se masterplan 53-57

55
แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพื่อสังคม .. 2553 – 2557

Upload: deviha-patsleep

Post on 26-Oct-2014

835 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: SE MasterPlan 53-57

แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพื่อสังคม

พ.ศ. 2553 – 2557

Page 2: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 2

สารบัญ บทที่ 1 ความสําคัญของกิจการเพื่อสังคมตอประเทศไทย 3

1) นิยาม: กิจการเพ่ือสังคม

2) ประเภท และรูปแบบกิจการเพ่ือสังคม

3) ความสําคัญของกิจการเพ่ือสังคมตอประเทศไทย

4) พัฒนาการของกจิการเพ่ือสังคมท่ัวโลกเปรียบเทียบกบัประเทศไทย

5) สรุปสถานการณกจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทย

6) การวิเคราะหโอกาสเชิงยุทธศาสตร และชองวางเชิงศักยภาพของกลุมกิจการเพ่ือสังคมในประเทศไทย

บทที่ 2 วิสัยทัศน และนโยบายการสรางเสริมกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย 36

1) วิสัยทัศน

2) พันธกิจ

3) เปาหมาย

4) กลุมเปาหมายเชิงยุทธศาสตร

5) ยุทธศาสตร

6) หลักการพ้ืนฐาน

บทที่ 3 ยุทธศาสตรการสรางการรับรู และการเรียนรูเร่ืองกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย 41

1) นโยบายดานการสรางการรับรู และการเรียนรูเร่ืองกจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทย

2) มาตรการท่ี 1 การใหรางวัล และจัดประกวดกิจการเพ่ือสังคมระดับประเทศ

3) มาตรการท่ี 2 การจัดสัมมนา และการประชุมเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม

4) มาตรการท่ี 3 การพัฒนาเน้ือหาความรู และหลักสูตรการเรียนการสอน

5) มาตรการท่ี 4 การพัฒนาฐานขอมูล และศึกษากระบวนการเรียนรูเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม

บทที่ 4 ยุทธศาสตรการพัฒนารูปแบบ และขีดความสามารถของกิจการเพื่อสังคม 45

1) นโยบายดานการพัฒนารูปแบบ และขีดความสามารถของกิจการเพ่ือสังคม

2) มาตรการท่ี 5 การพัฒนารูปแบบเฉพาะ และกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

3) มาตรการท่ี 6 การพัฒนาศูนยบมเพาะ และใหคําปรึกษาสําหรับกิจการเพ่ือสังคม

บทที่ 5 ยุทธศาสตรการพัฒนาชองทางการเขาถึงแหลงเงินทุนและทรัพยากร 48

1) นโยบายดานการพัฒนาชองทางการเขาถงึแหลงเงนิทุนและทรัพยากร

2) มาตรการท่ี 7 การสนับสนุนใหองคกรภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจกอตั้งกิจการเพ่ือสังคม

3) มาตรการท่ี 8 การพัฒนากระบวนการ กลไก และเคร่ืองมือสงเสริมการลงทุนในกิจการเพ่ือสังคม

4) มาตรการท่ี 9 การพัฒนาและสงเสริมบริการของสถาบันตัวกลางในตลาดเงินและตลาดทุนเพ่ือกิจการเพ่ือสังคม

บทที่ 6 แนวทางการบริหารจัดการ การกํากับดูแลและการติดตามประเมินผล 53

1) การบริหารจดัการ และการกาํกบัดแูล

2) การติดตามประเมินผล

Page 3: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 3

บทที่ 1

ความสําคัญของกิจการเพื่อสังคมตอประเทศไทย

Page 4: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 4

1) นิยาม: กิจการเพื่อสังคม

กิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise) คือ กิจการท่ีมีรายรับจากการขาย การผลิตสินคา และ /หรือการใหบริการ

ท่ีถูกตั้งขึ้นเพ่ือเปาหมายอยางชัดเจน ตั้งแตแรกเร่ิม หรือมีการกําหนดเพ่ิมเติม หรือปรับเปล่ียนเปาหมาย ในการแกไข

ปญหาและพัฒนาชุมชน สังคม และ/หรือส่ิงแวดลอมเปนหลัก โดยไมไดมีเปาหมายในการสรางกําไรสูงสุดตอผูถือหุนและ

เจาของเทาน้ัน และมีลักษณะพิเศษ ดังตอไปน้ี

• กระบวนการผลิต การดาํเนินกจิการ รวมถงึผลิตภัณฑหรือ

บริการ ไมกอใหเกิดผลเสียตอเน่ืองในระยะยาวตอสังคม สุข

ภาวะ และส่ิงแวดลอม

• มีการกํากับดูแลกิจการท่ีดี

• มีศักยภาพที่จะมีความยั่งยืนทางการเงินไดดวยตนเอง

• ผลกาํไรสวนใหญถกูนําไปเพ่ือการลงทุนกลับไป ใชในการ

ขยายผลเพ่ือการบรรลุเปาหมายดังกลาว หรือคืน

ผลประโยชนใหแกสังคม หรือผูใชบริการ

• สามารถมรีปูแบบองคกรท่ีหลากหลาย

• มีการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช

๒) ประเภท และรูปแบบกิจการเพื่อสังคม

ลักษณะของกิจการเพ่ือสังคม เปนการประสานความสัมพันธระหวางธุรกิจ ผลตอบแทนในดานสังคม /

ส่ิงแวดลอม และผลตอบแทนทางการเงิน โดยมีพ้ืนฐานจากความสนใจของเจาของกิจการ (Social Entrepreneur) ท่ี

ตองการสรางผลตอบแทนทางสังคมและส่ิงแวดลอม โดยใชรูปแบบการบริหารจัดการของธุรกิจและการทําประโยชนแก

สังคมรวมกัน

กจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทยน้ัน มหีลากหลายประเภทและรูปแบบ แตเพ่ือประโยชนในการวางยทุธศาสตร

นโยบาย และกลยุทธในการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมในประเทศไทย จึงแบงกิจการเพ่ือสังคมเปน 6 กลุมหลักๆ ตามกลุม

บุคคล/องคกรท่ีกอตั้ง ดังน้ี

ผูกอตั้ง รูปแบบของกิจการเพื่อสังคม ตัวอยางในประเทศไทย

เครือขายและ

องคกรชุมชน

วิสาหกิจชุมชน ทองเท่ียวชุมชน สหกรณ องคกร

การเงินชุมชน

กลุมออมทรัพยคลองเปยะ

กลุมสัจจะออมทรัพย ครูชบ ยอดแกว

องคกร

สาธารณประโยชน

ธุรกิจท่ีจัดตั้ง และ/หรือถือหุนโดยองคกร

สาธารณประโยชน

โครงการดอยตุง มูลนิธิแมฟาหลวง

ราน Cabbages & Condoms (สมาคม

พัฒนาประชากรและชุมชน)

Page 5: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 5

ผูกอตั้ง รูปแบบของกิจการเพื่อสังคม ตัวอยางในประเทศไทย

หนวยราชการและ

รัฐวิสาหกิจ

ธุรกิจท่ีจัดตั้ง และ/หรือถอืหุนโดยหนวยราชการ

และรัฐวิสาหกิจ

มูลนิธิโรงพยาบาลอภัยภูเบศร

ผูประกอบการใหม กิจการท่ีบุกเบิกโดยผูประกอบการเพ่ือสังคม บริษทั OpenDream จํากัด

นิตยสาร BE

ธุรกิจเอกชน ธุรกิจท่ีจัดตั้งโดยธุรกิจเอกชน (Corporate) บริษัท สังคมสุขภาพ จํากัด

รานเลมอนฟารม

อ่ืนๆ ธุรกิจท่ีจัดตั้ง และ/หรือถือหุนโดยวัด

สถาบันการศึกษา สถาบันศาสตร ฯลฯ

Thai Tribal Crafts Fair Trade (TTC)

โรงเรียนรุงอรุณ

1. กิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยเครือขายและองคกรชุมชน (Community-Based Social Enterprise)

ประเทศไทยมีองคกร /หนวยงาน ท่ีสามารถจัดไดวาเปนกิจการเพ่ือสังคมในระดับชุมชนอยูเปนจํานวนมาก ซึ่ง

เปนผลมาจากหลายปจจัย ไดแก การพัฒนาของระบบสหกรณในชวงหลายทศวรรษท่ีผานมา การประชาสัมพันธเร่ือง

เศรษฐกิจพอเพียงอยางจริงจังในประเทศ นโยบายรัฐบาลท่ีสงเสริมใหมีการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน จนถึงการเกิดขึ้นของกลุม

การเงนิชมุชนในรูปแบบตางๆ ท้ังในรูปของสหกรณออมทรัพยเพ่ือการผลิต กลุมสัจจะออมทรัพย รวมถงึธนาคารประชาชน

กิจการเพ่ือสังคมในระดับชุมชน สามารถแกไขปญหาสังคม สุขภาวะ และ /หรือส่ิงแวดลอมในชุมชนไดเปนอยาง

ดี เน่ืองจากมีการจัดตั้ง บริหารจัดการ และดําเนินกิจการโดยคนในชุมชนซึ่งเขาใจสภาวะและปญหาในชุมชนอยางถองแท

นอกจากน้ีแลว กิจการเหลาน้ียังกอใหเกิดการสรางงาน และการสรางรายไดใหกับประชาชนในชุมชนน้ันๆ กิจการเพ่ือ

สังคมในระดบัชมุชน จงึมผีลตอการพัฒนาชมุชนอยางเปนรูปธรรม

เงินทุนสําหรับการจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคมในระดับชุมชนน้ัน มาจากสองแหลงหลัก ไดแก (1) เงนิอุดหนุนจาก

รัฐบาลกลาง และองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพ่ือสนับสนุนนโยบายตางๆ ในระดบัชมุชน เชน งบประมาณกองทุนหมูบาน

OTOP และวิสาหกิจชุมชน และ (2) จากการรวมเงินทุนของชาวบานในชุมชนน้ันๆ เพ่ือกอตั้งเปนกิจการรวมกัน ซึ่งเปนไป

ไดในหลากหลายรูปแบบ ท้ังการรวมตวักนัอยางถกูตองตามกฎหมายในรูปแบบของสหกรณ ไปจนถงึการรวมตวักนัอยาง

ไมเปนทางการ ในลักษณะของกลุมออมทรัพยตางๆ โดยกิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ี มักจะไมมุงเนนขยายกิจการ แตให

ความสําคัญกับการถอดบทเรียนความสําเร็จจากชุมชนหน่ึง เพ่ือนําไปเผยแพรเปนองคความรูใหกับชุมชนอ่ืน (Replicate)

จึงมักจะไมคอยมีความตองการในการหาเงินทุนเพื่อขยายกิจการ อยางไรก็ตาม ในหลายๆ กรณี กิจการเพื่อสังคมตองการ

ตัวกลาง หรือการเขาถึงภาคธุรกิจท่ีมีความเชี่ยวชาญ เพ่ือบริหารจัดการกิจการท่ีถูกพัฒนาจนมีขนาดใหญ เชน กลุมออม

ทรัพยท่ีมีเงินฝากอยูในกลุมสูงมาก แตไมรูวิธีในการเคล่ือนยายเงินทุนสวนเกินดังกลาวเพ่ือสรางรายได และ /หรือ

แกปญหาสภาพคลองใหกับกลุมออมทรัพยลักษณะเดียวกันท่ีขาดสภาพคลอง

ตัวอยางที่ 1: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยเครือขายและองคกรชุมชน

กลุมออมทรัพยคลองเปยะ

กลุมออมทรัพยชุมชน ต .คลองเปยะ อ .จะนะ จ .สงขลา กอตั้งขึ้นเมื่อ 30 ปท่ีแลว โดย “ลุงอัมพร ดวงปาน” ซึ่ง

ปจจุบันรับหนาท่ีเปนประธานท่ีปรึกษากลุมออมทรัพย โดยในระยะเร่ิมตนน้ันมีสมาชิกเพียง 51 คน และมีทุนเร่ิมแรกเพียง

Page 6: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 6

2,850 บาท

จากปญหาท่ีชาวบานไปกูเงินจากธนาคารแลวไมสามารถคืนเงินกูไดตามเงื่อนไขและระยะเวลาท่ีธนาคารกําหนด

ลุงอัมพรจึงมีความคิดท่ีในการตั้งกลุมออมทรัพยเพ่ือใหชาวบานมีเงินทุนในการเร่ิมตนกิจการ จึงรวมกันในชุมชนเพ่ือจัดตั้ง

กลุมออมทรัพยขึ้นเพ่ือใหชาวบานกูเงินไปใชเปนทุนในการประกอบอาชีพ โดยปลอยกูตามความจําเปนแลวแตกรณีให

ชาวบานนําเงินไปลงทุนในกิจการของตน โดยคิดดอกเบ้ียเงินกูรอยละ 1.20 ตอเดือน โดยมีเงื่อนไขวาชาวบานสามารถเขา

มาเปนสมาชิกกลุมออมทรัพยไดโดยจะตองเสียคาธรรมเนียม 15 บาทตอคน จะออมเงินเดือนละเทาไรก็ได แตตองออม

จํานวนเทาๆ กันทุกเดือนในหน่ึงป โดยท่ีระยะแรกจะไดดอกเบ้ียเงินออม 11% ตอป

ปจจุบัน กลุมออมทรัพยชุมชน ต.คลองเปยะ มีสมาชิกรวม 7,200 คน มทีนุสะสมกวา 252 ลานบาท 11 หมูบานท่ี

