปนศูนยกลางของระบบสำหรับใหบริการเพื่อการสงออก-นำเขาและโลจิสติกส

ทั้งนี้ เพื่อลดระยะเวลาที่ใชในกระบวนการดำเนินเอกสารเพื่อการสงออกหรือนำเขาลดลง คาใชจายของผูประกอบการในการทำธุรกรรมเพื่อสงออก-นำเขาลดลง จำนวนแบบฟอรม เอกสารที่ใชในกระบวนการลดลง (Paperless) จากเดิมท่ีมีแบบฟอรมของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการนำเขาและสงออกมากกวา 300 ประเภท ใหสามารถพัฒนาเปนแบบฟอรมอิเล็กทรอนิกสเพื่อลดระยะเวลาในการติดตอกับหนวยงานราชการทั้ง 35 หนวยงาน ปรับปรุงระบบภาษี และพิธีการศุลกากรที่เกี่ยวกับการขนสงสินคาสงออก-นำเขา และการขนสงสินคาถายลำใหเอื้ออำนวยตอกระบวนการสงออก-นำเขา ลดตนทุนการจัดทำเอกสารและการนำสงขอมูลและมีการเชื ่อมโยงขอมูล ทั้งระหวางหนวยงานผูใหบริการภาครัฐท่ีเก่ียวของ รัฐ-ธุรกิจ และธุรกิจ-ธุรกิจ(G2G, G2B และ B2B) ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส เปนตน

ดร. สมนึก เลาตอวา แผนยุทธศาสตรโลจิสติกสประเทศไทย เปนความพยายามที่จะสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีการตั้งคณะกรรมการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในทุกดาน เพื ่อเสริมศักยภาพการแขงขันทุกดานของประเทศ ท้ังดานการคา เศรษฐกิจการคา สังคม การลงทุน และกรรมการ ไดทำการวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง SWOT Analysis ของประเทศไทยวาอยูตรงไหน เพื่อเสริมจุดแข็ง ลบจุดออน โดยเนนที ่อุตสาหกรรมอาหาร ทองเที ่ยว แฟช่ัน และโลจิสติกส โดยปจจุบันรัฐบาลไดพัฒนาระบบ e-logistics หรือ NSW เพื่อรองรับการสงแบบฟอรมเอกสารในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกสและรัฐบาลโดยกรมศุลกากรในฐานะเจาภาพไดมีการพัฒนาระบบ NSW เพื่อรองรับระบบโลจิสติกสที ่เชื ่อมโยงกับประเทศอาเซียน 10 ประเทศ หรือ ASEAN Single Window Agreements และการเตรียมพรอมเพื่อรองรับกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งจะมีการเปดเสรีทางการคาสินคา ในป 2558

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 5

COVER story

Page 6: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

มองภาพรวมโลจิสติกสไทย

ชุมพล สายเชื้อ เลขาธิการสมาคมขนสงสินคาและ โลจิสติกสไทย เลาวา โลจิสติกส เปนสวนท่ีเช่ือมโยง สนับสนุนกิจกรรมการคาตางๆ สามารถที่จะนำ สินคาจากตนน้ำผานโรงงานการผลิตไปจนถึง ผูบริโภคในขั้นตอนสุดทาย กิจกรรมเหลานี้มีการ รวบรวม จัดเก็บ เคลื่อนยาย กระจายสินคา สิ่งที่เรามองในอดีตเปนแคกระจายสินคา ตอมาเปนเรื่องของขอมูล การเงิน ความรวมมือ แตในมิติหลักที่เราจับตองไดคือ สินคา การเคลื่อนยายสินคา จากตนน้ำ แหลงวัตถุดิบ จากฟารม เหมือง เขาสูโรงงานผลิต มีการสงมอบสินคาไปยังคาปลีก หรือเปนอุตสาหกรรมตอเน่ืองข้ันปลายและสงตอไปที่ผูบริโภค ขั้นโลจิสติกสจึงเปนกิจกรรมที่เอาทุกสวนมารอยตอกัน และ e-logistics มีบทบาทสำคัญอยางมากในการลดขั้นตอนการติดตอสื ่อสารระหวางหนวยงานราชการและการขอใบอนุญาตการนำเขาและสงออก ซึ่งสงผลใหธุรกิจมีความคลองตัวมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตามเพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพทางการแขงขันของสมาชิกผูประกอบการโลจิสติกส สมาคมฯ อยูในระหวางการจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานขนสง (Transportation Management System) สำหรับผูประกอบการซึ่งจะชวยลดปญหาการวิ่งรถเที่ยวเปลาของผูประกอบการ ซึ่งสูญเสียรายไดจำนวนมากในจากการวิ่งรถเที่ยวเปลาในแตละป ซึ่งคาดวาจะสามารถแลวเสร็จในปหนา

“ผมมองวา e-logistics และไอที เปนเรื่องใกลตัวที่เลี่ยงไมได ทั้งนี้เนื่องจากไอทีสามารถตอบสนองความพอใจของลูกคา ควบคุมตนทุน ในการบริหารจัดการที่ดี เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานใหเราแขงขันได และผูประกอบการเม่ือมีระบบน้ีเคาจะไดรับความสะดวกสบายมากข้ึน”ชุมพล กลาว

จากขอมูล World Bank รายงานวา ประเทศไทยมีการพัฒนาทางดานโลจิสติกสอันดับที่ 108 จากการจัดอันดับทั้งสิ้น 189 ประเทศทั่วโลก ในป 2007 โดยใชเวลาในการสงออกสินคานับต้ังแตไดรับใบส่ังซ้ือจากตางประเทศ 24 วัน มีตนทุนคาใชจาย 848 เหรียญสหรัฐตอตูคอนเทนเนอร ในปน้ี หลังจากท่ีมีระบบ NSW ท่ีอำนวยความสะดวกในการสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสทางการคาเพื่อการนำเขาและสงออก ทำใหประเทศไทยสามารถลดเวลาการสงออกลงเหลือ 14 วัน มีตนทุนคาใชจาย 625 เหรียญสหรัฐตอตูคอนเทนเนอรทำใหผู ประกอบการสามารถลดตนทุนโลจิสติกสลง 223เหรียญสหรัฐตอตูคอนเทนเนอร และ World Bank ไดจัดอันดับศักยภาพการแขงขันทางดานโลจิสติกสของไทยมาอยูที่อันดับ 12 ซึ่งสงผลใหการขนสงสินคาผานตูคอนเทนเนอรซ่ึงมีกวา 3.5 ลานตูตอป สามารถท่ีจะลดตนทุนท้ังการนำเขาสงออกกวา 40,000 ลานบาทตอป

ทั้งนี้ ปจจุบันกรมศุลกากรในฐานะเจาภาพในการพัฒนาระบบ National Single Window ของประเทศ ไดจัดทำรางแผนปฏิบัติการ (National Action Plan) พ.ศ. 2554-2558 การพัฒนาระบบ National Single Windows ของประเทศสำหรับการนำเขา การสงออก และโลจิสติกสรองรับการเชื่อมโยงขอมูลระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศในภูมิภาคอื ่นๆ ดวย และ รัฐบาลไดมีการจัดตั ้งคณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนสงสินคาและบริการของประเทศ (กบส.) โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานซ่ึงหนวยงานน้ีเปนหนวยงานถาวรท่ีจะมาดูแลเร่ืองการพัฒนา National Single Windows ของประเทศ

TransportIndustry

Banking &InsuranceIndustry

TradingCommunity

OtherGovermentAgencies

ASEAN/InternationalLink

e-Customs

e-Declaration

e-Container

e-Manifest

NationalSingleWindow

6 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

COVER story

Page 7: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

ขณะท่ี ดร.ชยกฤต เจริญศิริวัฒน ประธานคณะทำงาน จัดทำ Roadmap โลจิสติกสอุตสาหกรรมเครื่องใช ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เลาวา e-logistics เปนความ พยายามของภาครัฐท่ีพยายามปรับปรุงระบบโลจิสติกส ของไทย และหนวยงานที่เริ่มตนเปนรูปแบบที่สุดคือ กรมศุลกากร ซึ่งมีการพัฒนาระบบ e-custom ซึ่งเปนหนวยงานนำรอง นอกจากนี้ ยังมีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรม ไดมีการตั้งสำนักโลจิสติกส มีกิจกรรมทางดานสนับสนุนโลจิสติกสในภาคอุตสาหกรรม เปนตน และประเทศไทยเริ่มการทำโลจิสติกส เพื่อจะกาวไปสู e-supply chain เชื่อวาอีก 2-3 ป จะมี e-supply chain มาแทนที่ e-logistics โดย e-logistics จะเนนการจัดการการขนสง transportation management system และ Warehouse Management System (WMS) แบบเปนชวงๆ แต e-supply chain จะมองการไหลของสินคาตั้งแตตนจนจบ

“เม่ือโลจิสติกสเขามามีบทบาทในการลดคาใชจาย 1 เปอรเซ็นตของตนทุนอาจจะหมายถึงกำไรเพิ ่มขึ ้น 25 เปอรเซ็นตก็ได ยิ ่งสินคามีกำไร โลจิสติกสจะมีบทบาททำใหเห็นกำไรมากขึ้นในทางอุตสาหกรรม แตคนสวนใหญไมใสใจ มีการมองกันวาใน 5 ป จะลดคาโลจิสติกสลงปละ 3 เปอรเซ็นตของตนทุนทั้งหมด ซึ่งทำใหธุรกิจสามารถมีกำไรมากขึ้น” ชยกฤต กลาว

ดังนั้น หากธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (เอสเอ็มอี) มองวาโลจิสติกสเปนคาใชจายที่ตองจายถาเอสเอ็มอีมีการวางแผนจะไดประโยชนที่สุด สามารถที่จะลดตนทุนได และถามีการทำงานรวมกันเปนแบบ Supply chain จะทำใหลดตนทุนไดมากขึ้นอีก อยางไรก็ตาม เอสเอ็มอีจะตองมีแรงกระตุนจากลูกคารายใหญ อาทิ ในกลุมอุตสาหกรรมยานยนต จึงเปนหนาที่ของภาครัฐในการใหความรูกับเอสเอ็มอีไทย

กระตุนผูประกอบการไทยเสริมศักยภาพบุคลากร

ดร.กฤษฎ ฉันทจิรพร ที่ปรึกษาอาวุโส สมาคมไทยโลจิสติกส และการผลิต เลาวา e-logistics เปนการนำระบบ สารสนเทศมาเปนเคร่ืองมือเสริมศักยภาพ ของกระบวนการหลักของธุรกิจ ในเรื่องของการควบคุมการขนสง ปฎิบัติงาน การวางแผนการผลิต การวางแผนกำลังการผลิต การวางแผนลวงหนาของวัตถุไหลเขาไหลออกในมุมมองของโลจิสติกส เพื่อใหเกิดจุดขายใหมากขึ้นในหวงโซอุปทาน

อยางไรก็ตาม เพื่อรองรับการแขงขันการคาเสรีที่กำลังจะเกิดขึ้น ผูประกอบการควรจะเพิ่มศักยภาพของบุคลากรเพื่อใหมีทักษะในการทำงาน บริหารงานมากขึ้นเพื่อรองรับการแขงขันทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยผูประกอบการโลจิสติกสควรจะไดรับการรับรองดานวิชาชีพสูระดับสากล เพ่ือเปนแนวทางหน่ึงในการผลักดันผูประกอบการไทยพัฒนาตนเองสูศักยภาพระดับสากล ทำใหผูประกอบการมีการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ

ดังนั้นจึงเปนสิ่งยืนยันวา e-logistics ไมเพียงเปนการเพิ่มศักยภาพทางการแขงขันของประเทศ แตยังสงผลใหผูประกอบการสามารถที่จะเพิ่มศักยภาพในการทำธุรกิในภาพรวมดวย

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 7

COVER story

Page 8: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Goverment Facility

เตร�ยมบร�การ “e-Port”เพ��มศักยภาพการใหบร�การ

การทาเรือฯ มีหนาที่รับผิดชอบในการบริหารและประกอบการทาเรือที่สำคัญ2 แหงของประเทศไทย คือ ทาเรือกรุงเทพและทาเรือแหลมฉบัง นอกจากน้ียังรับหนาที่ในการบริหารทาเรือภูมิภาค ไดแก ทาเรือระนอง ทาเรือเชียงแสน และทาเรือเชียงของ เปนตน โดยไดมีการปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนาแนวทางการดำเนินงานมาตามลำดับ เพ่ือใหทันตอสภาวะแวดลอมท้ังภายในและภายนอกองคกร รวมถึงความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อลดตนทุน เพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ

“เดิมท่ีกระบวนการทำงานแบบไมบูรณาการกันงานสวนใหญยังใชระบบเอกสารและใชคนมาเดินเอกสาร ยังไมมีการเชื่อมโยงระบบใหเปนหนึ่งเดียว และไมไดมีการนำไอทีมาใช ทำใหผูประกอบการไดรับบริการที่ลาชา”

สมกลาววา จากแนวคิดนี้ การทาเรือฯ ก็พบวาถึงเวลาแลวที่จะตองนำไอทีมาเปนเครื่องมือชวยในการขับเคลื่อนการทำงานใหรวดเร็วขึ้น ซึ่งก็คือโครงการ “e-port” ซึ่งเปนการวางระบบและกระบวนการขนสงสินคาผานพิธีการของการทาเรือฯ เปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ตั้งแตขอมูลที่นำเขามาจากผูใหบริการขนสง หรือ Logistic Service Provider ผูที่เกี่ยวของกับการนำเขาและสงออกท้ังหมด อาทิ ไมวาจะตองสงเอกสาร ขอใชทาเรือ หรือใชตูสินคา รวมถึงขอมูลขนาดของเรือ อาทิ เรือลำนี้จะเขามาเมื่อใด เปนตน

“ขอมูลน้ีเปนประโยชนในการวางแผนจัดทาเทียบเรืออยางมากเพราะเราสามารถรูไดวาคนเขาตรงไหนอยางไร สามารถที่จะวางแผนในเรื่องพื้นที่ ลานตูเปลา จนกระทั่งเครื่องมือตางๆ กอใหเกิดประโยชน และเมื่อขอมูลเขามาเราสามารถกระจายไดท้ังหมด ฉะน้ัน ในคลังสามารถท่ีจะวางแผนในคลังได ทางลานสามารถที่จะเตรียมแตละจุดได ฉะนั้น ขอมูลการที่เรือหรือสินคาเขามาจะเกี่ยวของกับศุลกากร ก็จะมีการเชื่อมโยงขอมูลไปที่ศุลกากร หรือแมกระทั่งตรวจคนเขาเมือง หนวยงานราชการที่เกี่ยวของจะมีการเชื่อมโยงขอมูลของทาเรือและสวนราชการที่เกี่ยวของไดทั้งหมด ดังนั้น จะมีการตรวจสอบขอมูลระหวางกันจะมีการบูรณาการขอมูลที่เกิดขึ้น”

สมยังบอกวา “รถบรรทุกทุกคันที่วิ่งเขาออกทาเรือตองมามาลงทะเบียน และติดบัตร RFID และการลงทะเบียนจะเปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส หรืออีฟอรม(e-form) สามารถทำผานระบบอิเล็กทรอนิกสไดเลย ไมตองเดินทางมาที่การทาเรือฯ ซึ่งชวยลดตนทุนเรื่องการขนสง ในขณะที่กระบวนการนำเขาและสงออกจะเร็วขึ้น”

นอกจากนี้ยังมีระบบ Automatic Identification System เปนระบบบริหารจัดการจราจรทางเรือ เรือแตละลำเขามาจะตองบอกวาตัวเองนั้นอยูตรงไหน และจะไปไหนอยางไร โดยพิกัดที่บอกจะปรากฏบนแผนที่ซึ่งสามารถชวยปองกันการเกิดอุบัติเหตุ ในขณะที่บนฝงจะมีสถานีฐานที่สามารถรูวามีเรือกี่ลำที่อยูในรัศมี คือเตรียมที่จะเขามาเทียบทาแลวซึ่งทำใหสามารถที่จะบริหารงานและการบริหารเรือดวยลวงหนาอีกดวย

“ทุกอยางตอไปนี้ใชออนไลนหมด การนำระบบอินเทอรเน็ตมาใชเปนแนวคิดใหมท่ีจะใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเพ่ือเสริมการใหบริการงานทางดานโลจิสติกสมีศักยภาพมากขึ้น ฉะนั้น พนักงานภายในเองจะมีการเปลี่ยนวิถีการทำงานพอสมควร และจะตองใชเวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไมวาจะเปนผูที่มีสวนเกี่ยวของ”

การเปลี่ยนตรงนี้เพื่อกอใหเกิดประโยชนที่ใหญหลวง นั่นคือประโยชนตอหวงโซธุรกิจที่ตองเกี่ยวของกับการขนสงทางน้ำซึ่งการทาเรือฯ มีเปาหมายวาจะเปนสวนหนึ่งของการกาวไปสูบริการ National Single Windows (NSW) ของประเทศ ซ่ึงทาเรือเปนหนวยงานหน่ึงในระบบการเช่ือมโยง การทาเรือฯ ตองการท่ีจะเปนตนแบบท่ีดีในการเช่ือมตอกับหนวยงานของรัฐ ทำให National SingleWindows เกิดขึ้นอยางแทจริง

8 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

ปฏิเสธไมไดวา “โลจ�สติกส” เปนหัวใจหลักของธุรกิจนำเขาและสงออกซ�่งเปนธุรกิจหลักที่สรางรายไดคิดเปน 70-80 เปอรเซ�นตของระบบเศรษฐกิจของประเทศ ความสามารถในการแขงขัน รวมถึงตนทุนของการแขงขัน สำหรับธุรกิจนี้ข�้นอยูกับความสามารถและความพรอมทางดานโลจ�สติกสเปนสำคัญ ซ�่งการทาเร�อแหงประเทศไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญตรงนี้จ�งไดดำร�ใหเกิดโครงการ “e-Port” ข�้นมาเพ��อเปนตัวชวยหลักสำคัญใหกับผูประกอบการลดตนทุนการดำเนินการ และเพ��มประสิทธิภาพในการแขงขันกับตางประเทศ

สม จันสุทธิรางกูร นักบริหาร 15 ประจำผูอำนวยการ การทาเรือแหงประเทศไทย เลาวา โครงการ e-Port เกิดขึ้นจากความตองการที่จะชวยประเทศลดตนทุนดานโลจิสติกสตามนโยบายรัฐบาลที่ตองการลดตนทุนดานโลจิสติกส (Logistic) ซึ่งการทาเรือเปนขอตอขอตอหนึ่งในหวงโซอุปทานของทางดานการขนสง เนื่องจากวาการนำเขาสงออกมากกวา 90 เปอรเซ็นตอยูท่ีการขนสงทางน้ำ การทาเรือฯ พยายามสรางระบบเพื่ออำนวยความสะดวกทำใหเกิดการขนสงนำเขาและออกใหเร็วที่สุด เพราะความเร็วของการจัดการพิธีการขนสงทางเรือมีผลตอตนทุนคาเชาคลังสินคา (Inventory) ของผูประกอบการก็จะเพิ่มสูงตามดวย

“ประเทศไทยยังมีตนทุนอยูที่ 19 เปอรเซ็นตของรายไดมวลประชาชาติ (จีดีพี) เมื่อจีดีพีของประเทศขึ้นอยูกับธุรกิจนำเขาและสงออกเปนตัวที่อันตรายพอสมควร ผูนำเขาสงออกแขงขันไมได มีผลตอผูบริโภค สินคา ภาษีนอยลง”

หากมองภาพโดยรวมแลวการจัดการทางดานโลจิสติกส ก็คือ การบริหารกระบวนการไหล(Flow) ของสินคาหรือวัตถุดิบจากจุดเร่ิมตนไปยังจุดท่ีมีการใชสินคาหรือวัตถุดิบน้ันท้ังข้ันตอนของการเตรียมวัตถุดิบ การเก็บสินคาคงคลัง ซ่ึงกิจกรรมตางๆ ลวนเก่ียวของและสงผลตอการเพิ่มของกำไร จากความสามารถในการลดตนทุน และเพิ่มระดับการใหบริการเพื่อเพิ่มความพึงพอใจใหกับผูบริโภค ทั้งนี้ โลจิสติกสประกอบดวยสวนประกอบ 3 สวนหลักที่เปนปจจัยหรือกิจกรรมที่กอใหเกิดปจจัยตนทุนรวมของโลจิสติกสมากท่ีสุด 3 กิจกรรม ไดแก การจัดซ้ือ (Purchasing) คลังสินคา (Inventory)และการขนสง (Transportation) และโลจิสติกสเปนสวนหนึ่งของหวงโซทางธุรกิจ (Supply Chain)