เขารวม เปนหมูบานคลองเปยะ 9 หมูบานและอีก 2 หมูบานใกลเคียง สามารถปลอยเงินกูใหชาวบานไดวงเงินตั้งแตหลัก

พันจนถงึหลักลาน มกีารนําผลกาํไรตลอด 30 ปไปพัฒนาสวนตางๆ ของชุมชน ตอยอดเกิด 19 กองทุนสวัสดิการ ตั้งแต

กองทุนฌาปนกิจโดยจายใหสมาชิกท่ีเสียชีวิตรายละ 9,500 บาท กองทุนคารักษาพยาบาลท่ีสมาชกิเบิกได 100% กรณีเขา

โรงพยาบาลรัฐ กองทุนสาธารณภัย เด็กกําพรา และผูสูงอายุ กองทุนสุขภาพ กองทุนการศึกษา กองทุนเรียนรูชุมชนอบรม

อาชีพ พัฒนากิจการสาธารณประโยชนของหมูบาน ดูแลศาลากลางหมูบาน สะพานของหมูบาน กองทุนบริหารธุรกิจชุมชน

ท่ีทดลองทําแลว เชน โรงนํ้าปลาชุมชน โรงสีขาวชุมชน กองทุนงานประเพณี กองทุนคานํ้า กองทุนปลูกตนไมหน่ึงหมื่นตน

ในเวลา 10 ป กองทุนกีฬาสําหรับเยาวชน และกองทุนตอนรับผูมาศึกษาดูงาน ต.คลองเปยะ

ตัวอยางที่ 2: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยเครือขายและองคกรชุมชน

กลุมสัจจะออมทรัพย ครูชบ ยอดแกว

ครูชบ ยอดแกว เปนนักเศรษฐศาสตรชุมชน ผูกอตั้งกลุมสัจจะออมทรัพยเพ่ือสวัสดิการชาวบาน กองทุนชุมชนน้ี

เกิดจากการออมเงินของสมาชิกโดยการลดรายจายประจําวัน วันละ 1 บาท มีคณะกรรมการของแตละชุมชนรวมกัน

กาํหนดโครงสรางการบริหารและจดทะเบียนเปนสมาคมสวสัดกิารภาคประชาชนในแตละจงัหวดั

กองทุนท่ีไดจากการออมในแตละปจะแบงออกเปน 2 สวนหลัก สวนแรก เปนเงินปนผลใหแกสมาชิก เชนเดียวกับ

สหกรณท่ัวไป แตเปล่ียนวิธีคิดท่ีไมยึดจํานวนเงินเปนตัวตั้ง แตยึดอัตราสวนจากวินัยในการออมวาใครมีความสม่ําเสมอ

แทน สวนอีกคร่ึงเปนสวัสดิการชุมชน 9 อยาง ท่ีเรียกวาออมทรัพยแบบพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีใหสวัสดิการตั้งแตการเกิดจน

เสียชีวิต เปนสวัสดิการของชาวบานเชนเดียวกับสวัสดิการของขาราชการ ปจจุบันมีกวา 3,000 ชมุชนท่ัวประเทศ ท่ีเห็น

ความสําคญัและใชกระบวนการน้ีในการสรางระบบสวสัดกิารในชมุชน

ตัวอยางที ่3: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยเครือขายและองคกรชุมชน

กลุมสัจจะออมทรัพย พระอาจารยสุบิน ปณีโต

พระอาจารยสุบิน ปณีโต แหงวัดไผลอมและกลุมปราชญชาวบานจังหวัดตราด ไดรวมจัดตั้งกลุมสัจจะออมทรัพย

ขึ้นเมื่อปพ.ศ. 2525 จนพัฒนาจากเงนิออมหลักรอย กลายเปนกองทุนหลักพันลานของชมุชนครอบคลุมเกอืบทุกตาํบลใน

จงัหวดัตราด การจัดตั้งกลุมสัจจะออมทรัพยน้ีขึ้นเพ่ือ สงเสริมใหเกิดองคกรการจัดหาทุนของชุมชน เพ่ือแกไขปญหา

เศรษฐกิจ และสรางความเขมแข็งในสังคมชนบท โดยยดึหลักธรรมในพระพุทธศาสนาในการดาํเนินการไมวาจะเปนการ

ดําเนินชีวิต หรือการทํากจิการใดๆ น้ันตองยึดอิงหลักธรรมชาติ วงจรการหมุนเวียนเงินของกลุมสัจจะออมทรัพยจึงเนนการ

Page 7: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 7

พ่ึงพิงตนเอง และใชกระบวนการทางสังคมเปนเคร่ืองมือกํากับ ผูคนในชุมชนกูยืมเงินจากสวนกลางโดยใชความดี สัจจะ

และศักดิ์ศรีท่ีสรางสมไวจนเปนท่ีประจักษในชุมชนเปนตัวค้ําประกันการกูยืมของตนเอง มรีะบบการบริหารจดัการท่ีไม

ตายตัว ปรับเปล่ียนใหเหมาะสมตามสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปอยูเสมอ

2. กิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยองคกรสาธารณประโยชน (Non-Governmental Organization)

ปจจุบัน องคกร สาธารณประโยชน ท้ังในประเทศไทย และท่ัวโลก เร่ิมใหความสนใจกับการจัดตั้งหนวยธุรกิจ ท่ี

สรางรายไดมาเปนเงนิทุนในการดาํเนินงานขององคกร เพ่ือลดการพ่ึงพาเงนิทุนจากเงนิบริจาค และเงนิใหเปลาจากองคกร

ภายนอก ดังน้ัน การจัดตั้งกิจการธุรกิจแยก หรือการพัฒนาสายงานธุรกิจขึ้นภายในองคกร จึงเปนทางเลือกท่ีดีทางหน่ึงใน

การบริหารจดัการองคกรสาธารณประโยชนใหเติบโตไดอยางยั่งยืน

องคกรสาธารณประโยชนหลายแหง ริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมดวยเงินทุนท่ีไดมาจากเงินบริจาค และเงินใหเปลา ซึ่ง

เปนแหลงเงินทุนหลักขององคกรลักษณะน้ีในปจจุบัน และนํามาพัฒนาเปนกิจกรรม และ /หรือ กิจการท่ีสรางรายไดใหกับ

องคกร จงึไมไดประสบปญหาในการหาเงนิทุนเร่ิมตนมากนัก อยางไรกต็าม องคกรสาธารณประโยชนมกัจะประสบปญหา

ในการหาเงินทุน เมื่อตองการจะตอยอด และ /หรือขยายกิจการท่ีสรางรายไดดังกลาว เน่ืองจากแหลงเงินทุนสําหรับภาค

ธุรกิจท่ัวไป เชน ธนาคารพาณิชย และบริษัทหลักทรัพย ยังไมมีความเชื่อมั่นในกิจการท่ีจัดตั้ง และ /หรือดาํเนินการโดย

องคกรสาธารณประโยชนเพ่ือแกปญหาสังคม วาจะสามารถทําผลกําไรทางธุรกิจอยางยั่งยืนได (Not Financially Viable)

นอกจากน้ีแลว กิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ีประสบปญหามากกวากลุมอ่ืนในเร่ืองของการพัฒนาศักยภาพและขีด

ความสามารถในการบริหารจดัการเชงิธรุกจิ เน่ืองจากกลุมคนท่ีเลือกทํางานในองคกร สาธารณประโยชน มักจะมีความ

เชี่ยวชาญ ความเขาใจ และ /หรือความสนใจในการดาํเนินงานทางธุรกจิท่ีจาํกดั จงึทําใหประสบปญหาในการบริหาร

จัดการ และตองการความชวยเหลือในการพัฒนาศักยภาพในดานน้ีอยางจริงจัง

ตัวอยางที่ 4: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยองคกรสาธารณประโยชน

โครงการพัฒนาดอยตุง มูลนิธิแมฟาหลวง

โครงการพัฒนาดอยตุงฯ คือ โครงการพัฒนาดานสังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน เพ่ือใหคนบนดอย

ตุงสามารถพ่ึงพาตนเองทางเศรษฐกิจ นําพาตนเองและชุมชนใหดําเนินชีวิตตอไปไดอยางยั่งยืน ซึ่งเปนตนแบบของการ

พัฒนาทางเลือกในการดํารงชีวิตท่ียั่งยืน ท่ีประเทศตางๆ ท่ัวโลกสามารถศึกษาและนําไปปรับใชเพ่ือแกปญหาของตน โดย

โครงการจะจางงานจากคนในทองถิน่ และปลูกฝงคนบนดอยใหรกัษาวฒันธรรมทองถิน่ ธรรมชาตบินดอยตงุไว ซึง่รายได

จากการขายสินคาของชาวเขาบนดอยตุง ท้ัง กาแฟดอยตุง สินคาหัตถกรรม สินคาเกษตรแปรรูปตางๆ เปนตน จะนําไปใช

เพ่ือพัฒนาและสงเสริมใหคนบนดอยตุงมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น เชน การสรางโรงเรียน การพัฒนาศูนยสงเสริมอาชีพ เปนตน

ตัวอยางที ่5: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยองคกรสาธารณประโยชน

ราน Cabbages and Condoms (สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน)

จากความคดิท่ีวาชนบทคอืรากฐานของประเทศ เน่ืองจากประชากรไทยสวนใหญอยูในชนบทประกอบอาชพีหลัก

คือเกษตรกรรม แตเปนเกษตรกรรมแบบอาศัยนํ้าฝน ซึ่งทําใหเกิดความไมแนนอนและยั่งยืนตอรายไดของประชากรใน

Page 8: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 8

ชนบท ดังน้ัน งานท่ีสําคัญและทาทายคือการพัฒนาชนบท จึงไดมีการกอตั้ง สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA) ขึ้น

เพ่ือพัฒนาชนบทโดยไมแสวงหาผลกําไร โดย นายมีชัย วีระไวทยะ เมื่อปพ .ศ. 2517 PDA ใหการสงเสริมโครงการ “ธุรกิจ

เพ่ือสังคม” เปนท่ีแรกๆ ของประเทศไทย โดยใหภาคธุรกิจมีสวนรวมกับองคกรพัฒนาเอกชน ในลักษณะการอํานวยความ

สะดวกตอการพัฒนาขององคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการพัฒนาชนบท พัฒนาคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนท้ังในเขตชนบทและเขตเมืองใหดียิ่งขึ้น

• เงนิสนับสนุนและเงนิบริจาคจากภาคธรุกจิ ธนาคาร มลูนิธ ิสถานทูต รัฐบาลตางประเทศ

รายได

• เงินคาท่ีพักและอาหารจากราน “Cabbages and Condoms”

• สงเสริม สนับสนุนใหประชาชนในชมุชนเกดิความคดิริเร่ิมเขามามสีวนรวมในการพัฒนาชมุชนของตนเอง

การดําเนินงาน

• เปนผูประสานงาน และอํานวยความสะดวกใหแกภาคธุรกิจท่ีตองการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน

• สงเสริมการวางแผนครอบครัว และสรางความเขาใจเร่ืองโรคเอดส

• สงเสริมโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมชนบท โดยประสานงานกบัภาคธุรกจิและกระทรวงอุตสาหกรรม ในการให

ชาวบาน สหกรณชมุชน เปนหนวยผลิตสินคาในชนบท ทําใหเกดิการจางงาน 37 ลานบาท /ป ไดแก อุตสาหกรรม

เทียนหอม รองเทา เส้ือผา ตุกตา แปรรูปอาหาร

• ใหทุนและอุปกรณการศึกษา พรอมท้ังการฝกอาชีพใหแกนักเรียน เชน การผลิตเคร่ืองประดับ การซอมเคร่ืองยนต

• จัดอบรมและทัศนศึกษาดูงานกับหนวยงานจากหลายประเทศ ท้ังทักษะเชิงธุรกิจและเทคโนโลยี

• สงเสริมโครงการบาดาลลอยฟาและโครงการธนาคารผัก สรางระบบชลประทานท่ีสามารถจดัสรรนํ้าเพ่ือ

การเกษตรใหแกชาวบานไดท้ังป

• จัดตั้ง “Cabbages and Condoms” เปนรีสอรททองเท่ียว รานอาหาร และแหลงศึกษาดูงาน โดยรายไดท่ีไดรับ

จะถกูนําไปใชกบัการพัฒนาชนบทและการศกึษา

• สงเสริมกจิกรรมในชมุชน เชน การปลูกตนไมขาย การขายตนไมรมิทาง รานคาของสหกรณ รานหัตถกรรม รถ

ประชาธิปไตย รถส่ิงแวดลอม การกําจัดขยะ การใชธรรมชาติกําจัดศัตรูพืช สรางอางเก็บนํ้า โอง และสวม

โครงการสึนาม ิกองทุนหมนุเวยีน และบริการตรวจสุขภาพ เปนตน

ปจจุบันภาคธุรกิจจํานวนมากเร่ิมเขามามีบทบาทในการแสดงความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ซึ่งภาคเอกชน

เหลาน้ีมีท้ังกําลังทรัพย กําลังคน และความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน

โอกาสทางการตลาด

3. กิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยหนวยราชการ และรัฐวิสาหกิจ

กิจการเพ่ือสังคมเปนเคร่ืองมือสําคัญสําหรับนโยบายการกระจายอํานาจไปสูทองถิ่น ท่ีไมใชเพียงแคการกระจาย

อํานาจการตดัสินใจและการใหบริการสาธารณะไปอยู ท่ีรัฐบาลทองถิน่หรือการแปรรูปบริการของรัฐไปสูรฐัวสิาหกจิหรือ

Page 9: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 9

เอกชนแตอยางเดียว แตเปนการกระจายการใหบริการสาธารณะสําคัญตางๆ จากหนวยงานของรัฐบาลไปสูกิจการเพ่ือ