จากแนวคิดและความพยายามของหนวยงานตางๆ ในการพัฒนาการเชื่อมโยงระบบเครือขายโลจิสติกสในปจจุบันใหสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับอุตสาหกรรมโดยรวมของประเทศ การทาเรือแหงประเทศไทยในฐานะท่ีเปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจที่มีศักยภาพ มีความพรอม และมีธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการขนสงและคลังสินคา เปนตน จึงมีแนวโนมที่จะสามารถใหการสนับสนุนการพัฒนาเครือขายโลจิสติกสไดเปนอยางดี พันธกิจของการทาเรือฯคือจะตองนำเขาและสงออกเร็วท่ีสุดเพื่อที่จะลดตนทุนไมตองมาพักคอยท่ีคลังสินคา เพราะไมไดสรางมูลคาใหกับสินคา

Page 9: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 9

ระบบศุลกากรไรเอกสารถือเปนกาวสำคัญของการพัฒนาระบบและการใหบริการของภาครัฐ ซึ่งกรมศุลกากรถือเปนผูนำทั้งในประเทศ และในภูมิภาคอาเซียน ในการนำเทคโนโลยีอันทันสมัยเขามาใชเพื่อปรับปรุงการใหบริการไดรวดเร็ว ถูกตอง โปรงใส มากที่สุด

และลาสุด กรมศุลกากรในฐานะเจาภาพในการพัฒนาระบบ National Single Windows ของประเทศ ไดจัดทำรางแผนปฏิบัติการ (National Action Plan) พ.ศ. 2554-2558 การพัฒนาระบบ National Single Windows ของประเทศสำหรับการนำเขา การสงออก และโลจิสติกสรองรับการเชื่อมโยงขอมูลระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ทั้งนี้ ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนสงสินคาและบริการของประเทศ (กบส.) โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน ซึ่งหนวยงานนี้เปนหนวยงานถาวรที่จะมาดูแลเรื่องการพัฒนา National Single Windows ของประเทศ

โดยในรางแผนปฏิบัติการฯ ประกอบดวย 5 กลยุทธ 17 กลยุทธ ไดแก 1) ยุทธศาสตรการพัฒนาบุคลากร และขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการเพ่ือกำกับการพัฒนาบริการเช่ือมโยงขอมูลหนวยงานภาครัฐและภาคธุรกิจแบบบูรณาการใหบรรลุตามนโยบายของรัฐบาลและความตกลงระหวางประเทศ2) ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางดาน ICT อาทิ หองทดลองปฏิบัติการ และระบบการเชื่อมโยงขอมูลแบบบูรณาการและไรเอกสาร 3) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบริการแบบบูรณาการและเปนสากล เพื่ออำนวยความสะดวกและเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันทางดานการคาระหวางประเทศ 4) ยุทธศาสตรการพัฒนากฎระเบียบรองรับการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อรองรับการเชื่อมโยงขอมูลหนวยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ และการเชื่อมโยงขอมูลระหวางประเทศ และ 5) ยุทธศาสตรพัฒนาการความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศในภูมิภาคอื่นๆ เพื่อยกระดับความรูและอำนวยความสะดวกการคลื่อนยายสินคาระหวางประเทศ ทั้งนี้แผนฯ ดังกลาวมีเปาหมายวาจะตองผลักดันใหตนทุนดานโลจิสติกสของประเทศไทยลดลงปละ 80,000-100,000 ลานบาทตอป ภายในอีก 5 ปขางหนา

อยางไรก็ดี ในสวนของผูประกอบการจึงจำเปนจะตองเตรียมความพรอม ในการเขาสู และใชระบบศุลกากรไรเอกสารนี้ เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาขึ้นในอนาคต ดวยเหตุผลที่วา ตอไประบบนี้จะไมมีการใชกระดาษ ทุกอยางจะคุยกันดวยอิเล็กทรอนิกสทั้งหมด สิ่งที่จะหลีกเลี่ยงไมไดก็คือ “ความถูกตอง” ที่ตองมาพรอมกับ “ความรวดเร็ว” ที่ธุรกิจตางแขงขันกันอยางมากในปจจุบัน

“กรมศุลกากร”: หนวยงานหลักขับเคลื่อน

การแขงขันดานโลจ�สติกสของไทย

คงปฏิเสธไมไดวา “พ�ธีการศุลกากร” หร�อ หนาดาน (Gateway) สำคัญในหวงโซของระบบการขนสงสินคาสำหรับผูประกอบการทั�งนำเขาและสงออก รวมถึงธุรกิจอื่นที่ไมไดดำเนินธุรกิจนำเขา-สงออกแตตองอาศัยวัตถุดิบจากตางประเทศ และระบบพ�ธีการศุลกากรของกรมศุลกากรท่ีมีประสิทธิภาพยอมชวยเกื้อหนุนใหธุรกิจตางๆ ดำเนินไปอยางสะดวกและราบร�่น

กอนหนาที่กรมศุลกากรจะเริ่มปฏิวัติบริการพิธีการศุลกากรจากกระดาษมาสูระบบอิเล็กทรอนิกสนั้น ธุรกิจตางตองเผชิญปญหาเรื่องความลาชาในขั้นตอนของพิธีการศุลกากรจนสงผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจ แตตั้งแตป 2549 เมื่อกรมศุลกากรเริ่มพัฒนาระบบงานพิธีการศุลกากรไรกระดาษ (Paperless Customs System) และพัฒนาเรื่อยมาจนสามารถใหบริการไดเต็มรูปแบบในปที่ผานมา ระบบพิธีการศุลกากรของไทยจึงเปนที่ยอมรับในเรื่องของประสิทธิภาพและความรวดเร็วของการบริการ

ทั้งนี้ ระบบพิธีการศุลกากรไรกระดาษนี้ ครอบคลุมทุกขั้นตอนของพิธีการศุลกากร ตั้งแตการผานพิธีการศุลกากรสงออก (e-Export) การผานพิธีการศุลกากรขาเขามาในราชอาณาจักร (e-Import) กรมศุลกากรไดนำระบบ e-Customs มาใชในการควบคุมการนำเขาและสงออกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานศุลกากรใหเปน Best Practice ตามมาตรฐานสากล และเพื่ออำนวยความสะดวกใหกับการคาระหวางประเทศ ซึ่งระบบดังกลาวถูกเชื่อมเขากับระบบการอนุญาตแบบอิเล็กทรอนิกส e-licensing หรือการรับรองแบบอิเล็กทรอนิกส e-Certificate

ผูประกอบการสามารถยื่นคำขอผานระบบคอมพิวเตอรที่เรียกวาพิธีการ ไดที่ “หนาตางเดียว” การใหบริการหนาตางเดียว (Single Window) ซึ่งถือเปนสุดยอดของระบบ One Stop Service ที่นอกจากจะทำใหเกิดความสะดวกรวดเร็วแลวยังเปนการประหยัดทรัพยากรและเวลา รวมถึงขจัดปญหาของการติดตอระหวางคนดวยกัน รวมทั้งลดตนทุนใหกับผูประกอบการเพื่อใหรองรับระบบการคาไรเอกสาร (Paperless Trading) บริการแบบเบ็ดเสร็จจากจุดเดียวอำนวยความสะดวกใหกับผูประกอบการท่ีจะตองผานพิธีการศุลกากรไดอยางมาก

ผูประกอบการสามารถดำเนินการผานระบบอิเล็กทรอนิกสไดตั้งแตตน คือ ตั้งแตเขามาขอแบบฟอรมคำขอกลาง (Central e-Forms) จนจายเงินคาภาษีศุลกากร ซึ่งสามารถชวยลดปริมาณงานที่ซ้ำซอน ลดการใสขอมูลซ้ำ (Re-key) ซ่ึงชวยลดความผิดพลาด ท้ังยังลดเวลาการเดินทาง เพราะผูประกอบการสามารถใชบริการไดทั่วไทยผานหนาจออินเทอรเน็ตเนื่องจากระบบพิธีการศุลกากรไรกระดาษนี้ทำงานอยูบนโครงสรางของ Web-Based Application

Goverment Facility

Page 10: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Software Company

“ไอซ โซลูชั่น”ซอฟตแวรโลจิสติกสสัญชาติไทย...อีกหนึ่งตัวชวยเอสเอ็มอี

“ในทุกธุรกิจไมวาจะเปนธุรกิจประเภทใด จะตองมี “ขาเขา” ของสินคาหรือวัตถุดิบ และ “ขาออก” ของสินคาที่ตองการขายใหกับลูกคา ระบบ iSFA เขามาชวยธุรกิจในการบริหารซัพพลายเชนระหวางสินคา “ขาเขา” และสินคา “ขาออก” อยางมีประสิทธิภาพใหกับธุรกิจ”

ดนุพล อธิบายวา ระบบ iSFA เขามาชวยตั้งแต การวิเคราะหความตองการสินคา การวางแผนการสั่งซื้อและการวางแผนการผลิตสินคา ซึ่งที่ผานมาหากไมมีระบบซอฟตแวรชวย บริษัทมักประสบปญหาคือ จะไมสามารถวางแผนไดถูกตองแมนยำ ทำใหบางครั้งสั่งสินคาหรือวัตถุดิบเขามาเกิน สงผลใหสต็อกบวม สิ้นเปลืองคาใชจายในการจัดเก็บสินคา ซึ่งระบบ iSFA เขามาเก็บขอมูลปริมาณการขายและสินคาคงคลังเพื่อชวยคำนวณความตองการในการสั่งซื้อสินคา

จากนั้นระบบ iSFA ยังชวยในการบริหารการขาย เพื่อชวยใหพนักงานขายมีขอมูลและเคร่ืองมือในการปดการขายท่ีกระชับฉับไว เพราะระบบจะจัดเก็บฐานขอมูลสินคาท้ังหมดของบริษัทและจัดเรียงและแบงประเภทของสินคา อาทิ สินคาใหม สินคาขายดี สินคามีโปรโมชั่น สินคาที่ตองการระบายสต็อก หรือสินคาที่ขาดสต็อก เปนตน