สังคม

ปจจุบันมีเพียงหนวยงานราชการบางแหงเทาน้ันท่ีเล็งเห็นถึงความสําคัญของการใหบริการท่ีเขาถึงประชนใน

ระดับชุมชนไดอยางแทจริง และใหอํานาจในการบริหารงานของชุมชนเพ่ิมมากขึ้น โดยริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมดวยเงินทุน

สนับสนุนในการเร่ิมตนกจิการ เพ่ือพัฒนาศกัยภาพและความสามารถของหนวยราชการ และรัฐวสิาหกจิในการใหบริการ

ระดับชุมชนท่ีมากขึ้น และยังเปนการสรางการมีสวนรวม ความใกลชิดกับชุมชนอีกดวย

อยางไรก็ตาม กิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ีประสบปญหาในเร่ืองของการบริหารจัดการเชิงธุรกิจ เน่ืองจากกลุมคนท่ี

ดําเนินงานสวนใหญมาจากภาครัฐ ซึ่งบางสวนขาดประสบการณในเชิงธุรกิจ รวมท้ังขาดศักยภาพท่ีจะทําใหกิจการ

เจริญเติบโตทางการเงินไดอยางยั่งยืน

ตัวอยางที ่6: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยหนวยราชการ และรัฐวิสาหกิจ

มูลนิธิโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร

ประเทศไทยเปนประเทศท่ีมคีวามแตกตางหลากหลายทางชวีภาพสูง จงึทําใหสามารถปลูกพืชสมนุไพรไดนานา

ชนิด หากแตยาและผลิตภัณฑจากธรรมชาติเหลาน้ีไดถูกแทนท่ีดวยสารสังเคราะหจากตางประเทศ ท้ังท่ีมีราคาแพงกวา

และตองนําเขา ทําใหประเทศไทยสูญเสียเงินใหตางชาติเปนจํานวนมาก โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรซึ่งเปน

โรงพยาบาลรัฐ จึงถูกสรางขึ้นเพ่ือเปนศูนยทดลอง บุกเบิก คนควาวิจัย และศึกษาดานสมุนไพร จนสามารถนําสมุนไพรไทย

มาผลิตเปนยารักษาโรค เคร่ืองสําอาง และผลิตภัณฑตางๆ ซึ่งเปนตัวอยางท่ีชัดเจนของกิจการเพ่ือสังคมในเมืองไทยท่ี

กอตั้งมานานกวา 30 ป

ปจจุบันโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรสามารถผลิตยา และผลิตภัณฑจากสมุนไพรไดจานวน 40 ชนิด มลูคา

ขายเฉล่ียเดือนละ 2-3 ลานบาท ซึ่งทางโรงพยาบาลมีแหลงจําหนายยาและผลิตภัณฑจากสมุนไพรหลายแหลง อาทิเชน

ศูนยบริการผลิตภัณฑสมุนไพรอภัยภูเบศร เซเวน -อีเลฟเวนท่ัวประเทศ ในรูปแบบ 7 - Catalog THE MALL และ JUSCO

ทุกสาขาท่ัวประเทศ และทางเวบ็ไซตของทางโรงพยาบาลเอง

พัฒนาการใชสมุนไพร การแพทยแผนไทย สาธิตใหความรูเกี่ยวกับสมุนไพร และสงเสริมใหมีการบริโภคสมุนไพรไทย

พันธกิจ

• บริการทางการแพทยแผนไทย

รายได

• ขายผลิตภัณฑเสริมความงาม และยาสมุนไพร

• บริการทัวรเพ่ือสุขภาพ

• อบรมทักษะการนวดแผนไทยชนิดตางๆ

• ใหบริการทางการแพทยแผนไทยและการใชยาสมนุไพรในการรักษาโรค

การดําเนินงาน

• พัฒนา ผลิตยาและผลิตภัณฑจากสมุนไพร อยางมีมาตรฐาน

Page 10: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 10

• ฝกอบรมพัฒนาประสิทธิภาพของบุคคลากรดานสาธารณะสุขและกลุมหมอนวดไทย

• สนับสนุนการปลูกสมนุไพรเพ่ือเปนวตัถดุบิ เชน หาแหลงเงนิกูใหกบัเกษตรกร หาท่ีดนิท่ีสามารถทําประโยชนใน

การปลูกสมนุไพร เปนตน

• รับซื้อพืชสมุนไพรเหลาน้ัน ทําใหเกิดการสรางงาน สรางรายไดแกชาวบานในชุมชน โดยจะแบงโควตาในการปลูก

ตามความตองการสมุนไพรแตละชนิด

• จัดตั้งพิพิธภัณฑการแพทยแผนไทย เปนท่ีรวบรวมประวัติความเปนมา และความรูตางๆ

• หาตลาดวัตถุดิบสมุนไพร มีการจัดการท่ีดี มีการทําสัญญาลวงหนา มีการประกันราคา

• โครงการอ่ืนๆ เชน โครงการทัวรสุขภาพ จัดทําสวนสมุนไพรสาธิต จัดทําคูมือการปลูกและการเก็บเกี่ยวสมุนไพร

ใหแกเกษตรกรท่ีสนใจ เปนตน

ยาสมุนไพร ผลิตภัณฑท่ีไดจากสมุนไพรธรรมชาติ และการนวดแผนไทย ไดรับการสนใจและยอมรับอยาง

แพรหลายจากท้ังชาวไทย และชาวตางชาติ นอกจากน้ีชองทางการจําหนายและสงออกไปยังตางประเทศยังสามารถทําได

สะดวกและตนทุนต่ํา

โอกาสทางการตลาด

4. กิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยผูประกอบการใหม

ปจจุบัน ประเทศไทยกําลังตื่นตัวกับกระแสการสรางผูประกอบการใหมเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจไทย โดยมีกลุม

ผูประกอบการใหมบางกลุม โดยเฉพาะอยางยิ่ง คนรุนใหมท่ีสนใจจัดตั้งธุรกิจท่ีนอกจากจะสรางผลกําไรแลว ยังมีสวนชวย

ในการแกปญหาและพัฒนาสังคม สุขภาวะ และ /หรือส่ิงแวดลอม กลุมผูประกอบการรุนใหมดังกลาว เปนกลุมเปาหมาย

สําคญัในการพัฒนากจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทย

กิจการเพ่ือสังคมท่ีตั้งขึ้นโดยผูประกอบการใหมมักจะประสบปญหาทางดานเงินทุนอยางมาก ท้ังในการระดม

เงินทุนเร่ิมตนกิจการ และเงินทุนในการขยายกิจการ เน่ืองจากการปลอยเงินกูของธนาคารพาณิชยในปจจุบันสําหรับธุรกิจ

ขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) น้ัน มีอยูอยางจํากัด มีหลักเกณฑและขั้นตอนในการขอกูท่ีคอนขางจะซับซอน ในขณะ

ท่ีการเขาถึงเงินทุนเชิงพาณิชยจากแหลงอ่ืน เชน ตลาดทุน และบริษัทหลักทรัพย แทบจะเปนไปไมไดเลย ปญหาเร่ือง

เงินทุนจึงเปนปญหาสําคัญมากท่ีตองดําเนินการเพ่ือพัฒนากิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ี นอกจากน้ีแลว การพัฒนาศักยภาพ

และขีดความสามารถในการดําเนินธุรกิจ ก็เปนอีกหน่ึงความทาทายสําคัญ เน่ืองจากผูประกอบการสวนใหญไมไดมีพ้ืน

ฐานความรูดานเศรษฐศาสตร และบริหารธรุกจิโดยตรง หรือถามกีข็าดประสบการณในการดาํเนินกจิการธุรกจิ

ตัวอยางที ่7: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยผูประกอบการใหม

OpenDream

การส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ เปนกุญแจสําคัญท่ีจะชวยนําส่ิงท่ีองคกร สาธารณประโยชน ตองการจะส่ือหรือ

เปล่ียนแปลงไปสูกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะผูบริจาคและนักลงทุน เพ่ือใหสามารถดึงดูดเงินทุนและหุนสวนซึ่งจะชวยเพ่ิม

ผลลัพธในการทํางานใหดียิ่งขึ้นไป

OpenDream คือ กิจการเพ่ือสังคมซึ่งดําเนินการโดยเยาวชนท่ีทุมเทสรางเวทีความรวมมือเพ่ือประโยชนตอสังคม

Page 11: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 11

และชวยใหองคกรท่ีเปนประโยชนตอสังคมใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ดวยรูปแบบธุรกิจท่ี

กําหนดคาบริการองคกรขนาดใหญท้ังภาคเอกชนและภาคสังคมในอัตราท่ีสูงกวาองคกรพัฒนาเอกชนขนาดเล็ก เพ่ือนํา

รายไดจากองคกรขนาดใหญไปอุดหนุนองคกรพัฒนาเอกชนขนาดเล็ก OpenDream ไดกลายเปนผูริเร่ิมและสราง

แรงผลักดันท่ีสําคัญสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งชวยใหภาคประชาสังคมมีความสามารถใน

การสรางการเปล่ียนแปลงทางสังคม เชน การสงเสริมสุขภาพ การหยุดยั้งการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ และการศึกษา

มากขึ้น

ชวยใหองคกรเพ่ือสังคมสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอส่ือสารและสรางเครือขายเพ่ือสังคมให

ขยายในวงกวาง

พันธกิจ

• การผลิต ปรับปรุง และพัฒนาเวบ็ไซต

รายได

• การใหคาํปรึกษาดานเทคโนโลยสีารสนเทศ

• ออกแบบและพัฒนาเว็บไซตท่ีมีคาใชจายต่ํา และเว็บไซตสําเร็จรูป

การดําเนินงาน

• พัฒนาลูกเลนและโปรแกรมออนไลน

• สรางเครือขายชุมชนออนไลน

• ใหคาํปรึกษาเกีย่วกบัเทคโนโลยสีารสนเทศ

• ใหความรูและสนับสนุนซอฟทแวร Open Source

• จัดกิจกรรม BarCamp ในรูปแบบการจดัสัมมนาใหความรูในเร่ืองตางๆ

ความตองการคําปรึกษาดานเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกรพัฒนาเอกชนจํานวนมหาศาลกวา 2 แสนองคกรใน

ประเทศไทย และอีกจํานวนมากในตางประเทศ แตองคกรเหลาน้ีมีรายไดไมมากพอท่ีจะไปจางบริษัทขนาดใหญ

โอกาสทางการตลาด

ตัวอยางที่ 8: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยผูประกอบการใหม

นิตยสาร BE

คณุอารันดร อาชาพิลาส ไดนําแนวความคิดของนิตยสาร "BIG ISSUE" ซึ่งเปนนิตยสารของอังกฤษท่ีผลิตขึ้นเพ่ือ

เพ่ิมชองทางการสรางรายไดใหแกผูดอยโอกาส เน่ืองจากกอนหนาน้ี ในอังกฤษมีปญหาฉกชิงวิ่งราวมาก เพราะคนกลุมหน่ึง

ไมมีอาชีพ BIG ISSUE จึงถูกผลิตออกมาให คนกลุมน้ีมีอาชีพขายนิตยสาร เพ่ือไมใหพวกเขาไปกออาชญากรรม คณุอา

รันดรจึงไดเร่ิมแนวคิดของการทําธุรกิจเพ่ือสังคม (Social Business) เพราะเปาหมายธุรกิจไมใชเพ่ือรายไดสูงสุด แตเพ่ือลด

จํานวนคนผูดอยโอกาสใหเหลือนอยท่ีสุด รวมถึงการเพ่ิมทางเลือกใหกับผูดอยโอกาสในการหาอาชีพเพ่ือดูเเลตนเอง โดย

มุงหวังใหเปนแรงบันดาลใจใหมีธุรกิจเพ่ือสังคมเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากเปนส่ิงท่ีสามารถชวยเหลือเพ่ือนรวมสังคมได และมี

ความสุขไปพรอมๆ กบัการทํางาน

Page 12: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 12

ชวยเหลือผูดอยโอกาสใหมีอาชีพ รายได สามารถพึ่งพาตนเองได และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น สนับสนุนการทํางานภาคสังคม

ของมูลนิธิตางๆ สรางแรงบันดาลใจใหเยาวชนหันมาสนใจการทํางานท่ีคํานึงถึงสังคมและส่ิงแวดลอมมากกวาผล

ประกอบการท่ีมากขึ้น

พันธกิจ

จากการจัดจําหนายนิตยสาร แบงเปน

รายได

• 60% จัดจําหนายผานผูดอยโอกาส เปดโอกาสใหผูดอยโอกาสรับนิตยสาร BE ไปจําหนายตามแหลงผูคนในตัว

เมืองมหานคร ซึ่งรายไดหลังจากหักตนทุน จะถูกนํากลับมาผลิตนิตยสารเพ่ือใหผูดอยโอกาสไดนําไปขายเพ่ิมและ

จะมอบใหผูดอยโอกาสท่ีจําหนาย

• 25% ผานมูลนิธิ (MEMBERSHIP) การสมัครสมาชิกนิตยสาร BE ผูสมัครสามารถเลือกบริจาคเงินไดโดยขีดครอม

ชื่อมูลนิธิใดมูลนิธิหน่ึง ท่ีไดเขารวมโครงการ เชน UNICEF, มูลนิธิกระจกเงา , มูลนิธิบานนกขมิ้น , มูลนิธิชวยคน

ตาบอดแหงประเทศไทย, มูลนิธิสรางสรรคเด็ก, มูลนิธิชางแหงประเทศไทย ฯลฯ

• 15% ผานสายสง (PROFESSIONAL DISTRIBUTOR) บริษทัสายสง ท่ีมีเอเยนกวา 600 สาขาท่ัวกรุงเทพ ฯ เพ่ือ

ความสะดวกแกการเขาถึงของคนกรุงเทพฯ

มีผูดอยโอกาสทางสังคมไทยจํานวนมาก ที่ยังไมสามารถเขาถึงความชวยเหลือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค

ประชาสังคมซึ่งมีโอกาสอยางมากในการชักจูงเขามาเปนเครือขายผูจัดจําหนายนิตยสาร BE ซึ่งในอนาคตจะชวยใหเขา

สามารถพ่ึงพาตนเองได และเปนการลดคาใชจายภาครัฐในการชวยเหลือกลุมคนกลุมน้ี

โอกาสทางการตลาด

5. กิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยธุรกิจเอกชน

กิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ี เปนธุรกิจท่ีตั้งขึ้นโดยภาคเอกชน ซึ่งบางสวน เปนการตอยอดมาจากกิจกรรมท่ีแสดง

ความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ขององคกร ท่ีถูกพัฒนาใหเปนธุรกิจเพ่ือสังคมท่ีมี

ความตอเน่ืองและยั่งยืน นอกจากน้ีแลว ในหลายๆ กรณี กิจการเพ่ือสังคมในกลุมธุรกิจเอกชนไดถูกตั้งขึ้นเพ่ือตอบโจทย

ความตองการของภาคธุรกิจโดยตรง เชน ธุรกิจกําจัดกากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือการตั้งสถาบันการศึกษา

เพ่ือพัฒนาบุคลากรสําหรับทํางานในกจิการ เปนตน ใหสามารถแกไขปญหา และ/หรือพัฒนาสังคมไดในเวลาเดียวกัน

เน่ืองจากกิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ีจัดตั้งโดยธุรกิจเอกชน จึงมักจะไมประสบปญหาทางดานเงินทุนในการจัดตั้ง

และการขยายกิจการ รวมท้ังยังมีความเชี่ยวชาญในการดําเนินธุรกิจเปนอยางดี เพราะมีการบริหารจัดการโดยภาคเอกชน

นอกจากน้ีแลว กิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ีมีแนวโนมท่ีจะเติบโตไดดี และมีความยั่งยืนท้ังในดานการเงิน และการแกปญหา

และพัฒนาสังคม รวมท้ังมีขนาดท่ีใหญและขยายผลได จึงสามารถเปนสวนสําคัญในการขับเคล่ือนการแกไขปญหาสังคม

สุขภาวะ และ /หรือส่ิงแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีกิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ีอยูนอย

เน่ืองจากภาคเอกชนยังขาดความรู ความเขาใจ ในเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม และยังไมเห็นศักยภาพในการทํากําไร และการ

แกไขปญหาและพัฒนาสังคม และส่ิงแวดลอมจากกิจการในลักษณะน้ี

Page 13: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 13

รูปแบบของกิจการเพ่ือสังคมในกลุมน้ี อยูในรูปแบบธุรกิจ เชน บริษัท สังคมสุขภาพ จํากัด ท่ีทางกลุมบางจาก

จัดตั้งขึ้น เพ่ือบริหารจัดการรานเลมอนฟารม ซึ่งเปนรานคาในปมนํ้ามันบางจากท่ีนําผลิตภัณฑจากชุมชนมาขาย เปนการ

สรางตลาดใหกับวิสาหกิจชุมชน

ตัวอยางที ่9: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมที่ตั้งขึ้นโดยธุรกิจขนาดใหญ

บริษัท สังคมสุขภาพ จํากัด (รานเลมอนฟารม)

รานเลมอนฟารม ไดรับการสนับสนุนจาก บริษทั มงคลชยัพัฒนา จาํกดั รวมกบั บริษทั บางจาก จาํกดั (มหาชน)

โดยเร่ิมทดลองเปดดาํเนินการแหงแรก ณ สถานีน้าํมนับางจาก ถนนประชาชืน่ “เลมอนฟารม” เปนรานสุขภาพ โดยเปน

ตลาดรับสินคาธรรมชาติ ผลิตภัณฑปลอดสารพิษ สินคาเกษตรแปรรูปจากชุมชนทองถิ่น มาจําหนายตามแนวทาง

เศรษฐกจิพอเพียง และเปนสวนหน่ึงท่ีชวยรองรับปญหาการวางงาน

• เปนองคกรธุรกิจเพ่ือสังคม ท่ีใชกิจกรรมการตลาดเปนปจจัยขับเคล่ือนงานดานสงเสริมสุขภาพผูบริโภคชวยผูผลิต

ในชนบท และการรวมดูแลส่ิงแวดลอม

พันธกิจ

• พัฒนาสรางสรรคอาหารเกษตรอินทรีย และอาหารธรรมชาติใหเกิดมากขึ้น เพ่ือใหผูบริโภคไดมีอาหารท่ีดี

เพียงพอตอสุขภาพ

• ชักชวนและเชื่อมโยงเกษตรกรขนาดเล็ก ใหเปล่ียนวิถีการผลิต จากเกษตรเคมีท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพและ

ส่ิงแวดลอม สูเกษตรอินทรียและเศรษฐกิจพอเพียงโดยสรางปจจัยตลาดรองรับผลผลิตท่ีเกิดขึ้น และรับซื้อใน

ราคาเปนธรรม (Fair Trade) อยางตอเน่ือง

• สนับสนุนใหผูบริโภคมีสุขภาพดี ดวยการเปล่ียนวิถีการบริโภค และปรับการใชชีวิตสูวิถีธรรมชาติ โดยการสงเสริม

องคความรู การฝกอบรมดานการบริโภคในแนวทางธรรมชาตบิาํบัด เกษตรธรรมชาต ิการบริหารจติและกายท่ี

สมดลุ

จําหนายสินคาเกษตรปลอดสารพิษแกผูบริโภค

รายได

• จัดกิจกรรมทางการตลาดเพ่ือสงเสริมและเผยแพรใหคนตระหนักถึงสุขภาพในการเลือกบริโภคสินคาตางๆ

การดําเนินงาน

• ประชาสัมพันธ และเชื่อมโยงเกษตรกรขนาดเล็กใหหันมาทําเกษตรอินทรีย เพ่ือเพ่ิมปริมาณสินคาปลอดสารพิษ

ในตลาด เพ่ือจดัจาํหนายในรานเลมอนฟารม

• สงเสริมองคความรู การฝกอบรม ดานการบริโภคสินคาเพ่ือสุขภาพ

• จัดหา และคัดสรรอาหารธรรมชาติ คุณภาพสูงเพ่ือเปนทางเลือกสุขภาพดี เพ่ือจัดจําหนายในรานเลมอนฟารม

การบริโภคสินคาเพ่ือสุขภาพและปลอดสารพิษน้ัน เปนแบบทางเลือกท่ีไดรับความสนใจจากคนไทย และคนท่ัวโลก

เพ่ิมขึ้นมาก สืบเน่ืองจากสภาวะโลกรอน และกระแสรักสุขภาพท่ีกําลังมาแรง อีกท้ังรัฐบาลก็ใหความสําคัญเพ่ิมมากขึ้นใน

ประเด็นดานส่ิงแวดลอม ทําใหโอกาสในการเติบโต หรือเพ่ิมชองทางการจําหนายสามารถทําไดมากขึ้น

โอกาสทางการตลาด

Page 14: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 14

6. กิจการเพื่อสังคมประเภทอื่นๆ

นอกเหนือจากกิจการเพ่ือสังคมท่ีกลาวมาขางตน ยังมีกิจการเพ่ือสังคมท่ีไมสามารถจัดเขากลุมท่ัวไปได ท้ัง

กิจการเพ่ือสังคมท่ีจัดตั้งขึ้นโดยสถาบันทางศาสนา วัด สถาบันการศึกษาตางๆ เชน สถาบันการศึกษาระดับทองถิ่น องคกร

พัฒนาชุมชนทองถิ่น องคกรศาสนาทองถิ่นท่ีเปนศูนยรวมและเชื่อมโยงคนในทองถิ่น กิจการเหลาน้ีมีแนวโนมท่ีจะสามารถ

สงเสริมและสนับสนุนของหนวยงานตางๆ เพ่ือชวยเหลือคนในทองท่ีน้ันๆ เพ่ือแกปญหาสังคมและส่ิงแวดลอม หรือ

แมกระท่ังการใหบริการเสริมหรือทดแทนบริการของหนวยงานรัฐโดยตรง เปนตน

อยางไรก็ตาม กิจการเพ่ือสังคมท่ีถูกตั้งขึ้นโดยองคกรท่ีกลาวมาขางตนจะสามารถดําเนินการไดจากการ

สนับสนุนจากองคกรตางๆ ซึ่งเปนแหลงเงินทุนขนาดใหญ ไมวาจะเปนภาครัฐ หรือวัด ดังน้ัน เงินทุนสําหรับกิจการเพ่ือ

สังคมในกลุมน้ีจึงถือไดวามีความจําเปน โดยเฉพาะในการเริ่มตนกิจการ

ตัวอยางที ่10: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมประเภทอื่นๆ

Thai Tribal Crafts Fair Trade (TTC)

ในสมัยโบราณ ชาวเขาใชชีวิตแบบอพยพไปตามพ้ืนท่ีท่ีอุดมสมบูรณ โดยการทําการเกษตรของชาวเขาเปนใน

ลักษณะชาวบานท่ีขาดความรูในการรักษาสภาพดิน เมื่อสภาพดินบริเวณเดิมหมดความสมบูรณจนไมสามารถทํา

การเกษตรไดอีกตอไป ชาวเขาเหลาน้ีก็จะอพยพไปยังพ้ืนท่ีใหมท่ียังไมถูกบุกรุก แตทวาในปจจุบันท่ีดินท่ีอุดมสมบูรณและ

ยังไมมีเจาของไมมีอีกตอไป ชาวเขาเหลาน้ีจึงขาดรายไดและแหลงอาหาร อาชีพเสริมจึงจําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีวิต

ของพวกเขา TTC ไดตระหนักถึงปญหาเหลาน้ี จึงไดเขาไปชวยเหลือ และสงเสริมการผลิตสินคาหัตถกรรมของชาวเขาขึ้น

TTC เปนองคกร Fair Trade ในประเทศไทย ไดรบัการสนับสนุนจาก Christian Service Foundation (Baptist)

และกอตั้งขึ้นท่ีเชียงใหม ปจจุบันมีกลุมชาวเขา 7 กลุมใหญเขารวมเปนภาคีของ TTC โดย TTC มีการผลิตสินคา 3 ประเภท

คือ ผลิตท้ังกระบวนการจนเปนผลิตภัณฑ ผลิตวัตถุดิบ และผลิตเปนผลิตภัณฑ โดยแบงไปตามความเชี่ยวชาญ และ

ความสามารถของชาวเขาแตละกลุม

คงความเปนองคกร Fair Trade สรางโอกาส รายได และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย

พรอมท้ังอนุรกัษงานศลิปะหัตถกรรม และสนับสนุนสงเสริมกจิกรรมทางศาสนาคริสต

พันธกิจ

ขายและสงออกสินคาหัตถกรรมชาวเขาไปตางประเทศ เชน อเมริกา ยุโรป สแกนดิเนเวีย ออสเตรเลีย ญ่ีปุน และเอเชีย

รายได

• อบรมชาวเขาเกีย่วกบักระบวนการการผลิตอยางเปนระบบ และมปีระสิทธิภาพ

การดําเนินงาน

• หาตลาดและสงออกสินคาผานชองทางตางๆ

• ออกแบบ และควบคุมการผลิต ใหไดคุณภาพ และเปนไปตามมาตรฐานการผลิตขององคกร Fair Trade ท้ังตอ

ผูผลิตและผูบริโภค

• สรางเครือขายภาคีผูเกี่ยวของ เชน สหกรณ รานคา เปนตน

Page 15: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 15

• บอกเลาเร่ืองราว เผยแพรขอมูลของชาวเขาท่ีเปนภาคีของ TTC

• ใหการสนุนดานการศึกษา สุขภาพอนามัย และการเกษตรอยางถูกวิธีแกชาวเขา

• สงเสริมการเขาโบสถ และประกอบกจิกรรมทางศาสนาคริสต

สินคาของ TTC ไดรบัการยอมรับวาเปนสินคาท่ีผานมาตรฐาน Fair Trade ซึ่งในปจจุบันกําลังเปนกระแสสําหรับ

ผูบริโภคท่ีตองการสนับสนุนสินคาท่ีเปนธรรมตอผูผลิต ผูบริโภค และส่ิงแวดลอม

โอกาสทางการตลาด

ตัวอยางที่ 11: ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมประเภทอื่นๆ

โรงเรียนรุงอรุณ

ป 2540 โรงเรียนรุงอรุณเร่ิมตนเปดดาํเนินการสอนเปนปการศกึษาแรก ระดบัอนุบาล ประถมศกึษา และ

มัธยมศึกษา โดยอาศัยแนวทางการบริหารโรงเรียนรุงอรุณใหเปนองคกรท่ีมิไดแสวงหากําไร แตเปนทางเลือกใหมสําหรับ

เยาวชนในระบบการศกึษาของไทย และเปนหนวยงานท่ีใหบริการทางวชิาการแกสังคม

โรงเรียนรุงอรุณมตีนทุน (Cost of Production) ท่ีสูงกวาโรงเรียนท่ัวไป เพ่ือนํามาสรางบรรยากาศและกิจกรรมเพ่ือ