“ประโยชนที่ลูกคาจะไดรับจากระบบ iSFA คือ ความถูกตองของขอมูลสินคาทั้งหมด สินคาในคลังจะมีความครบถวน สมบูรณ ลดขนาดของคลังสินคาลงใหพอดีกับความสามารถในการขาย ซ่ึงท้ังหมดเราออกแบบมาเพ่ือตอบทุกโจทยความตองการระบบงานดานโลจิสติกส โดยลูกคาไมตองลงทุนพัฒนาระบบเอง” ดนุพล กลาววา ลูกคาหลักของบริษัทคือ ธุรกิจซ้ือมาขายไป (Trader) และผูผลิตสินคา (Manufacturer) สวนมากลูกคาเปนบริษัทขนาดใหญในอุตสาหกรรมอาหาร ยา และเครื ่องสำอาง อาทิ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน), บริษัท ไฟเซอร (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท แอนนิมอล เฮลท เทค จำกัด รานขายปลีกสินคาทางเภสัชกรรม เวชภัณฑ และสินคาทางการแพทย จำหนายเวชภัณฑเกี่ยวกับสัตวทุกชนิด เปนตน ในอนาคตอันใกลนี้บริษัทมีแผนที่จะใหบริการระบบ iSFA แกลูกคาขนาดกลางและขนาดยอมผานรูปแบบ “เชาใชซอฟตแวร” หรือ SaaS (Software as a Service) เพื่อเปดโอกาสใหเอสเอ็มอีไดใชซอฟตแวรโลจิสติกสมาเพิ่มประสิทธิภาพในการทำธุรกิจดวยตนทุนที่สามารถจายได

ระบบบร�หารทีมขายอัตโนมัติ (iSFA) ของไอซ โซลูชั่น ไดรับรางวัลชนะเลิศในประเภท e-Logistics and Supply Chain จากการประกวดผลงานซอฟตแวรดีเดนแหงชาติ (Thailand ICT Awards 2010)

ความทาทายของการทำธุรกิจ ไมวาจะเปนธุรกิจซ�้อมาขายไป (Trading) หร�อธุรกิจการผลิตสินคา (Manufacturing) คือการบร�หารระบบโลจ�สติกส (Logistic) ซ�ง่เปนระบบหลังบานสำคัญที่มีผลตอความสำเร็จของธุรกิจนั้นๆ ใหมีประสิทธ�ภาพสูงสุด และคงปฏิเสธไมไดวา “ระบบไอทีและซอฟตแวร” คือ ปจจัยสำคัญที่จะชวยใหการบร�หารระบบโลจ�สติกสเปนไปอยางมีประสิทธ�ภาพ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หร�อเอสเอ็มอี(SME: Small and Medium Enterprise) ที่มีความตองการใชงานระบบซอฟตแวรดานโลจ�สติกส ณ ปจจ�บัน มีทางเลือกเพ่ิมมากข�น้จากการใหบร�การของบร�ษัทผูพัฒนาซอฟตแวรของไทยที่มีความสามารถในการพัฒนาระบบซอฟตแวรโลจ�สติกสที่มีประสิทธ�ภาพจนเปนที่ยอมรับของบร�ษัทขามชาติอยาง “ไอซ โซลูชั่น” (Ice Solution) ดนุพล สยามวาลา กรรมการผูจัดการ บริษัท ไอซ โซลูชั่น จำกัด กลาววา บริษัทเห็นความสำคัญของการพัฒนา ระบบโลจิสติกสของประเทศไทยเพื่อ ใหมีประสิทธิภาพ เพื ่อเพิ ่มความ สามารถในการแขงขันใหกับธุรกิจไทย เพราะที่ผานมาตนทุนดานโลจิสติกส ของผูประกอบการไทยอยูในอัตราที่คอนขางสูง เหตุเพราะขาดตัวชวยหลักที่สำคัญซึ่งก็คือ ระบบไอทีและซอฟตแวร ดังนั้น บริษัทจึงไดพัฒนาซอฟตแวรดานโลจิสติกส ที่ชื่อวา ระบบบริหารทีมขายอัตโนมัติ (iSFA) เพ่ือมาชวยเปน “โซขอกลาง” ระหวางระบบงาน “ขาเขา” และ “ขาออก” ในหวงโซของธุรกิจ

10 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

Page 11: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 11

จากคลังสินคา โดยการบันทึกขอมูลดังกลาวและจัดทำรายงานสงกรมศุลกากรพรอมเชื่อมโอนขอมูลเขากับระบบจัดการและควบคุมกิจกรรมตางๆ ของผูประกอบการคลังสินคาในเขตปลอดอากร-ระบบอิเล็กทรอนิกสออนไลน (FZMS PORTAL) และบริการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงทางอิเล็กทรอนิกสที่สามารถรายงานขอมูลอิเล็กทรอนิกสไปยังระบบของกรมศุลกากร และเปนระบบจัดการดานโลจิสติกส (Logistics Support) เพื่อควบคุมกิจกรรมตางๆท่ีเกิดข้ึนในเขตปลอดอากรฯ ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิและสนามบินนานาชาติที่อยูในสวนภูมิภาค โดยเน็ตเบยไดเริ่มพัฒนาระบบบริหารจัดการความเคล่ือนไหวของสินคาและกิจกรรมตางๆ ในเขตปลอดอากรท่ีเขตปลอดอากรฯณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิกอน โดยระบบดังกลาวสามารถนำประยุกตใชกับการบริหารควบคุมกิจกรรมตางๆ ในพื้นที่เขตปลอดอากรอื่นๆ ไดอยางโปรงใสมีประสิทธิภาพ

“ระบบบริหารจัดการเขตปลอดอากรชวยรายงานความเคลื่อนไหวของWarehouse กับสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน Terminal operator โดยความเคลื่อนไหวจะรายงานผานระบบไปยังศูนยกลางเพื่อใหเจาหนาที่สามารถตรวจสอบและจัดการควบคุมสถานะของสินคาไดแบบ Real time ท้ังน้ี เปนการลดข้ันตอนการทำงาน ลดจำนวนกระดาษ สามารถจัดทำรายงานไดตรงตามรูปแบบและวัตถุประสงคของกรมศุลกากร สามารถออกรายงานความเคลื่อนไหวทั้งขาเขา (Inbound) และขาออก (Outbound) ของสินคาไดสามารถพัฒนาตอยอดการสงขอมูลผาน Gateway เพื่อสงตอขอมูลไปยังกรมศุลกากรหรือหนวยงานอื่นไดเมื่อมีการเชื่อมตอระบบเพี่อใชขอมูลที่เกี่ยวของกับหนวยงานนั้นๆ ไดทันที”

นอกจากระบบการชำระคาภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกสแลว เน็ตเบยยังใหบริการระบบรายงานยานพาหนะเขา-ออกแบบไรเอกสาร หรือที่เรียกวาe-Manifest (Paperless) โดยบริการใหกับผูประกอบการท่ีเปนสายเรือตัวแทนหรือเจาของตูคอนเทนเนอร จะตองทำการสงขอมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสไปยังกรมศุลกากรและการทาเรือแหงประเทศไทย และบริการสุดทายท่ีสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ไดแก บริการ Customs e-Payment คือ รูปแบบการใหบริการระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศเกี่ยวกับการรับ-สงขอมูลอิเล็กทรอนิกสระหวางบุคคลภายนอกกับกรมศุลกากร โดยธนาคารท่ีไดรับมอบหมายจากกรมศุลกากรใหเปนตัวแทนรับชำระเงินคาภาษี อากรศุลกากร และ/หรือวางประกันคาภาษีอากรศุลกากรใหแกกรมศุลกากรจากผูนำเขา ผูสงออกหรือตัวแทนออกของกรมศุลกากร ซึ่งไดขึ้นทะเบียนขอชำระคาภาษีอากรศุลกากรและ/หรือ วางประกันคาภาษีอากรศุลกากรผานทางอิเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสารไวกับกรมศุลกากร

โดยธนาคารจะตองแจงขอมูลเกี่ยวกับการรับชำระเงินจากบุคคลดังกลาวใหแกกรมศุลกากรทราบ รวมทั้งรับ-สงขอมูลอื่นใดที่เกี่ยวของกับกรมศุลกากรเพื่อใหธนาคาร และกรมศุลกากรสามารถรับ-สงขอมูลระหวางกันได โดยเน็ตเบยใหบริการการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอรของธนาคารกับระบบคอมพิวเตอรของบริษัทฯ เพื่อใหธนาคารและกรมศุลกากรสามารถรับ-สงขอมูลระหวางกันไดธนาคารที่พรอมใหบริการเชื่อมโยงการรับ-สงขอมูลe-Payment ระหวางกรมศุลกากรและบริษัท เน็ตเบย จำกัด 9 แหง ไดแกธนาคารกรุงไทย, ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย, ธนาคารซิต้ีแบงก, ธนาคารซูมิโตโมมิตซุย แบงกิ้ง คอรปอเรชั่น, ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารกรุงเทพ, ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, ธนาคารดอยซ แบงก และธนาคารไทยพาณิชย

e-LogisticsGateway ผูใหบร�การซอฟตแวรและโซลูชั�นดานโลจ�สติกสครบวงจรคงปฏิเสธไมไดวาปจจัยแหงความสำเร็จประการหน่ึงของการผลักดันใหระบบขนสงสินคาหรือโลจิสติกสของไทยใหมีความสามารถในการแขงขันในเวทีโลกไดน้ัน บริษัทผูใหบริการซอฟตแวรและโซลูช่ันดานโลจิสติกส นับวามีสวนสำคัญ หากพูดถึงผูใหบริการซอฟตแวรและโซลูชั่นดานโลจิสติกสในเมืองไทย แนนอนวาชื่อของ “เน็ตเบย” (NETbay) จะถูกเอยถึงเปนอันดับตนๆ เสมอ

“เน็ตเบย” เปนบริษัทผูใหบริการโซลูช่ันดานโลจิสติกสสัญชาติไทย ท่ีเกิดจากการรวมทุนระหวางบริษัท อินเทอรเน็ต ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ไอเน็ต (INET) ผูใหบริการอินเทอรเน็ตรายแรกของประเทศไทยกับ บริษัท ซอฟทแวรลิงค จำกัด

พิชิต วิวัฒนรุจิราพงศ กรรมการผูจัดการ บริษัท เน็ตเบย จำกัด กลาววา บริษัท เน็ตเบย จำกัด เปนผูใหบริการ e-Logistics Gateway ท่ีมีความชำนาญมากวา 10 ป และไดรับความเช่ือม่ัน ดานการใชบริการจากบริษัทชั้นนำทั้งในและตางประเทศกวา 300 ราย ซ่ึงปจจุบันการผานพิธีการศุลกากรสามารถกระทำได โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสแบบไรเอกสาร (Paperless) ในระบบการนำเขา (e-Import) และระบบการสงออก (e-Export) โดยสงขอมูลใบขนสินคาในรูปแบบ ebXML พรอมลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (Digital Signature) ของเจาของลายมือชื่อผานเน็ตเบยซึ่งเปนสื่อกลางผูใหบริการรับสงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (ValueAdded Network Services: VANS) เขาสูระบบคอมพิวเตอรของศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกสตามมาตรฐานท่ีศุลกากรกำหนด (ebXML/XML Format) แทนการจัดทำ ย่ืน สงรับเอกสารและการลงลายมือชื่อในกระดาษ