การเรียนรูเชิงบูรณาการของนักเรียน จึงทําใหผูปกครองท่ีตองการใหบุตรหลานมีจุดเดนท่ีแตกตางจากเด็กอ่ืน ยินยอมจาย

คาเลาเรียนท่ีสูงขึ้น โดยเฉพาะเมื่อโรงเรียนเปดโอกาสใหผูปกครองเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนเปนคร้ัง

คราว จึงทําใหผูปกครองตระหนักถึงคุณคาและยอมรับราคาท่ีเพ่ิมขึ้นได

นอกจากน้ี วิธีการสอนท่ีเปนแบบเฉพาะตัว ยังเปนจุดขายท่ีมีคุณคาและเลียนแบบไดยาก จึงทําใหโรงเรียนรุงอรุณ

เติบโตและขยายกิจการอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อการแขงขันในยุคโลกาภิวัตนเรียกรองรูปแบบการศึกษาท่ีเปดกวางตอ

การเรียนรูและสอนใหผูเรียนมีทักษะในการคนควาเพ่ือตอยอดความรูดวยตนเอง

3) ความสาํคัญของกิจการเพือ่สงัคมตอประเทศไทย

การเจริญเติบโตของภาคกิจการเพ่ือสังคม นําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจท่ียั่งยืน และสังคมท่ีมีความเทาเทียม

ยุติธรรม และมีปญญามากขึ้น กิจการเพ่ือสังคมจึงจัดไดวาเปนนโยบายท่ีสามารถกระตุนเศรษฐกิจไดในระยะยาว ท้ังน้ี

สามารถแจงประโยชนของกิจการเพ่ือสังคมตอการพัฒนาท่ียั่งยืนของประเทศไทยได เปน ๔ ประเด็นหลัก ดังตอไปน้ี

1. สรางเสริมกลไกตลาดที่มีคุณธรรมและย่ังยืน

กิจการเพ่ือสังคมเปนตัวเชื่อมโยง และขับเคล่ือนกลไกตลาดสําคัญ เชน การบริโภคท่ียั่งยืน การผลิตท่ียั่งยืน และ

การลงทุนท่ีรบัผิดชอบตอสังคม (Socially Responsible Investing: SRI)

2. พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืนขยายผลได

Page 16: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 16

กิจการเพ่ือสังคม เปนธุรกิจท่ีมุงเนนการกระจายผลประโยชนสูชุมชนและผูดอยโอกาส และเคร่ืองมือสําคัญใน

การแกไขและพัฒนาสังคม สุขภาวะ และส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน โดยไมจํากัดดวยทุนใหเปลาเหมือนโครงสรางขององคกร

พัฒนาเอกชน (NGO)

3. สรางเศรษฐกิจใหมแหงคุณธรรมและความย่ังยืน

กิจการเพ่ือสังคมสรางมูลคาทางเศรษฐกิจท่ีมีคุณธรรมและคุณคาเชิงสังคม และเปนเคร่ืองมือกระตุนเศรษฐกิจ

โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับรากหญาไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกท้ังยังกอใหเกิดการสรางงานในระบบเศรษฐกิจ และเปนตัว

ดึงดูดใหคนรุนใหมมาเปนผูประกอบการเพ่ือสังคม

4. พัฒนาคุณภาพบริการสาธารณะ

กิจการเพ่ือสังคมสรางนวัตกรรม และรูปแบบใหมของบริการสาธารณะ ท้ังบริการโดยตรงตอสังคม และการ

ประมูลจากรัฐบาล เชน การจัดการของเสีย พลังงานทดแทนระดับชุมชน และการพัฒนาอาชีพ และชวยเหลือผูดอยโอกาส

และผูสูงอายุในสังคมไทย

4) พัฒนาการของกิจการเพือ่สงัคมท่ัวโลกเปรียบเทียบกับประเทศไทย

ปญหาสังคมและส่ิงแวดลอมในดานตางๆ ลวนมผีลสวนหน่ึงมาจากการดาํเนินกจิกรรมทางเศรษฐกจิท่ีผานมา

ซึ่งมุงเนนถึงการแสวงหากําไรสูงสุดโดยมิไดคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น อันเปน “ตนทุน” ท่ีแฝงอยูในการดําเนินกิจกรรม

ทางเศรษฐกิจ ถาหากหนวยธุรกิจยังดําเนินการโดยไมคํานึงถึงตนทุนสวนน้ีตอไป ปญหาก็จะเพ่ิมพูนความรุนแรงมากขึ้น

เร่ือยๆ จึงเปนท่ีมาใหเกิดหนวยธุรกิจท่ีตระหนักถึงความสําคัญของตนทุนทางสังคมและส่ิงแวดลอมน้ี โดยมุงหวังใหเกิด

การสรางสมดลุระหวางการไดรับผลตอบแทนทางธรุกจิ และการชวยเหลือสังคมอยางมีคุณธรรม หนวยธุรกิจประเภทน้ีวา

เรียกวา กิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise)

การสนับสนุนและสงเสริมกิจการเพ่ือสังคมจากภาครัฐและภาคเอกชนในดานนโยบาย การเงิน และการสราง

สภาพแวดลอมท่ีเอ้ือใหเกิดการเติบโตของกิจการเพ่ือสังคมผานกลไกการสนับสนุนตางๆ น้ันมีความสําคัญในสังคม

สมัยใหมอยางเรงดวน โดยเฉพาะการสนับสนุนกลุมกิจการเพ่ือสังคมท่ีทํางานในประเด็นปญหาของสังคมและส่ิงแวดลอม

กลุมที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยเฉพาะผูดอยโอกาส และคนรุนใหมท่ีมีพลังความสามารถในการคิดคน

นวตักรรมใหมๆ ในการแกปญหาและพัฒนาได การสนับสนุนกลุมคนเหลาน้ีทําใหเกิดกิจการเพ่ือสังคมจํานวนมาก รวมท้ัง

เปนการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจท่ีมีคุณธรรมและคุณคาเชิงสังคม นําไปสูสามารถนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจท่ียั่งยืน

และสังคมท่ีมีความเทาเทียม ยุติธรรม และมีปญญามากขึ้น

กิจการเพ่ือสังคมใชการแกปญหาทางธุรกิจในการแกปญหาและพัฒนา ซึ่งมีความแตกตางและมีบทบาทท่ีสําคัญ

ในการสรางความยั่งยืนแกสังคมโดยรวม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การพัฒนานวตักรรมใหมๆ ไปสูสาธารณะ ท้ังการปฎิรปู

ทางดานส่ิงแวดลอม และสนับสนุนการเปล่ียนแปลงพฤตกิรรมผานการเรียนรูและพัฒนาทางสังคม สงเสริมและผลักดันให

เกิดเศรษฐกิจสีเขียว เชน การใชพลังงานทดแทนในระดบัชมุชน การเกษตรแบบยั่งยืน และการออกแบบท่ีเปนมิตรกับ

ส่ิงแวดลอม ซึง่นโยบายหรือการสนับสนุนจากภาครัฐลวนแตมผีลโดยตรงตอการประกอบธุรกจิประเภทน้ี โดยจะสามารถ

ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพ และความสามารถในการแขงขันของกิจการเพ่ือสังคม ดังเชนตัวอยางของประเทศท่ีสงเสริมกิจการ

เพ่ือสังคม เชน ประเทศอังกฤษ ฟนแลนด แคนาดา อเมริกา สิงคโปร และเกาหลี เปนตน

Page 17: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 17

ตัวอยางกิจการเพื่อสังคมในประเด็นสําคัญตาง ๆ

ตัวอยางประเด็น ตัวอยางในตางประเทศ

การเงินชุมชน Grameen Bank ในประเทศบังคลาเทศ ใหสินเชื่อขนาดเล็ก (Microcredit) เพ่ือคน

ยากจนและผูดอยโอกาสในระดับชุมชน ดําเนินงานมากกวา 20 ป และ สามารถขยาย

ฐานลูกคาไดกวา ๒๕ ลานคนท่ัวโลก

ดานชุมชน Playpumps International โดย Trevor Field ประเทศแอฟริกาใต ไดนําเอาความคิด

เร่ืองการทําเพลยปมของเทรเวอรมาใชแกปญหาเร่ืองการขาดแคลนนํ้าท่ี แอฟริกาใต

เพลยปมเปนมาหมุนสําหรับเด็กท่ีชวยสูบนํ้าสะอาดสําหรับการอุปโภคบริโภคจากบอ

ใตดินไปท่ีแทงคเก็บนํ้าทุกๆ คร้ังท่ีเด็กๆ หมนุเลน และแทงคนํ้าน้ีก็เชื่อมตอกับทอนํ้าใน

ชุมชนเพ่ือใหทุกคนไดมีนํ้าสะอาดใช

สุขภาพ Aravind Eye Hospital and Aurolab เมืองมาดูไร ประเทศอินเดยี ท่ีชวยใหเทคโนโลยี

และบริการทางการแพทยสามารถเขาถึงผูคนไดมากขึ้น ในราคาที่ชาวบานสามารถ

จายได และองคกรก็ยังคงมีเสถียรภาพทางการเงิน Aravind system ไดพัฒนาการ

รักษาพยาบาลดวงตาท่ีมีคุณภาพใหแกผูปวยจํานวนมากเพ่ือชวยลดตนทุน

สุขภาพ One World Health โดย Dr. Victoria Hale ซานฟรานซสิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา

เปนบริษัทผลิตเวชภัณฑท่ีไมหวังผลกําไรแหงแรกของโลกท่ีพัฒนายารักษาโรคตางๆ

โดยผลิตยาตามความตองการของตลาดแทนที่จะมุงเนนเรื่องผลกําไรเพียงอยางเดียว

ผลก็คือไดมีการพัฒนายารักษาโรคตัวใหมๆ สําหรับประเทศเขตรอนอยางเชน โรค

มาลาเรีย ทองรวง และโรคพยาธิใบไมในกระแสเลือด

สื่อสรางสรรค Participant Media ผลิตส่ือบันเทิงไปพรอมๆ กับการใหขอมูลเชิงสังคม และ

ส่ิงแวดลอม ตัวอยางผลงานคือ The Inconvenient Truth

การขายสินคาที่เปนธรรมตอ

ผูผลิตในชุมชน (Fair-trade)

Community-friendly Movement ขายสินคาท่ีผลิตจากชุมชนหางไกลในชนบทอินเดีย

โดยสรางระบบขายสงไปยังอเมริกาและยุโรป

การสรางงานใหผูดอยโอกาส

และ ผูพิการ

Digital Divide Data รับงาน Outsource จากสหรัฐอเมริกา ประเภทงาน IT เบ้ืองตน

เชน งานขอมูลพ้ืนฐาน แลวนํามาจางและพัฒนาผูดอยโอกาสในกัมพูชา และลาว

บริการตางๆ สําหรับงานภาค

สังคม

Idea!s Creative เปนกลุมคนรุนใหมท่ีใหบริการโฆษณาและส่ือสารในลักษณะ Ad

Agency ใหองคกรเพ่ือสังคมในฟลิปปนส

4.1 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในอังกฤษ

ตั้งแต ป ค.ศ. 1997 ภาคสวนท่ี 3 (Third Sector) ซึ่งก็คือองคกรเอกชนท่ีไมขึ้นตอรัฐบาล มีมูลคาเปนตัว

ขับเคล่ือน และผลกําไรท่ีไดนํากลับมาลงทุนเพ่ือเปาหมายทางสังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม เชน กลุมอาสาสมัคร

กิจการเพ่ือสังคม องคกรการกุศล มูลนิธิ กลุมสหกรณ และเงินรวมทุน ไดเติบโตอยางรวดเร็วท้ังดานขนาด รายได ผลทาง

สังคมและส่ิงแวดลอม คนจํานวนมากอาสาเขามาทํางานดานนี้ จนทําใหภาคสวนท่ี สาม ท่ีเปนกิจการเพ่ือสังคม มีขนาด

กวา 5% ของธุรกิจปกติ หรือกวา 62,000 กิจการ สามารถสรางรายไดใหแกประเทศมากกวา 24,000 ลานปอนดตอป ภาค

Page 18: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 18

สวนท่ีสาม ไดเขามามบีทบาทสําคญัในการสนับสนุนการทํางานของชมุชน แกไขปญหาความไมเสมอภาค สรางโอกาส

และพัฒนาประสิทธิภาพของบริการสาธารณะ

รัฐบาลอังกฤษตระหนักถึงความสําคัญของภาคสวนท่ี สาม ในการเปล่ียนแปลงทางสังคม ส่ิงแวดลอม และ

เศรษฐกิจของประเทศ จึงไดกอตั้งสํานักงานภาคสวนท่ี สาม (Office of the Third Sector: OTS) ขึ้น เมื่อเดือนพฤษภาคม

ค.ศ. 2006 ภายใตัรัฐบาล โทน่ี แบลร (Tony Blair) และอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักคณะรัฐมนตรี (Cabinet

Office) ซึ่งเปนศูนยกลางของรัฐบาล

สํานักภาคสวนท่ีสาม จะดําเนินงานในลักษณะท่ีไมใชการเขาไปสรางกิจการเพ่ือสังคมโดยตรง แตเปนการเขาไป

รวมทํางานกบัภาคสวนท่ีสามท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และเนนสรางสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเติบโตของภาคสวน

ท่ีสาม เชน การออกกฎหมาย การลงทุนและใหการสนับสนุนดานการเงินแกกิจการเพ่ือสังคม คิดกลยุทธสรางศูนยรวม

ขอมูลวิจัย ปรับปรุงกฎหมาย และเปดโอกาสใหทํางานกับภาครัฐ เปนตน โดยมหีลักการพ้ืนฐานท่ีเนนการสรางการมสีวน

รวมระหวางรัฐบาลและภาคสวนท่ีสาม

4.2 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในฟนแลนด

ฟนแลนดเปนประเทศในแถบแสกนดเินเวยีท่ีใชระบบรัฐสวสัดกิาร คือ รัฐรับผิดชอบดแูลประชาชนในบริการ

สาธารณะตางๆ โดยตั้งแตสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ไดมีการจัดตั้งองคกรมาากวา 300 องคกรเพ่ือเปนศูนยกลางในการจางงาน

ผูดอยโอกาส ความจําเปนของกิจการเพ่ือสังคมจึงมีนอย อยางไรก็ตาม ตั้งแตในตนป 1990 ที่มีการเกิดภาวะวิกฤติ

เศรษฐกิจ ทําใหองคกรท่ีเปนศูนยกลางของผูดอยโอกาสตองมีการปรับกลยุทธเพ่ือความอยูรอด โดยการรวมกลุมกันและ

หาตลาดใหม

ในป 2003 ฟนแลนดไดเร่ิมมีการพัฒนากฎหมายกิจการเพ่ือสังคม ไดผานการเห็นชอบจากรัฐสภาในวนัท่ี 30

ธันวาคม 2003 และถูกนํามาใชในวันท่ี 1 มกราคม 2004 กฎหมายน้ีไดรบัการสนับสนุนจากคนวางงานระยะยาวกวา

180,000 คน และคนพิการท่ีหางานไมไดกวาอีก 45,000 คน แตมีขอกังวลเกี่ยวกับการแขงขันท่ีไมเปนธรรมจาก

อุตสาหกรรมบริษทัขนาดเล็กและขนาดกลาง นอกจากน้ียงัมผีลกระทบตอภาคบริการของรัฐ

ธรุกจิท่ีไดรับการยอมรับในการลงทะเบียนเปนกจิการเพ่ือสังคม คือ ทุกธุรกิจท่ีมีรูปแบบทางกฎหมายและ

โครงสรางของเจาของ ถาธุรกิจน้ันไดมีการจดทะเบียนเปนธุรกิจแลวภายใตกระทรวงพาณิชย (Enterprise Register of

Ministry of Trade and Commerce) แมกระท่ังสมาคมท่ีมีการคา และมีลูกจางอยางนอย 1 คนและจดทะเบียนเปนธุรกิจ

แลว ก็สามารถท่ีจะจดทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคมได ซึ่งกิจการเพ่ือสังคมจะไดรับเงินอุดหนุนการจางงานจากรัฐ และได

งบประมาณในการทํากจิกรรมท่ีมวีตัถปุระสงคในการสงเสริมการจางงานหรือการพัฒนาบริการการจางงานตางๆ โดย

กฎหมายกิจการเพื่อสังคมของฟนแลนด (Finland Act on Social Enterprise (1351/2003) นิยามกิจการเพ่ือสังคม ไววา

1. 30% ของพนักงานตองเปนเปนผูพิการ หรือผูตกงานระยะยาว หรือ ท้ังสองอยาง

2. ลูกจางมีสัญญาจางงานกับกิจการเพ่ือสังคมน้ัน ๆและอยางนอยกิจการตองจายเงินเดือนตามท่ีไดตกลงไว

3. รายไดอยางนอย 50% มาจากการทําธุรกิจ

4. ไมมีขอกําหนดในเร่ืองรูปแบบการจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคม

5. ชั่วโมงการทํางานอยางนอย 50 ชั่วโมงตออาทิตย หรือ 85% จากเต็มวัน (Full-time)

6. กิจการเพ่ือสังคมดําเนินธุรกิจในตลาดเสรี (Open Market)

Page 19: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 19

7. กิจการเพ่ือสังคมท่ีจดทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคมอยูภายใตกระทรวงเศรษฐกิจและแรงงาน (Ministry of

Employment and the Economy)

8. อยูภายใตกฎหมายกิจการเพื่อสังคม (Act on Social Enterprises – 1 มกราคม 2004 มีการปรับแกและมี

ผลบังคับใชเมื่อ 1 พฤษภาคม 2007)

แนวทางการพัฒนาดานกฎหมายและกิจการเพ่ือสังคมในอนาคตของฟนแลนด

• การปรับปรุงกฎหมายกจิการเพ่ือสังคม เนนแกปญหาบริการสาธารณะท่ีไมมีประสิทธิภาพ โดยการตีความวา

กิจการหมายรวมถึงกิจการท่ีไมไดคํานึงถึงกําไรสูงสุด และกิจการท่ีตั้งขึ้นโดยมีเปาหมายทางสังคมเปนหลัก โดย

กจิการเหลาน้ีจะไดรบัการชวยเหลือและสนับสนุนทางดานกฎหมายท่ีเปนอุปสรรคตอการจดัสรรกาํไรหรือการ

โอนสินทรัพย

• ปจจุบันไดมีการถกเถียงท่ีมุงประเด็นในเร่ืองเกี่ยวกับกฎหมายกิจการเพ่ือสังคม (Legislation on Social

Enterprises) ในดานสังคมและการบริการดานสุขภาพ ตามแนวคิดของ CIC (Community Interest

Companies) ในประเทศอังกฤษ และกฎหมายของสวีเดนในเร่ืองบริษัทท่ีมีขอจํากัดในการสรางกําไร

(Companies with Restricted Delivery of Profits)

4.3 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในสหรัฐอเมริกา

ประเทศสหรัฐอเมริกามีแนวทางสงเสริมกิจการเพ่ือสังคม โดยจัดตั้งสํานักนวัตกรรมสังคมและการมีสวนรวม

ของชุมชน (Office of Social Innovation and Civic Participation: SICP) โดยมีเปาหมายสําคัญในการทํางานรวมกับ

องคกรไมแสวงกําไร ภาคเอกชน และภาครัฐเพ่ือสรางนวัตกรรมและดําเนินการดวยกระบวนการท่ีดีกวาเพ่ือนําไปสูการ

แกปญหาตางๆ ท่ีเปนความทาทายของประเทศ การทํางานของ SICP จะมุงเนนในภาระกิจ 3 ประการ ไดแก

1. ดานการสงเสริมใหเกิดการพัฒนาผูนําในชุมชน

เน่ืองจากปญหาท่ีเกิดขึ้นตางๆ น้ันรัฐไมสามารถท่ีจะจัดลําดับความสําคัญในการแกไขปญหาใหสอดคลองกับแต

ละชุมชนได ดังน้ันจึงจําเปนท่ีจะตองมีเคร่ืองมือท่ีชวยใหเกิดการกระจายโอกาสในการจัดการชุมชนดวยตนเองและสราง

คนรุนใหมท่ีจะเขามาทาทายกับปญหาของชุมชน ดังน้ันในชวงเวลาท่ีผานมาจึงไดเกิดการวางโครงการตางๆ เหลาน้ี

• ไดมีการลงนามใน กฎหมาย Edward M. Kennedy Serve America ซึ่งมีสวนชวยใหเกิดการขยายตัวอยางมาก

ของกิจการเพ่ือสังคมท่ีทํางานดานบริการสาธารณะ

• การจัดตั้ง AmeriCorps ซึง่เปนชองทางในการบริหารจดัการอาสาสมคัรท่ีตองการมสีวนรวมในการพัฒนา

ทองถิ่นตางๆ ในแตละประเด็น โดยปจจุบันมีสมาชิกจํานวน 75,000 คนและมีเปาหมายใหเกิดการขยายเปน

250,000 คน ในป 2017

• พัฒนากองทุน Volunteer Generation เพ่ือเปนเคร่ืองมอืในการสนับสนุนการทํางานขององคกรไมแสวงหากาํไร

ในการเพิ่มศักยภาพของการทํางานไมวาจะเปนดานการจัดหาบุคคลากร การพัฒนาทักษะการบริหารจดัการ

• จัดทําโครงการ United We Serve เพ่ือเปนการกระตุนใหเกิดจิตอาสาขึ้นในชุมชนตาง ๆ

2. การเพ่ิมการลงทุนในการสรางนวตักรรมของชมุชนท่ีสามารถเห็นผลลัพธได

Page 20: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 20

มกีารทํางานรวมกบัรัฐบาลกลางในการสรางเคร่ืองมอืตางๆ เชน กองทุน การใหรางวัล ตลาดทุนทางสังคม เพ่ือ

ใชในการขับเคล่ือนใหการแกไขปญหาสําเร็จไปได นอกจากน้ียังรวมมือกับภาคสวนตางๆ เพ่ือคนหาเคร่ืองมือในการวัด

ความสําเร็จเพ่ือสรางองคความรูของความสําเร็จและลมเหลว เพ่ือใหการทํางานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีกิจกรรม

ดังตอไปน้ี

• ตั้งกองทุน Social Innovation มูลคา 50 ลานเหรียญสหรัฐ โดยจะลงทุนในโครงการท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุดเพ่ือ

ทําซ้ําใหเกิดความสําเร็จในชุมชนอ่ืน ๆ ท่ัวประเทศ ซึ่งกําลังเผชิญกับความทาทายเดียวกัน โดยมุงเนนไปท่ี

โครงการไมแสวงหากําไรท่ีสงผลกระทบสูงและเดินดวยผลลัพธ เพ่ือใหมั่นใจวาทรัพยากรของภาครัฐจะถูกใชไป

ในทางท่ีมีประสิทธิผล มีความรับผิดชอบ และคูควรกับความไววางใจของประชาชน

• ตั้งกองทุน Investing in Innovation มูลคา 650 ลานเหรียญสหรัฐ

• ตั้ง Inter-agency Evaluation Working Group

3. การพัฒนารูปแบบของการสรางความรวมมอืใหม

คนหาวิธีท่ีภาครัฐรวมมือกับองคกรเอกชนในการแกไขปญหารวมกัน พัฒนานวตักรรมและรูปแบบของความรวม

มือใหมๆ ท่ีสามารถสรางผลลัพธและผลกระทบท่ีดีกวาการแยกกันทํางาน

• โครงการ Let's Move เปนการสรางการประสานความรวมมอืของมลูนิธ ิภาคเอกชน องคกรไมแสวงกําไรในการ

แกไขปญหาเด็กอวน

• โครงการ Text4Baby เปนการรวมมอืระหวางภาครัฐและเอกชนในการสง SMS ใหแกหญิงท่ีตั้งครรภในการดแูล

ตัวเองและลูก

4.4 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในแคนาดา

จากวกิฤตเิศรษฐกจิท่ีสงผลกระทบไปท่ัวโลกในป 2008 ทําใหหลายประเทศท่ีมพีฒันาการทางเศรษฐกจิสูงน้ัน

ไดรับบทเรียนท่ีสําคัญท่ีเปนปจจัยนําไปสูวิกฤติเศรษฐกิจอยางนอย 2 ปจจัย โดยปจจัยแรก คอืปญหาความออนแอของ

ชุมชนท้ังในเชิงวิถีชีวิตและความลมสลายของอุตสาหกรรมทองถิ่น ซึง่เปนผลมาจากการเปล่ียนแปลงของรูปแบบเศรษฐกจิ

และสังคมในระบบทุนนิยม การพัฒนาท่ีเนนถึงการใชทรัพยากรเพ่ือกอใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจขั้นสูงสุด และการบริโภค

ซึ่งการเปล่ียนแปลงน้ันไดสงผลกระทบตอวิถีชีวิตของคน

ปจจัยขอท่ีสองท่ีมีความสําคัญไมนอยกวาขอแรก น่ันคือการขาดระบบสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานทางสังคม ท่ีมัก

จะมีการถกเถียงถึงความคุมคาทางเศรษฐกิจของการพัฒนาสาธารณูปโภคทางกายภาพดังกลาว เชนการสรางถนน ระบบ

ชลประทาน และนโยบายท่ีชวยใหเกิดความเขมแข็งของสังคมหรือกิจกรรมท่ีกอใหเกิดการจางงาน กระจายความเจริญแก

ทองถิ่น หากการพัฒนาของประเทศตางๆ ยังคงมีรูปแบบเดียวกัน ภาคเอกชนดําเนินธุรกิจโดยไมสนใจถึงผลกระทบตอ

สังคมรอบขาง ภาครัฐท่ียังตองนําเอาเร่ืองผลประโยชนของภาคเอกชนชูเปนนโยบายในการพัฒนาจากสองปจจัยดังกลาว

ทําใหการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมในแคนาดาน้ัน เร่ิมตนจากการตืน่ตวัในการนํา Social Economy มาใชในการสรางความ

มั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ อยางไรกต็ามในระยะแรกน้ันเปนการพัฒนาโดยแตละฝายตางรับแนวทางไปปรับใชในแต

ละภารกิจของตัวเอง ทําใหขาดความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน จนทําใหการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมเกิดการหยุดชะงักลง

ในชวงของการพัฒนากจิการเพ่ือสังคมน้ันมอีงคกรหลายรูปแบบเปนเปาหมายในการพัฒนา อยางไรก็ตาม การท่ีองคกร

เหลาน้ันสวนมากเปนองคกรเอกชน ทําใหการระดมเงนิทุนหรือการเขาถงึเคร่ืองมอืทางการเงนิของรัฐเปนเร่ืองท่ี

Page 21: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 21

ยากลําบาก ดังน้ันจึงมีแนวทางในการทํางานอีกลักษณะหน่ึง คือการรวมทุนกับองคกรทองถิ่นเปนวิสาหกิจชุมชน ซึ่งมี

ความมั่นคงและสรางความนาเชื่อถือไดมากกวา อยางไรก็ตาม ท้ังองคกรและรัฐวิสาหกิจ ชุมชนก็ยังไมมีสถานะทาง