ดังน้ัน บริษัทจึงไดพัฒนาโปรแกรมทำใบขนสินคาฯ Shipping Express Paperless ebXMLตามขอกำหนดของกรมศุลกากรรองรับทั้งระบบการนำเขา (e-Import) และระบบการสงออก (e-Export) โดยโปรแกรมสามารถตอบสนองความตองการของผูใชงาน โดยมีรูปแบบการใชงานท่ีงายไมซับซอน และครอบคลุมการทำใบขนฯ ทุกประเภท ดวยทีมงานที่มุงมั่นพัฒนาอยางไรขีดจำกัด และประสิทธิภาพของโปรแกรมที่สูงขึ้น นำมาซึ่งระบบที่ดีที่สุดสำหรับองคกรของทานอยางตอเนื่อง

นอกจากนี้ บริษัทยังใหบริการระบบที่เกี่ยวของและเชื่อมโยงกับ e-Customs Paperlessไดแก การชำระคาภาษีอากรทางอิเล็กทรอนิกส (e-Customs Payment) การสงขอมูลใบกำกับการขนยายสินคา (Goods Control List) สำหรับระบบการสงออก ระบบการสงออกของเรงดวน (e-Express)

“กลุมลูกคาเปาหมายของเราคือ บริษัทตัวแทนออกของ/บริษัทชิปปง บริษัทผูนำเขา/สงออก บริษัท Freight Forwarder และผูใหบริการคียใบขนฯ (Service Counter)เน็ตเบยเปนผูใหบริการรายที่ 3 ของตลาด ความจริงเรามีธุรกิจหลายสาขา อาทิe-Customs Paperless ธุรกรรม e-Payment และ e-Licensing เปนตน ท้ังน้ี รายไดหลักของบริษัทมาจากซอฟตแวรดานโลจิสติกส สวนซอฟตแวรดาน e-Customs และe-Payment ก็ถือเปนธุรกิจที่ทำใหลูกคาจำนวนมากรูจักเน็ตเบย”

นอกจากนี้ เน็ตเบยยังมีบริการดานซอฟตแวรและโซลูชั่นเกี่ยวเนื่องกับโลจิสติกส ไดแกระบบ Warehouse Management System (WMS) ซึ่งการบริหารจัดการคลังสินคานั้นเปนสวนสำคัญในระบบ Logistics ทั้งนี้ เพราะหากมีการจัดระบบคลังสินคาที่ดีแลวจะสามารถลดตนทุนแรงงาน เพิ่มศักยภาพแกผูประกอบการในภาวะที่มีการแขงขันสูงในปจจุบัน ซึ่งระบบบริหารจัดการคลังสินคาที่รองรับกิจกรรมการนำสินคาเขาและออก

Software Company

Page 12: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

การทาเรือฯ มีหนาที่รับผิดชอบในการบริหารและประกอบการทาเรือที่สำคัญ2 แหงของประเทศไทย คือ ทาเรือกรุงเทพและทาเรือแหลมฉบัง นอกจากน้ียังรับหนาที่ในการบริหารทาเรือภูมิภาค ไดแก ทาเรือระนอง ทาเรือเชียงแสน และทาเรือเชียงของ เปนตน โดยไดมีการปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนาแนวทางการดำเนินงานมาตามลำดับ เพ่ือใหทันตอสภาวะแวดลอมท้ังภายในและภายนอกองคกร รวมถึงความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อลดตนทุน เพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ

“เดิมท่ีกระบวนการทำงานแบบไมบูรณาการกันงานสวนใหญยังใชระบบเอกสารและใชคนมาเดินเอกสาร ยังไมมีการเชื่อมโยงระบบใหเปนหนึ่งเดียว และไมไดมีการนำไอทีมาใช ทำใหผูประกอบการไดรับบริการที่ลาชา”

สมกลาววา จากแนวคิดนี้ การทาเรือฯ ก็พบวาถึงเวลาแลวที่จะตองนำไอทีมาเปนเครื่องมือชวยในการขับเคลื่อนการทำงานใหรวดเร็วขึ้น ซึ่งก็คือโครงการ “e-port” ซึ่งเปนการวางระบบและกระบวนการขนสงสินคาผานพิธีการของการทาเรือฯ เปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ตั้งแตขอมูลที่นำเขามาจากผูใหบริการขนสง หรือ Logistic Service Provider ผูที่เกี่ยวของกับการนำเขาและสงออกท้ังหมด อาทิ ไมวาจะตองสงเอกสาร ขอใชทาเรือ หรือใชตูสินคา รวมถึงขอมูลขนาดของเรือ อาทิ เรือลำนี้จะเขามาเมื่อใด เปนตน

“ขอมูลน้ีเปนประโยชนในการวางแผนจัดทาเทียบเรืออยางมากเพราะเราสามารถรูไดวาคนเขาตรงไหนอยางไร สามารถที่จะวางแผนในเรื่องพื้นที่ ลานตูเปลา จนกระทั่งเครื่องมือตางๆ กอใหเกิดประโยชน และเมื่อขอมูลเขามาเราสามารถกระจายไดท้ังหมด ฉะน้ัน ในคลังสามารถท่ีจะวางแผนในคลังได ทางลานสามารถที่จะเตรียมแตละจุดได ฉะนั้น ขอมูลการที่เรือหรือสินคาเขามาจะเกี่ยวของกับศุลกากร ก็จะมีการเชื่อมโยงขอมูลไปที่ศุลกากร หรือแมกระทั่งตรวจคนเขาเมือง หนวยงานราชการที่เกี่ยวของจะมีการเชื่อมโยงขอมูลของทาเรือและสวนราชการที่เกี่ยวของไดทั้งหมด ดังนั้น จะมีการตรวจสอบขอมูลระหวางกันจะมีการบูรณาการขอมูลที่เกิดขึ้น”

สมยังบอกวา “รถบรรทุกทุกคันที่วิ่งเขาออกทาเรือตองมามาลงทะเบียน และติดบัตร RFID และการลงทะเบียนจะเปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส หรืออีฟอรม(e-form) สามารถทำผานระบบอิเล็กทรอนิกสไดเลย ไมตองเดินทางมาที่การทาเรือฯ ซึ่งชวยลดตนทุนเรื่องการขนสง ในขณะที่กระบวนการนำเขาและสงออกจะเร็วขึ้น”

นอกจากนี้ยังมีระบบ Automatic Identification System เปนระบบบริหารจัดการจราจรทางเรือ เรือแตละลำเขามาจะตองบอกวาตัวเองนั้นอยูตรงไหน และจะไปไหนอยางไร โดยพิกัดที่บอกจะปรากฏบนแผนที่ซึ่งสามารถชวยปองกันการเกิดอุบัติเหตุ ในขณะที่บนฝงจะมีสถานีฐานที่สามารถรูวามีเรือกี่ลำที่อยูในรัศมี คือเตรียมที่จะเขามาเทียบทาแลวซึ่งทำใหสามารถที่จะบริหารงานและการบริหารเรือดวยลวงหนาอีกดวย

“ทุกอยางตอไปนี้ใชออนไลนหมด การนำระบบอินเทอรเน็ตมาใชเปนแนวคิดใหมท่ีจะใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเพ่ือเสริมการใหบริการงานทางดานโลจิสติกสมีศักยภาพมากขึ้น ฉะนั้น พนักงานภายในเองจะมีการเปลี่ยนวิถีการทำงานพอสมควร และจะตองใชเวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไมวาจะเปนผูที่มีสวนเกี่ยวของ”

การเปลี่ยนตรงนี้เพื่อกอใหเกิดประโยชนที่ใหญหลวง นั่นคือประโยชนตอหวงโซธุรกิจที่ตองเกี่ยวของกับการขนสงทางน้ำซึ่งการทาเรือฯ มีเปาหมายวาจะเปนสวนหนึ่งของการกาวไปสูบริการ National Single Windows (NSW) ของประเทศ ซ่ึงทาเรือเปนหนวยงานหน่ึงในระบบการเช่ือมโยง การทาเรือฯ ตองการท่ีจะเปนตนแบบท่ีดีในการเช่ือมตอกับหนวยงานของรัฐ ทำให National SingleWindows เกิดขึ้นอยางแทจริง

วรวุฒิ อุนใจ กรรมการผูจัดการวัยสี่สิบ เศษๆ ผูบุกเบิก “ออฟฟศเมท” มากับ มือจนสามารถนำพาบริษัทเขาจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเม่ือ กลางปท่ีผานมา กลาววา หัวใจสำคัญ ของธุรกิจขายเครื ่องใชสำนักงานออนไลนแบบไมมีหนารานของ “ออฟฟศเมท” คือการบริหารสินคาคงคลังและบริหารเสนทางการจัดสงสินคาตามคำสั่งซื้อที่มีเขามาไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ง “เทคโนโลยีสารสนเทศ” (IT: Information Technology) เปนตัวชวยที่สำคัญมาโดยตลอด

บริษัทเร่ิมนำระบบไอที และเร่ิมพัฒนาระบบซอฟตแวรฐานขอมูล และระบบซอฟตแวรดานโลจิสติกสของตัวเองมาต้ังแตสิบปท่ีแลว โดยเริ่มตนพัฒนาและใชงานเพียงไมกี่โมดูล (Module) จากนั้นก็มีการขยายการใชงานจนครบทุกโมดูลอยางในปจจุบัน ไดแก ระบบการจัดซื้อ (Procurement System) ระบบการจัดการคลังสินคา (Stock Management) และระบบกระจายสินคา (DeliverySystem)

วรวุฒิ เลาวา ดวยธุรกิจที่มีหนารานบนอินเทอรเน็ตและบนหนากระดาษแค็ตตาล็อก ทำใหความทาทายของธุรกิจ คือ การบริหารคลังสินคาและการจัดสงใหสินคาถึงมือลูกคาไดถูกตองครบถวนในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งบริษัทตองการตัวชวยในเรื่องของการบริหารสินคาคงในคลังกับการบริหารระบบจัดสงสินคา และไอทีคือคำตอบ

Solution Provider

“ระบบโลจ�สติกส”หัวใจความสำเร�จของ

หากคิดถึง “เคร่ืองใชสำนักงาน” เช่ือแนวาหลายคนคงจะคิดถึง “ออฟฟศเมท” ผูขายสินคาเครื่องใชสำนักงานที่สงตรงถึงบริษัท หรือบานคุณดวยสโลแกนการตลาดการันตีคุณภาพวา “สงถึงคุณในวันถัดไป” (สำหรับ 10 จังหวัดรอบกรุงเทพฯ) อยางแนนอน

แมวาจะมีสินคาที ่อยู ในคลังกวา 20,000 รายการ จากซัพพลายเออรกวา 400 ราย และตองจัดสงใหกับฐานลูกคาท่ีมีอยูราว 100,000 ราย โดยเปนลูกคาองคกร 80,000 รายและลูกคาทั่วไป 20,000 ราย แต “ออฟฟศเมท” ก็สามารถจัดสงสินคาที่มีความหลากหลายตามใบสั่งซื้อที่เขามา เฉลี่ยประมาณวันละ 1,500 ใบสั่งซื้อตอวัน ไดอยางถูกตองแมนยำ ครบถวน และตรงเวลา คุณภาพการบริการเชนนี้เปนจุดเดนที่แมจะมีผูขายสินคาประเภทเดียวกันแตไมสามารถชิงตำแหนงเจาตลาดการขายเครื่องใชสำนักงานออนไลนแบบไมมีหนารานของ “ออฟฟศเมท” ไปได

บริษัทตัดสินใจลงมือพัฒนาระบบซอฟตแวรเองตามความตองการใชงานเฉพาะของตนเอง ดวยโปรแกรมเมอร 40 คน ทุกวันน้ีบริษัทมีระบบไอทีเปนแกนหลักสำคัญในการทำใหกระบวนการทำงานของบริษัทไหลลื่นตอเนื่องแบบอัตโนมัติ เริ่มตั้งแต ระบบการจัดซื้อ ระบบจะตรวจสอบดูวาในคลังสินคา สินคาใดลดนอยลงจนถึงขีดที่ตองสั่งสินคาเขามาสต็อกเพิ่มบาง ทั้งนี้ บริษัทกำหนดใหคลังสินคาขนาด 7,200 ตารางเมตร ตองสต็อกสินคาไดไมเกิน 30 วันขาย ทำใหระบบตองคำนวณขนาดพ้ืนท่ี ประเภทสินคา และปริมาณการขายเพ่ือใชในการส่ังซ้ือสินคาจากซัพพลายเออรเขามาเก็บไวที่สต็อก

จากนั้นบริษัทก็มีระบบการบริหารจัดการคลังสินคา ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบการขายสินคาของบริษัท นั่นคือ ทุกครั้งที่มีการขายเกิดขึ้น ณ หนารานออนไลน หรือบนแค็ตตาล็อก รายละเอียดคำส่ังซ้ือจะเขามาตัดสต็อกเองอัตโนมัติ ทำใหระบบสินคาคงคลังของบริษัทมีความเปนปจจุบันสูงมาก

นอกจากนี้ บริษัทยังเก็บขอมูลรายงานการขายเพื่อวิเคราะหประเภทสินคาขายดี หรือสินคาท่ีมีการหมุนเวียนเร็ว เพ่ือออกแบบการจัดวางสินคาภายในคลังสินคา เพ่ือใหการเคลื่อนยายสินคาเปนไปดวยความสะดวกและรวดเร็ว สิ้นเปลืองพลังงานนอยท่ีสุด อาทิ สินคาท่ีมีการหมุนเวียนเร็วจะอยูใกลกวาสินคาท่ีหมุนเวียนชา เปนตน

ระบบตอมาคือระบบการจัดสงสินคา ในสวนน้ีบริษัทมีการติดอุปกรณ GPS (GlobalPositioning System) ไวท่ีรถขนสงสินคาท้ัง 65-70 คัน ท่ีตองว่ิงสงสินคาในแตละวันโดยรถแตละคันมีภารกิจตองสงสินคาโดยเฉล่ียคันละ 35 จุดตอวัน โดยรถแตละคันขนสงสินคาท่ีมีมูลคาโดยเฉล่ียประมาณ 90,000-100,000 บาทตอวัน ดังน้ัน การติด อุปกรณ GPS ในรถทุกคัน นอกจากจะชวยเรื่องของความปลอดภัยของสินคาแลวยังชวยเร่ืองการทำ Real Time Tracking เพ่ือตรวจสอบไดตลอดเวลาวารถแตละคันวิ่งอยูเสนทางใดและอยู ณ จุดใดบาง นอกจากนี้ ระบบยังเก็บขอมูลเสนทางที่รถแตละคันว่ิงสงสินคาใหลูกคาตามทุกตางๆ เพ่ือมาคำนวณ วิเคราะห และออกแบบเสนทางขนสงสินคาที่ดีที่สุด คือ เสนทางที่ใกลที่สุด เสนทางที่สะดวกที่สุด เพื่อลดเวลาและปริมาณน้ำมันในการสงสินคาในแตละเที่ยวลงไดเปนอยางดี

“ระบบไอทีทำใหเราสามารถบริหารการขนสงสินคาไดมีประสิทธิภาพ เราสามารถรักษาคุณภาพการจัดสงสินคาในเวลาที่เราการันตีกับลูกคาได สามารถสงสินคาที่มีความหลากหลายใหถึงมือลูกคาไดอยางครบถวน ถูกตอง แมนยำ และเราสามารถลดตนทุนการบริหารจัดการ ลดตนทุนคาน้ำมัน เดิมกอนมีระบบไอทีใชงานเต็มรูปแบบอยางนี้ เราตองใชรถถึง 80 คัน เพื่อรองรับการสงสินคา 1,200 คำสั่งซื้อตอวัน แตตอนนี้เราใชรถแค 65-70 คัน รองรับปริมาณคำสั่งซื้อ 1,500 คำสั่งซื้อตอวัน”

ดวยระบบงานที่มีประสิทธิภาพเชนนี้ ทำใหผลประกอบการของบริษัทตลอด 8 ปที่ผานมาเติบโตตอเนื่องราว 35-50 เปอรเซ็นตตอป โดยเพิ่งมาเติบโตลดลงในปที่ผานมา เนื่องจากเศรษฐกิจโดยรวมถดถอยและปญหาทางการเมืองซึ่งกระทบตอธุรกิจบาง แตก็มีการเติบโตอยูราว 15 เปอรเซ็นต โดยในปนี้คาดวาบริษัทจะสามารถเติบโตไดราว 20 เปอรเซ็นต

วรวุฒิ กลาววา ปหนาบริษัทจะมีการอัพเกรดระบบไอทีครั้งใหญ โดยมีเปาวาตองลดตนทุนของการสงสินคาจากเดิมที่ต่ำอยูแลว คือ ราว 2.5-2.8 เปอรเซ็นตของยอดขาย ใหลดลงเหลือไมเกิน 2 เปอรเซ็นตของยอดขาย

12 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

Page 13: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 13

“สุวรรณไพศาลขนสง” ขนสงรายใหญแหงเมืองเหนือติดปกธุรกิจดวยไอที

บริษัทขนสงอายุเกาแกกวา 20 ปแหงภาคเหนือตอนบน นาม “สุวรรณไพศาลขนสง” ปฏิวัติธุรกิจขนสงทองถ่ินดวยเทคโนโลยี เตรียมความพรอมและสรางแตมตอในการแขงขันรับตลาดเสรีอาเซียนเปดท่ีคาดวาจะมีคูแขงตางชาติทยอยตบเทาเขามาชิงสวนแบงตลาดโลจิสติกสอยางแนนอน

สุรชิน ธัญญะผลิน กรรมการผูจัดการ บริษัท สุวรรณไพศาลขนสง จำกัด ทายาทรุนสองของครอบครัวท่ีเบนเข็มชีวิตจากนักเรียนนอกดานคอมพิวเตอรมารับชวงกิจการขนสงตอจากบิดา เลาใหฟงวา หลังจากท่ีตนเองเขามาบริหารธุรกิจขนสงของครอบครัวก็พบปญหามากมายที่เปนอุปสรรคตอการเติบโตของธุรกิจ ตอศักยภาพการแขงขันของบริษัท และตอความสะดวกสบายตอบริการที่ลูกคาจะไดรับ ดวยความที่มีพื้นฐานมาจากสายงานคอมพิวเตอรที่ร่ำเรียนมา ตนจึงลุกขึ้นปฏิวัติระบบงานภายในของบริษัทใหมทั้งหมด โดยนำระบบเทคโนโลยีเขามาเปนเครื่องมือหลัก

“ตอนเขามารับชวงตอจากคุณพอ ตอนนั้นระบบงานทุกอยางเปนระบบทำงานดวยมือ (Manual) ทั ้งหมด ซึ ่งระบบดังกลาวไมสามารถรองรับงานที ่เรามีไดอยางมีประสิทธิภาพ”

บริษัทมีบริการรับขนสงสินคา 4 ประเภท ไดแก รถจักรยายนต เครื่องใชไฟฟาตูคอนเทนเนอร และสินคาโชวหวย โดยมีรถบรรทุกทั้งสิ้นมากกวา 60 คัน รวมกันในหลายประเภท อาทิ รถบรรทุก 18 ลอ 10 ลอ และ 6 ลอ ท้ังแบบพวงและแบบลาก มีบริการรับและสงสินคาแบบรายช้ินและเหมาคัน ทำใหรายละเอียดของเน้ืองานในแตละวันมีเปนจำนวนมาก ซึ่งในอดีตไมมีการเก็บรวบรวมขอมูลการทำงาน และไมมีการใชระบบไอทีใดๆ เขามาชวยจัดการบริหารขอมูลการบริการของบริษัทเลย ทำใหเกิดความผิดพลาดในการขนสงบอยคร้ัง และเกิดการสูญเสียตนทุนจากการไมมีขอมูล หรือหาขอมูลไมพบ เนื่องจากขอมูลถูกจดดวยลามือพนักงานและไมมีการจัดเก็บเขาระบบ

“เมื่อกอนปญหาที่เจอประจำคือ สงสินคาผิด ไมก็สงไปแลวของไมครบ เพราะรถหนึ่งคัน เราขนสินคาจำนวนมาก และสงใหกับลูกคาหลายราย (หากเขาไมไดใชบริการเหมาคัน) ในใบรายการสงสินคาก็เขียนขึ้นใหมดวยรายมือพนักงาน ที่เขียนมาจากใบสั่งบริการขนสงจากลูกคาหลายๆ ราย มารวมไวในใบเดียว ซึ่งการมาเขียนใหม ความผิดพลาดก็เกิดขึ้นได ผิดเรื่องประเภทสินคาบาง จำนวนบาง สถานที่ เปนตน ซึ่งความผิดพลาดแบบนี้ลูกคาไมพึงพอใจ และจะไมมาใชบริการเราอีก”

บริษัทไดรวมกับบริษัทซอฟตแวรไทยพัฒนาระบบ “Fleet Soft” ขึ้นมาเพื่อใชบริหารขอมูลการใหบริการท้ังหมดของบริษัท โดยเร่ิมจากการเก็บรวบรวมขอมูลการใชบริการขนสงทั้งหมดของลูกคา รวมทั้งขอมูลสถานที่จัดสงและเสนทางขนสง รวมถึงขอมูลรถและคนขับ ซ่ึงขอมูลท้ังหมดน้ีนอกจากจะจัดเก็บและใชเองภายในบริษัทแลว บริษัทยังเปดใหลูกคาของบริษัทเขามาดูขอมูลสถานะของการขนสงไดแบบทันทีทันใด ผานหนาเว็บไดโดยไมตองเสียคาใชจายเพิ่มเติมแตอยางใด

“เราพัฒนาระบบซอฟตแวรขึ้นมาจากความตองการที่จะแกไขปญหาในการทำงานของเราเอง พอทำไป ไมใชเพียงแคบริษัทเทานั้นที่ไดประโยชนจากระบบ แตเราสามารถนำระบบนี้ไปใหลูกคาเราไดใชประโยชนไดอีกดวย ซึ่งบริษัทเพิ่งจะเดินระบบเต็มรูปแบบมาไดราว 3 เดือน ปรากฏวาเราไดลูกคาเพิ่มขึ้นอีก 10 ราย นับวาเปนการลงทุนที่คุมคาทันตาเห็นอยางมาก”

สุรชิน บอกวา รถทุกคันจะติดกลองดำ หรือ ‘Black Box’ ที่มีทั้งสัญญาณ GPS และ GPRS เพื่อใหบริษัทและลูกคาที่มาใชบริการขนสงสินคากับบริษัทสามารถติดตามสถานการณเดินรถของรถคันนั้นๆ ไดตลอดเวลาผานหนาเว็บไซต และหากสินคาสงถึงมือผูรับ เจาหนาที่สงสินคาจะใหผูรับเซ็นรับของลงบนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ซึ่งทันทีที่ลูกคาเซ็นรับของ ระบบจะรับรูโดยอัตโนมัติวาสินคาไดสงถึงมือลูกคาเรียบรอยแลว

นอกจากการนำไอทีมาเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการดานการขนสงแลว บริษัทยังไดนำระบบไอทีมาใชในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานภายใน ไดแก ระบบดูแลรักษารถบรรทุกซึ่งเปนเครื่องมือในการทำมาหากินที่หากเสียหรือชำรุดไมสามารถใชงานได ตองสงซอมจะตองใชเวลาอยางนอย 2 วัน นั่นเทากับโอกาสในการสรางรายไดจะหายไปดวย ดังนั้นแทนที่จะเปนฝายตั้งรับรอใหรถเกิดการเสีย

สุรชิน บอกวา บริษัทจะจัดเก็บขอมูลการใชงานของรถทุกคนเขาระบบวา รถแตละคันวิ่งมาแลวกี่กิโลเมตรถึงเวลาตองเปลี่ยนถายน้ำมันเครื่อง ถึงเวลาตองซอมบำรุงในสวนใดๆ บางก็จะทำทันที ซ่ึงการทำเชนน้ี แมวาจะมีตนทุนในสวนคาบำรุงรักษาเพ่ิมขึ้นราว 60 เปอรเซ็นตแตก็ไดรับโอกาสในการที่รถคันนั้นจะไมตองหยุดวิ่งเพื่อเขาอูซอม ทำใหรายไดในสวนนี้เพิ่มมาราว 90 เปอรเซ็นต เทากับวาเมื่อถัวเฉลี่ยแลวบริษัทมีความสามารถในการสรางรายไดเพิ่มอีก 30 เปอรเซ็นต

นอกจากนี้ บริษัทยังไดขยายพื้นที่การใหบริการจากเดิมที่จำกัดอยูแตเพียงภาคเหนือตอนบนไปครอบคลุมทั่วประเทศ ผานความรวมมือกับพันธมิตรธุรกิจที่มีเสนทางการขนสงที่แตกตางกัน ทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสในการรับลูกคาเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสุรชิน บอกวา ดวยระบบไอทีท่ีบริษัทลงทุนไปชวยเอ้ือใหบริการสามารถใหบริการขนสงแกลูกคาไดขามผูใหบริการแตลูกคายังคงไดรับคุณภาพและรูปแบบบริการเดียวกัน

“การลงทุนในระบบไอทีครั้งนี้ใชงบมากกวา 1 ลานบาท เพื่อยกระดับความสามารถในการใหบริการของเราใหเขงขันได เราทำตรงนี้เพ่ือเตรียมตัวเองใหพรอมกับการแขงขันเสรีท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอันใกลนี้ ซึ่งหากเราไมทำ ไมปรับตัว เราจะอยูไมได” สุริชน กลาวทิ้งทาย

Solution Provider

Page 14: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

14 SMART INDUSTRY Volume 15/2010

Software Park’s activities

ในวันพฤหัสบดีท่ี 26 สิงหาคม 2553 เวลา 09.00-17.00 น. ณ หองบุญชู โรจนเสถียร ช้ัน 2 คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร โดยความรวมมือระหวางเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย รวมกับ สถานีโทรทัศนผานดาวเทียมชองเถาแกโทรทัศน 24 ชั่วโมงเพื่อผูประกอบการ SMEs สื่อพัฒนาคุณภาพผูประกอบการไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูประกอบการในกลุมเอสเอ็มอีของไทยดวยองคความรูดานไอทีและเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งสรางโอกาสทางการตลาดจากการนำเทคโนโลยีเขามาใชในการตอยอดธุรกิจแกผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม(ภาพนับจากซาย)

จัดสัมมนา โครงการถอดรหัสความสำเร็จ SMEs ไทยดวย ICT “สรางโอกาสดวยตลาดออนไลน” ครั้งที่ 2

จัดสัมมนา "ไอทีกับการบริหารจัดการธุรกิจกอสรางและอสังหาริมทรัพยยุคใหม"ภาพบรรยากาศในงาน

ภาพบรรยากาศในงาน

จัดสัมมนา Digital Marketing การตลาดยุคใหมบนโลกออนไลน กับอุตสาหกรรมทองเท่ียว

1. คุณพีรเวท กิจบูรณะ ผูชวยกรรมการผูอำนวยการสวนงานการตลาด SME และกลุมลูกคา องคกรสวนภูมิภาค บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส 2. คุณชไมพร พรพฤทธิอนันต รองผูอำนวยการเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย3. รศ.ดร.กุลภัทรา สิโรดม คณบดี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร4. คุณสุภาวดี เวศยพิรุฬท ผูอำนวยการ สถานีโทรทัศน รายการเถาแก

1. คุณกลยุทธ สุขประเสริฐ Marketing Director (Founder) บริษัท Vertasoft จำกัด2. คุณไผท ผดุงถิ่น Business Development Manager (Founder) บริษัท Longkong Studio จำกัด3. คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา นายกสมาคมอสังหาริมทรัพยไทย 4. คุณชไมพร พรพฤทธิอนันต รองผูอำนวยการเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย5. คุณพลพัฒ กรรณสูต นายกสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ6. คุณธีรวัฒน พิพัฒนดิฐกุล อุปนายกฝายกิจกรรมและประชาสัมพันธสมาคมอสังหาริมทรัพยไทย7. คุณเจษฎา เจือจันทึก Managing Development Manager บริษัท Simplify Solutions จำกัด

เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ จัดกิจกรรมสัมมนา “การตลาดยุคใหมบนโลกออนไลนกับอุตสาหกรรมทองเที่ยว” ในวันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน 2553 (เวลา 08.30-16.30 น.) ณ หองออดิทอเรียม ชั้น 3 อาคารซอฟตแวรพารค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบการในอุตสาหกรรมทองเที่ยวไดเรียนรูและสำรวจความพรอมของธุรกิจตนเองและสามารถเลือกรูปแบบของการทำการตลาดยุคใหม (Digital Marketing) ไดอยางเหมาะสมกับธุรกิจ รวมทั้งสรางโอกาสในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนทางธุรกิจระหวางผูประกอบการอุตสาหกรรมทองเที่ยวและอุตสาหกรรมซอฟตแวร โดยมี (ภาพบนนับจากซาย) เขารวมงาน 1. คุณบุรินทร เกล็ดมณี ประธานเจาหนาท่ีปฏิบัติการ บริษัท แกรนด แพลนเน็ท เอ็นเตอรไพรส จำกัด2. คุณชไมพร พรพฤทธิอนันต รองผูอำนวยการเขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย3. ศ.ดร.เอียน เฟนวิค (Ian Fenwick) ผูเช่ียวชาญดานการตลาดสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณ4. คุณเนืองนิมมาน ณ นคร กรรมการผูจัดการ บริษัท บอรน ดิสติงช่ัน จำกัด5. คุณสุชาดา บอทรัพย ผูอำนวยการ สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศการทองเท่ียวแหงประเทศไทย

เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมกับ สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และสมาคมอสังหาริมทรัพยไทย จัดงานสัมมนา "ไอทีกับการบริหารจัดการธุรกิจกอสรางและอสังหาริมทรัพยยุคใหม" โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบการในอุตสาหกรรมกอสรางและอสังหาริมทรัพยมีความรู ความเขาใจและตระหนักถึงความสำคัญในการประยุกตใชไอที เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการ วางแผน ควบคุมตนทุนกอใหเกิดประสิทธิผลจากการลดตนทุนในการบริหารจัดการ และเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการในธุรกิจกอสรางและอสังหาริมทรัพยไทยได โดยจัดขึ้นในวันศุกรที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00-16.30 น.ณ หองออดิทอเรียม ชั้น 3 อาคารซอฟตแวรพารค (ภาพบนนับจากซาย)

Page 15: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

Volume 15/2010 SMART INDUSTRY 15

ในฐานะที่เราอยูในอุตสาหกรรมนี้ ปจจุบันยังรวมมือกับซอฟตแวร พารค ในการพัฒนาโซลูช่ัน TMS โดยสมาพันธฯ จะเปนผูประสานงานและใหขอมูลทางดานโลจิสติกสขณะที่ซอฟตแวร พารค จะหาบริษัทที่พัฒนาโซลูชั่นเพื่อรองรับระบบโลจิสติกส ซึ่งจะเปนโซลูชั่นที่จะชวยในการบริหารการทำงานทางดานโลจิสติกสใหมีประสิทธิภาพไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งความรวมมือกับซอฟตแวรพารคในการจัดหาโซลูช่ัน เพื่อรองรับผูประกอบการและผูพัฒนาซอฟตแวรนี้จะทำใหทั้งผูประกอบการและผูพัฒนาซอฟตแวรไดรับประโยชนในรูปแบบ Win win solution

ปจจุบันผูประกอบการโลจิสติกส ในประเทศไทยมีมากนอยแคไหน ตัวเลขลาสุด จำนวนรถขนสงในเมืองไทยมีประมาณ 300,000 คัน ตัวเลขจากกรมการขนสง ทุก 1 เปอรเซ็นตของการลดตนทุน คือการเติบโตของประเทศ และมูลคาของโลจิสติกสแตละปประมาณ 100,000 ลานบาท โดยภาคขนสงใชมากที่สุด

บทบาทของสมาพันธในอนาคตจะเปนอยางไรบางเราพยายามทำหลักสูตร ทำใหทุกคนรับรู หาทางกำหนดมาตรฐาน และกำลังสรางเรื่องศักยภาพและการพัฒนาฝมือแรงงาน (Capacity building) เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู เชียวชาญใหที ่มีคุณภาพเพื ่อรองรับความตองการผูเชี ่ยวชาญทางดานโลจิสติกสประมาณ 100,000 คนในอีก 3 ปขางหนา

มองวาศักยภาพโลจิสติกสของไทยเปนอยางไรบาง มีความพรอมในการแขงขันกับตางประเทศมากนอยแคไหนณ วันน้ีความพรอมในการแขงขันของประเทศตองเตรียมตัวอีกพอสมควรโดยที่เราจะตองกลับมาเตรียมตัวกับคนรุนตอไป และติดเครื่องใหผูประกอบการโดยนำระบบไอทีมาชวยในกระบวนการทำงานมากขึ้น เพื่อชวยลดตนทุนและเพิ่มศักยภาพการแขงขันของธุรกิจ และรองรับการแขงขันเสรี กลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในป 2558 และเตรียมความพรอมที่จะไปขยายศักยภาพทางดานโลจิสติกสในประเทศอื่นดวย

NSW มีบทบาทมากนอยแค ไหนกับโลจิสติกส และe-logistics ในภาพรวมและจะมีประโยชนอยางไรบางNSW วันนี้เราอยูในขั้นของภาคทฤษฎี คือ เริ่มตนทำแตตัวที่จะประสบความสำเร็จจะตองดูผลหรือ Output-ของตัวปฎิบัติวาเปนอยางไรจากที่ผานทฤษฎีและการปฎิบัติไมไปทางเดียวกัน เนื่องจากกฎระเบียบตางๆ ที่มีเยอะมากและภาครัฐจะตองแกไขปญหานี้ และคงตองใชการบูรณาการและเวลาพอสมควร

บทบาทของสมาพันธ ในการสงเสริมโลจิสติกส และภาพการนำไอทีมาสนับสนุนสวนตางๆ เปนอยางไรบางเนื่องจากการทำงานของโลจิสติกส เปนพลวัตร หรือ Dynamic คือไมเคยนิ่ง ไมเคยจบ ไมเคยหยุด บทบาทที่เราทำคือ ทำการศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรตางๆ ปจจุบันเราก็พบวา คนทำงานในวงการเฉพาะดานไมเพียงพอเนื่องจากคนที่มีไมไดตรงกับความตองการของธุรกิจ วันนี้ทางสมาพันธไดรวมมือกับสำนักงานการอุดมศึกษา (สกอ) สำนักงานการอาชีวะศึกษา (สอศ) สำนักงานการวิจัยในการทำเรื่องการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพของบุคลากร

ประเทศไทยมีความพรอมทางดานบุคลากรแคไหนในการแขงขันทางดานโลจิสติกสโลจิสติกสเปนงานที่ตองการสะสมประสบการณ และผูบริหารระดับกลางและระดับสูงในบานเรามีนอยมาก ถาเราสนับสนุนทางดานการศึกษา มีการถายทอดความรู จะทำใหองคความรู ของคนไทยสามารถกาวไปสู ผูบริหารระดับกลาง และระดับสูงและเปนการเตรียมความพรอมใหกับรุนตอไป เพื่อเปนการสรางความพรอมของบุคลากรของประเทศไทยเพื่อรองรับการแขงขันทางดานโลจิสติกสที่เกิดขึ้นตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูงสุดในอนาคต

นอกจากนี้สมาพันธฯ ยังไดกำลังจัดทำจริยธรรมและมาตรฐานของคนขับรถบรรทุก โดยเรามองภาพวาถาคนขับรถบรรทุกมีคุณภาพที่ดี สิ่งที่ชวยทันที คือ อุบัติเหตุนอยลง สินคาที่ไปสงตามที่ตางๆ ความลาชา หรือความเสียหายลดลงและกรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคมไดจัดทำคูมือพัฒนาคุณภาพบริการขนสงดวยรถบรรทุก อันเปนมาตรฐานสถานประกอบการ เพื่อเปนเปาหมายใหบริษัทผูประกอบการที่เกี่ยวของไดมาวิเคราะหตัวเองวาใหบริการที ่ไดมาตรฐาน ซึ ่งจะเปนการกระตุนใหผู ประกอบการใหบริการที่มีคุณภาพ

ทางสมาพันธมีความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐและเอกชนอยางไรบางสมาพันธฯ เราเปนผูประสาน และเขารวมกิจกรรมกับภาครัฐ และเอกชน เราทำบทบาทอยูสองหนาที่คือ เราทำหนาที่ใหขอมูลและใหความคิดเห็น

Interview ตอจากหนา 16

Page 16: Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็มอีไทย"

อานตอหนา 15

สมาพันธฯเสริมเขี ้ยวเล็บ

โลจิสติกสการเพิ่มศักยภาพการแขงขันและลดตนทุนนับวาเปนปจจัยสำคัญของธุรกิจ โดยเฉพาะตนทุนทางดานโลจิสติกส กองบรรณาธิการ Smart Industry มีโอกาสสัมภาษณ ธง ตั้งศรีตระกูล รองประธาน สมาพันธโลจิสติกสไทย ถึงการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที เขามามีบทบาทในการลดตนทุนทางดานโลจิสติกส และบทบาทของสมาพันธโลจิสติกสไทยในการสงเสริมอุตสาหกรรมโลจิสติกสของประเทศในภาพรวม

สมาพันธฯ มองภาพการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีบทบาทตอโลจิสติกสอยางไรบางการนำไอทีเขามามีบทบาทตอโลจิสติกสนั้น โดยภาพรวมของไอทีสำหรับโลจิสติกสไทย แบงเปน 5 องคประกอบหลัก ประกอบดวย

1. ซอฟตแวร (Software) และอุปกรณตางๆ (Device) 2. การจัดขอมูล (Database Management) และ ระบบชวยในการตัดสินใจ (Decision Making) 3. การปอนขอมูลเพียงครั้งเดียว (Single Entry) 4. การเพิ่มประสิทธิภาพลดตนทุน และเพิ่มความ สามารถในการแขงขัน และ 5. ภาครัฐและเอกชนที่มีบทบาทในการสงเสริม อุตสาหกรรมโลจิสติกสในดานทฤษฎี และการ ปฎิบัติซึ่งจะสามารถทำใหไอทีสามารถนำมาติดตั้ง (Implement) ใชงานไดจริง

ปจจุบันในวงการโลจิสติกสมองวา ตนทุนทางดานโลจิสติกส ภาพรวมของประเทศไทยมีประมาณ19 เปอรเซ็นต ขณะที่ประเทศที่เจริญแลวมีตนทุนทางดานโลจิสติกสอยู ประมาณ 7-8 เปอรเซ ็นต นอกจากนี้ ภาครัฐและเอกชนยังมีบทบาทสำคัญในการสงเสริมใหระบบโลจิสติกสของประเทศมีศักยภาพในการแขงขัน และสามารถที่จะชวยในการลดตนทุนทางดานโลจิสติกสไดดวย

โลจิสติกสมีบทบาทและมีความสำคัญอยางไรบางกับเอสเอ็มอี ไอทีมีความจำเปนมากกับเอสเอ็มอีและโลจิสติกส เนื่องจากโลจิสติกสแทรกซึมในทุกกิจกรรม ที่ทำอยูโดยไมรู ตัว และโลจิสติกสสวนใหญจะคิดเพียงแค2 เรื่อง คือ รถขนสง และโกดัง แตโลจิสติกสเปนการยายของจากจุดท่ีหน่ึงไปยังจุดท่ีสอง ถายายไดเหมาะสมและรวดเร็ว ตนทุนก็ถูกลง

ถาไอทีมาชวยเอสเอ็มอี จะมาชวยในบทบาทตรงไหนบางเอสเอ็มอีจะตองมีปจจัยที่จะเอาไอที มาชวยจัดการโลจิสติกส จะตองทำอยางไรไอทีเขามามีบทบาทชวยเอสเอ็มอีตั้งแต การวางแผน การยายสินคาและบริการจากจุดหนึ่งไปจุดที่สองหรือจุดที่สาม อาทิ ระบบ Just in time คือ การเก็บสต็อกในโรงงานใหนอยที่สุด เปนการโลจิสติกสสินคา เชน โรงงานนี้แตเดิมตองเก็บสต็อก 30 วัน เมื่อเอาความสามารถทางดานไอทีมาชวย ทำใหธุรกิจสามารถเก็บสต็อกไดเหลือ 15 วัน หรือ 7 วัน ซึ่งเงินทุนในการหมุนเวียนที่จมอยูกับสินคา ก็จะเหลือนอยลง

เอสเอ็มอีที่จะนำ e-logistics มาใชจะตองทำมีการเตรียมความพรอมและจะตองแนะนำอยางไรบางตองดูกลุมเอสเอ็มอีวา อยูในอุตสาหกรรมอะไร และแตละอุตสาหกรรมจะตองเรียนรูในการใชซอฟตแวร อยางไรก็ตามปจจุบัน เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย หรือ ซอฟตแวร พารค ไดมีการผลักดัน โดยชวยสนับสนุนในเรื่องการจัดสัมมนา และผมมองวา วันนี้ภาครัฐตองกระตุนใหเอกชนนำไอทีมาใช และภาครัฐเองบางหนวยงานมีการลงทุนทางดานระบบ เชน ระบบ National Single Windows (NSW) ซึ่งเปนตัวจักรอันใหมของประเทศในการขับเคลื่อนโลจิสติกสของประเทศ ซึ่งปจจุบันมีหนวยงานภาครัฐตางๆ 36 หนวยงาน ลงบันทึกความเขาใจในการพัฒนาระบบ NSW