กฎหมายที่ชัดเจน หากยังคงตองอาศัยอางอิงกับกฎหมายที่มีความใกลเคียงเมื่อการพัฒนากิจการเพื่อสังคมมาถึงจุดที่ไม

สามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการยื่นขอเสนอในการวางแผนแมบทในการพัฒนากิจการเพ่ือสังคม

โดยมีเปาหมายในการพัฒนาท้ังส้ิน ๖ ดาน ไดแก

1. การเสริมศักยภาพในการจัดการธุรกิจ

2. การขยายตลาดและโอกาส

3. การเขาถึงแหลงเงินทุนและการลงทุน

4. การเผยแพรคุณคาของกิจการเพ่ือสังคม

5. การสรางเครือขายการทํางานของภาคกิจการเพ่ือสังคม

6. การขบัเคล่ือนโยบายสาธารณะ

บทเรียนของแคนาดาทําใหเห็นวา การสรางความเปล่ียนแปลงทางสังคมน้ันจําเปนท่ีจะตองไดรับความรวมมือ

จากทุกฝายอยางจริงจัง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม โดยเฉพาะบทบาทของภาครัฐท่ีถึงแม

จะมีหนาท่ีหลักเปนผูกระตุนใหเกิดความตื่นตัว แตถาหากขาดกลไกหรือยังมีขอบังคับท่ีขัดตอแนวทางท่ีตองการสนับสนุน

ก็จะทําใหแนวทางน้ันไมสามารถดําเนินการไดอยางเต็มท่ี เหมอืนดงัเชนในแคนาดาท่ีเปนประเทศแรกๆ ของโลกท่ีนํา

แนวคดิ Social Economy ไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศ แตประเทศท่ีมีความกาวหนาเร็วกวา กลับเปนสหราช

อาณาจักรท่ีสามารถตั้งหนวยงานท่ีใหการสนับสนุนเร่ืองน้ีอยางจริงจังได

4.5 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในสิงคโปร

สิงคโปรเปนประเทศหน่ึงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ีถึงแมจะมีอาณาบริเวณไมมากนัก แตดวยความที ่

มีความหลากหลายทางเชื้อชาติจากท้ังคนในพ้ืนท่ีดั้งเดิมอยางชาวมาเลเซีย ชาวอินเดีย ชาวจีน แรงงานอพยพจากประเทศ

เพ่ือนบาน และการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกจิท่ีรวดเร็ว ยิ่งเปนตัวกระตุนใหเกิดชองวางทางเศรษฐกิจของแตละชนชั้น

ดังน้ัน ปญหาในสังคมของสิงคโปรน้ันจึงมีท้ังมิติของเชื้อชาติ ชนชั้นและกลุมผูดอยโอกาส ซึ่งส่ิงตางๆ เหลาน้ีบอยคร้ังไม

สามารถแกไขไดดวยมาตรการของภาครัฐเพียงอยางเดียว ภาคประชาสังคมจึงไดเขามามีบทบาทในการชวยแกไขปญหา

ในสวนน้ี โดยเร่ิมจากการเปนองคกรเพ่ือพัฒนาสังคมในลักษณะขององคกรเพ่ือการกุศล และองคกรเพ่ือ

สาธารณประโยชนตางๆ อยางไรก็ตาม ท่ีผานมาถึงแมจะมีองคกรประเภทน้ีจํานวนมาก แตก็ไมสามารถทําใหปญหา

บางอยางหมดไปได สวนหน่ึงเกิดจากการขาดความตอเน่ืองของการดําเนินกิจกรรม โดยถึงแมจะมีการเกิดใหมขององคกร

เพ่ือพัฒนาสังคมเพ่ิมขึ้นเปนจํานวนมากแตองคกรท่ีตองปดตัวลงก็มีเปนจํานวนมากเชนเดียวกัน

เหตุผลของการปดตัวลงขององคกรเพ่ือการกุศลและองคกรสาธารณประโยชนเหลาน้ี สวนใหญมีสาเหตุมาจาก

การขาดเงนิทุนเพ่ือการดาํเนินงาน และขาดบุคลากรท่ีจะเขามาดําเนินการในระยะยาว ซึ่งเหตุผลตางๆ น้ีลวนเปนปญหา

รวมขององคกรเพ่ือพัฒนาสังคมท่ัวโลก จงึทําใหเกดิการพิจารณาถงึโอกาสในการปรับปรุงองคกรเพ่ือพัฒนาสังคมใหมี

ความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น และจะสงผลใหการแกไขปญหาทางสังคมผานองคกรเหลาน้ีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

คณะกรรมการกิจ การเพ่ือสังคม (Social Enterprise Committee) เปนคณะทํางานท่ีถูกแตงตั้งโดยกระทรวง

พัฒนาสังคม เยาวชนและกีฬา (Community Development, Youth and Sports) ในป 2006 โดยคณะกรรมการชุดนี้

ไดรับความรวมมือจากท้ังภาครัฐ นักวิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการวเิคราะหหาแนวทางในการพัฒนา

Page 22: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 22

กิจการ เพ่ือสังคมในสิงคโปร ซึ่งมีผลทําใหเกิดการวางยุทธศาสตรในการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมอยางเปนระบบ

คณะกรรมการธุรกิจเพ่ือสังคมไดทําการศึกษาทิศทางของการพัฒนาธุรกิจเพ่ือสังคม โดยไดมีการวางเปาหมายไวท่ีการ

เสริมสรางศักยภาพของตัวบุคคลและองคกรเพ่ือสรางโอกาสแกผูดอยโอกาสในสังคมใหสามารถพ่ึงพาตนเองได รวมไปถงึ

การสงเสริมใหผูท่ีมีนวัตกรรมท่ีจะสรางความเปล่ียนแปลงทางสังคมไดแสดงศักยภาพ ดังน้ัน ส่ิงท่ีคณะกรรมการจะ

ขับเคล่ือนจึงมุงเนนไปท่ี 3 ประเดน็ น่ันคือ

1. สงเสริมการดําเนินธุรกิจเพ่ือสังคม (Social Responsible Enterprise)

2. พัฒนาเคร่ืองมือสนับสนุนการดําเนินธุรกิจเพ่ือสังคม

3. เผยแพรแนวคิดของการดําเนินธุรกิจเพ่ือสังคมใหรับรูในวงกวาง

คณะกรรมการชุดน้ีไดวางรากฐานถึงส่ิงท่ีจําเปนตองทําเพ่ือใหเกิดการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมขึ้น โดยมี

ระยะเวลาถึงป 2015 สําหรับการดาํเนินการ ซึ่งปจจุบันไดบรรลุผลสําเร็จไปแลวบาง เชน การตั้ง Social Enterprise

Development Centre เปนตน

4.6 การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมในเกาหล ี

จากวิกฤตเศรษฐกิจในชวงป 80 ทําใหเกาหลีตองเผชญิกบัปญหาคนวางงานเปนจาํนวนมาก ประกอบกบั

สวัสดิการท่ีรัฐจัดหาใหน้ันยังมีไมเพียงพอตอความตองการของประชาชน จงึทําใหรฐับาลในชวงน้ันตองออกมาตรการ

ตางๆ เพ่ือแกปญหาน้ีอยางเรงดวน โดยมีการสรางองคกรท่ีชวยในการจัดการเร่ืองตลาดแรงงานเพ่ือใหเกิดการจางงานท่ีมี

ประสิทธิภาพขึ้น และอุดหนุนองคกรท่ีชวยจัดการกับประเด็นปญหาน้ีซึ่งถือเปนการสรางตําแหนงงานเพ่ิมขึ้นอีกทางหน่ึง

แตผลของโครงการดังกลาวมีอยูเพียงชั่วระยะเวลาหน่ึงเทาน้ัน เน่ืองจากองคกรเหลาน้ันไมสามารถดําเนินการไดอยาง

ยั่งยืนโดยปราศจากการอุดหนุนจากภาครัฐ

ในป 2007 มีการผลักดันใหเกิดกฎหมายการสงเสริมกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise Promotion Act) โดย

มีเน้ือหาสนับสนุนกิจการท่ีมีเปาหมายในการแกไขปญหาสังคมดวยสินคาและบริการแกผูดอยโอกาสและสามารถหลอ

เล้ียงการดําเนินงานไดดวยการเสนอสินคาและบริการน้ันๆ มีการเปดโอกาสใหองคกรตางๆเขารับการจดทะเบียนเปน

กิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise) โดยองคกรท่ีจะจดทะเบียนจะตองผานเกณฑท่ีกําหนดขึ้น เพ่ือขอรับการสนับสนุน

จากรัฐในชวงของการเร่ิมตนประกอบกิจการปญหาท่ีเกิดขึ้นหลังจากท่ีมีกฎหมายดังกลาว คือการท่ีโครงการน้ียังไม

สามารถบรรลุจุดประสงคท่ีตั้งขึ้นไดมากนักเน่ืองจากปจจัยตางๆ ตอไปน้ี

• การขาดกฎหมายท่ีเกี่ยวของและการขาดการปรับปรุงกฎหมาย เน่ืองจากการดําเนินการของกิจการเพ่ือสังคมไม

สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากนักเน่ืองจากขอจํากัดทางกฎหมายท่ีมีอยูกอนหนา

• การขาดวฒันธรรมของการพ่ึงพาตนเอง ในการดําเนินการแกไขปญหาสังคมกอนหนาน้ีมักจะเปนหนาท่ีของ

สวนกลาง หรือองคกรท่ีทํางานเพ่ือสังคมท่ีไดรับเงินอุดหนุนจากภาครัฐ ซึง่เมือ่มกีารอุดหนุนในรูปของการบริหาร

จัดการเชิงธุรกิจ จึงเปนอุปสรรคท่ีทําใหองคกรจํานวนมากท่ีไมมีความเชี่ยวชาญตองประสบความลมเหลว

• ขาดการสนับสนุนจากภาคเอกชน ถึงแมจะเร่ิมมีการพูดถึงเร่ืองของ CSR ในแวดวงธุรกิจมากขึ้น แตทวาใน

มุมมองของกิจการเหลาน้ี CSR เปนเพียงความจํายอมท่ีธุรกิจจะตองทําเพ่ือสังคมเทาน้ัน จึงทําใหความสนใจตอ

กิจการเพ่ือสังคมมีจํากัดอยูท่ีสวนของการทํากําไรของกิจการ

Page 23: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 23

การเปรียบเทียบองคประกอบของการสงเสริมกิจการเพื่อสังคมในตางประเทศ

อังกฤษ ฟนแลนด แคนาดา อเมริกา สิงคโปร เกาหล ี

บทบาทของรัฐบาลในการสนับสนุน X X X X X X

การกําหนดนิยามท่ีชัดเจน X X X X X

กลยุทธระยะยาวของภาครัฐ X X X

มีนโยบายการพัฒนาองคกรตัวกลาง X

มีกฎหมายรูปแบบเฉพาะเกี่ยวกับกิจการเพ่ือ

สังคม

X X X X X

การพัฒนาบริการสาธารณะของรัฐดวยการสราง

ความมีสวนรวมจากกิจการเพื่อสังคม

X

กองทุนเฉพาะเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม X X

ความรวมมอืระหวางประเทศ X X X

การสนับสนุนทางดานการเงนิสําหรับการวจิยั

และนวตักรรม

X X X X X

จากการท่ีมีแนวคิดของการนําวิธีของการดําเนินการทางธุรกิจมาปรับใชกับองคกรท่ีตองการแกปญหาทางสังคม

ท่ีมีความซับซอนเกินกวาท่ีภาครัฐจะดําเนินการเพียงฝายเดียว ผนวกกับความจําเปนวาองคกรภาคประชาสังคมมักไม

สามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ืองโดยขาดการอุดหนุนจากองคกรตางๆ ทําใหรฐับาลในหลายประเทศไดมคีวามพยายาม

ผลักดันใหเกิดองคกรประเภทน้ีใหมีความแพรหลายออกไปเน่ืองจากเล็งเห็นถึงความมีประสิทธิภาพของการแกปญหา

สังคมดวยความมีสวนรวมของชุมชน

ถึงแมการผลักดันแนวคิดของกิจการเพ่ือสังคมจะมีหลากหลายวิธีการ แตเคร่ืองมือพ้ืนฐานท่ีหลายประเทศให

ความสําคัญ คือการระบุนิยามของกิจการเพ่ือสังคม การพัฒนาหนวยงานเฉพาะสําหรับดูแลกิจการเพ่ือสังคมการออก

กฎหมายเฉพาะในการสนับสนุนการดาํเนินกจิการเพ่ือสังคม และการพัฒนางานวจิยัในการพัฒนานวตักรรม เคร่ืองมือ

เหลาน้ีมีความจําเปนตอการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมอยางเปนระบบ เปนองครวม ทําใหการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม

น้ันประสบผลสําเร็จมากกวาการเลือกทําอยางใดอยางหน่ึง องคประกอบสําคัญของการสงเสริมกิจการเพ่ือสังคมอยางเปน

ระบบใหไดผล คือการมีกลยุทธระยะยาว (Master Plan) ของภาครัฐท่ีจะผลักดันกิจการเพ่ือสังคม เน่ืองจากท่ีผานมาการ

ผลักดนัของภาครัฐโดยสวนใหญจะเปนเพียงการกาํหนดแนวทางข้ึนมาจากทางบางหนวยงานของรัฐ จึงขาดการมีสวนรวม

ของภาคสวนอ่ืนๆ ทําใหการพัฒนานโยบายกิจการเพื่อสังคมยังขาดเอกภาพในการทํางาน ดังน้ันในระยะหลังจึงไดเร่ิมมี

การสรางแผนกลยุทธระยะยาวในการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมในท้ังแคนาดาและสิงคโปร

นอกจากน้ี การสรางองคกรตัวกลางยังเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหกิจการเพ่ือสังคมมีการเติบโตเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งใน

หลายๆ เชนในประเทศอังกฤษท่ีองคกรตัวกลางเหลาน้ีมีสวนทําใหเกิดกิจการเพ่ือสังคมรายใหมเพ่ิมขึ้นจํานวนมาก

เน่ืองจากการบมเพาะกิจการเพ่ือสังคมใหมีความแข็งแรงน้ันจําเปนท่ีจะตองมีสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมท้ังดานการเปนท่ี

ปรึกษาธุรกิจ การจดัสรรเงนิทุนและอ่ืนๆ โดยองคกรกลางเหลาน้ีจะชวยทําใหเกิดสภาพดังกลาวขึ้นมาไดโดยไมเปนภาระ

ตอภาครัฐมากนักท่ีจะตองมาชวยดูแลทุกองคกร

Page 24: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 24

อยางไรก็ตาม การนําแนวคิดของกิจการเพ่ือสังคมยังไมมีสูตรสําเร็จ ทางสหรัฐอเมริกาเองก็มีวิธีพัฒนากิจการ

เพ่ือสังคมท่ีมีความแตกตางจากประเทศอ่ืนๆ อยางชัดเจน โดยรัฐวางตวัเปนเพียงเปนศนูยกลางของการจดัสรรทรัพยากร

และพ้ืนท่ีสําหรับการรวมตัวไปสรางความเปล่ียนแปลงท่ีดีขึ้นของชุมชน โดยไมเนนการผลักดันใหเกิดการเปนองคกรอยาง

เตม็รูปแบบอยางท่ีประเทศอ่ืนๆ ดาํเนินการ

บทเรียนสําหรับประเทศไทยจากประสบการณของตางประเทศ

1. ความสําคัญของบทบาทของรัฐบาลในการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมอยางเปนระบบและมีการ

ลงทุนที่เปนรูปธรรม

กิจการเพ่ือสังคมในตางประเทศน้ันมีมานานแลว แตแนวทางของการใชกระบวนการทางธุรกจิเพ่ือบรรลุ

เปาหมายทางสังคมอยางยั่งยืนน้ันแตกตามไปแตบริบทของแตละประเทศ สําหรับประเทศอังกฤษซึง่รัฐบาลมบีทบาท

สําคัญในการรวมกันตอยอดกิจการเพ่ือสังคมท่ีมีอยูแลวอยางกระจัดกระจายใหเปนระบบ รัฐบาลไดตัง้หนวยงานเฉพาะ

ดานขึ้นท่ีเรียกวา “สํานักงานแหงภาคสวนท่ีสาม ” ซึ่งมีหนาท่ีดูแลองคกรท่ีไมใชรัฐและธุรกิจเอกชน แตเปนองคกร

สาธารณะกุศล กิจการเพ่ือสังคม องคกรอาสาสมัคร และสหกรณซึง่มบีทบาทในการพัฒนาสังคมในประเทศ ในดานการ

สนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมน้ัน ทําใหขยายตัวไดอยางกวางขวางท่ัวประเทศ

ในขณะท่ีแคนาดา ถึงแมวาจะมีการวางแผนแมบทในการพัฒนากิจการเพ่ือสังคม แตไมสามารถดําเนินการได

อยางมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากไมไดรับความรวมมือจากทุกฝายอยางจริงจังท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการและภาค

ประชาสังคม โดยเฉพาะบทบาทของภาครัฐท่ีถึงแมจะเปนผูกระตุนใหเกิดความตื่นตัว แตถาหากขาดกลไกหรือยังมี

ขอบังคับท่ีขัดตอแนวทางท่ีตองการสนับสนุนจะทําแนวทางน้ันไมสามารถดําเนินการไดอยางเต็มท่ี ทําใหแคนาดาซึ่งเปน

ประเทศแรกๆ ท่ีนําแนวคิด Social Economy ไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศ แตปจจุบันประเทศท่ีมี

ความกาวหนากวากลับเปนอังกฤษท่ีสามารถตั้งหนวยงานท่ีใหการสนับสนุนเร่ืองน้ีอยางจริงจังได นอกจากนี้แคนาดาการ

ยงัไมมกีารลงทุนเปนรูปธรรม เชน กองทุนเฉพาะเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม

2. ความจําเปนของการกําหนดนิยามที่ชัดเจนแตไมคับแคบเกินไปเพื่อใหครอบคลุมประเด็นที่

หลากหลายและใหเสรีภาพในการดําเนินการตามความสนใจ

แมในหลายประเทศจะมกีจิการเพ่ือสังคมดาํเนินงานมานานหลายป แตก็ยังมีความเห็นท่ีแตกตางกันในเชิงราย

ละเอียดเกี่ยวกับนิยามและรูปแบบของกิจการเพ่ือสังคม รัฐบาลในแตละประเทศกําหนดนิยามไวในลักษณะท่ีแตกตางกัน

ออกไป โดยอังกฤษ ไดนิยามไวอยางกวางๆ วา กิจการเพ่ือสังคม คือกิจการท่ีมีเปาหมายหลักเพ่ือสังคม และใชรายไดสวน

เหลือลงทุนกลับไปในกิจการหรือในชุมชนแทนท่ีจะมุงสรางผลกําไรสูงสุดตอผูถือหุนและเจาของ ซึ่งองคกรท่ีเกี่ยวของก็ตาง

มีรายละเอียดในเชิงนิยามและรูปแบบท่ีแตกตางกันออกไปตามประเด็นทางสังคมท่ีหลากหลาย สวนในสิงคโปรนัน้มี

ประเด็นใหคํานิยามเนนไปท่ีการสงเสริมการจางงานใหกับคนพิการเชนเดียวกับในฟนแลนดท่ีมีการใหคํานิยามท่ีจํากัด

เฉพาะผูพิการและผูตกงานระยะยาวเทาน้ัน (Employ Disabled and Long-term Unemployed Persons) เชนเดียวกับท่ี

เกาหลี ท่ีมปีญหาเร่ืองคนวางงานเปนจาํนวนมาก ทําใหมุงประเด็นสงเสริมกิจการเพ่ือสังคมไปท่ีคนวางงานเปนหลัก

ดังน้ัน ประเด็นในการทํางานของกิจการเพ่ือสังคมจึงจํากัดอยูในวงแคบ ทําใหขาดความหลากหลายในการเขาไปชวย

แกปญสังคมดานอ่ืนๆ สําหรับอเมริกาถึงแมจะไมไดกําหนดนิยามกิจการเพ่ือสังคมไวอยางชัดเจน เพียงแตเนนถึง

ความสําคัญของการจัดการทรัพยากรและอาสาสมัคร ก็พบวาการพัฒนากิจการเพ่ือสังคมของอเมริกาน้ันมีหลากหลาย

Page 25: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 25

รูปแบบเน่ืองจากไมไดยึดปญหาท่ีรัฐคิดวาสําคัญ หากแตเปนการเปดโอกาสหรืออํานวยความสะดวกใหผูท่ีตองการทํางาน

แกปญหาไดสามารถปฎิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

3. ความจําเปนของการพัฒนาองคกรตัวกลางทั้งในเชิงการเงินและการสรางศักยภาพแทนที่จะลงทุน

เองโดยตรง

การพัฒนากจิการเพ่ือสังคมควรกระทําผานกลไกท่ีหลากหลาย เชน องคกรท่ีทําหนาท่ีการลงทุนและสราง

ศักยภาพกิจการเพื่อสังคมเกิดใหม องคกรท่ีทําหนาท่ีเปนวาณิชธนกิจดานสังคม องคกรท่ีทําหนาท่ีพัฒนาศักยภาพองคกร

เพ่ือสังคม องคกรท่ีทําหนาท่ีระดมพ่ีเล้ียงและอาสาสมัคร และองคกรเครือขาย และสมาคมตางๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยรัฐบาล

และมูลนิธิขนาดใหญไมไดมีบทบาทเปนผูลงทุนโดยตรงกับตัวกิจการเพ่ือสังคม แตเนนการสรางองคกรตัวกลางท่ี

หลากหลายขึ้นมาเปนระบบนิเวศนท่ีจะสนับสนุนเกื้อกูลใหเกิดกิจการเพ่ือสังคมไดอยางยั่งยืน การศึกษาพัฒนาการดาน

กิจการเพื่อสังคมในอังกฤษ (ท่ีเปนประเทศเดียวท่ีมีการสรางองคกรตัวกลางอยางชัดเจน ) ยังแสดงใหเห็นวาการพัฒนา

กลไกท่ีเขาไปสนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมโดยตรงท้ังในเชิงการลงทุนเพ่ือสังคม และการพัฒนาศักยภาพน้ันมีความสําคัญ

อยางยิ่ง เชน องคกรอันลิมิเต็ด (Unltd) ในประเทศอังกฤษซึ่งเปนองคกรตัวกลางซึ่งเขาไปสนับสนุนทางการเงินและพัฒนา

ศักยภาพองคกรกิจการเพ่ือสังคมตั้งแตขั้นเร่ิมตนไปจนถึงระยะขยายผล (Scale-up) ซึ่งในปจจุบันกิจการเพ่ือสังคมท่ีไดรับ

ความยอมรับท่ีสุดในอังกฤษท่ีมีรายไดนับลานปอนดตอปน้ันมักจะเกิดจากการสนับสนุนขององคกรอันลิมิเต็ด

4. ความจําเปนของกฎหมายเฉพาะเพื่อสนับสนุนกิจการเพื่อสังคม

การออกกฎหมายเฉพาะในแตละประเทศเพ่ิอสนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมน้ัน ยอมมีความสําคัญในแงของการ

สงเสริมใหเกิดกิจการเพ่ือสังคมท่ีมากขึ้น หรือสามารถดงึดดูการลงทุนของนักลงทุนหากรัฐมนีโยบายหรือกฎหมายท่ี

ชัดเจนที่เปนแรงจูงใจได

ในประเทศอังกฤษ มีการออกกฎหมายรูปแบบกิจการเพื่อสังคมที่เรียกวา “กิจการเพ่ือประโยชนชุมชน

(Community-interest Company)” ซึ่งเปนธุรกิจท่ีตั้งขึ้นเพ่ือเปาหมายดานสังคมตาง ๆและมีระเบียบเฉพาะตาง ๆเพ่ือให

เกิดประโยชนตอสาธารณะอยางแทจริง เชน การกําหนดสัดสวนเงินปนผลไดไมเกิน 20% ในขณะท่ีอีก 80% จะตองลงทุน

กลับไปในกจิการน้ันๆ หรือสนับสนุนชมุชน และจะสามารถขายสินทรัพยสําคัญ เชน หุนใหกับองคกรเพ่ือสังคมอ่ืน ๆได

เทาน้ัน ไมสามารถขายทอดตลาดปกติเพ่ือเก็งกําไรได เปนตน

สําหรับฟนแลนด มีกฎหมายกิจการเพื่อสังคม (Finland Act on Social Enterprise) ทําใหธุรกิจท่ีไดรับการ

ยอมรับในการลงทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคมเปนธุรกิจแลวภายใตกระทรวงพาณิชย (Enterprise Register of Ministry

of Trade and Commerce) สามารถขอจดทะเบียนเปนกิจการเพื่อสังคมได ซึ่งกิจการเพ่ือสังคมจะไดรับเงินอุดหนุนการ

จางงานจากรัฐ และไดงบประมาณในการทํากจิกรรมท่ีมวีตัถปุระสงคในการสงเสริมการจางงานหรือการพัฒนาบริการการ

จางงานตางๆ

สวนในประเทศเกาหลี มีกฎหมายสงเสริมกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise Promotion Act) โดยมีเน้ือหา

ของการสนับสนุนกิจการท่ีมีเปาหมายในการแกไขปญหาสังคมดวยสินคาและบริการแกผูดอยโอกาสและสามารถเล้ียง

ตนเองไดดวยการเสนอสินคาและบริการน้ันๆ และเปดโอกาสใหองคกรตางๆ เขารับการจดทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคม

โดยตองผานเกณฑท่ีกําหนดขึ้น และรัฐจะชวยสนับสนุนในชวงของการเร่ิมตนประกอบกิจการ

Page 26: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 26

ในขณะท่ีแคนาดาน้ันปรับใชกฎหมายท่ีมีอยูแลวเพ่ือมาสงเสริมกิจการเพ่ือสังคม และมแีผนการในการพัฒนา

กฎหมายตางๆ เชน นโยบายของการใหสิทธิประโยชนทางภาษีแกนักลงทุนท่ีลงทุนในกิจการเพ่ือสังคม การปรับปรุง

กฎหมายภาษีเงินได ท่ีชวยใหมูลนิธิตางๆ สามารถลงทุนหรือใหการสนับสนุนกจิการเพ่ือสังคม และการจัดตั้งกองทุน

Social Enterprise Start-up เปนตน

5. ความเชื่อมโยงของการพัฒนาบริการสาธารณะของรัฐดวยการสรางความมีสวนรวมจากกิจการเพื่อ

สังคม

กิจการเพ่ือสังคมเปนเคร่ืองมือสําคัญสําหรับนโยบายการกระจายอํานาจไปสูทองถิ่น ท่ีไมใชเพียงแคการกระจาย

อํานาจการตัดสินใจและการใหบริการสาธารณะไปอยูท่ีรัฐบาลทองถิ่น หรือการแปรรูปบริการของรัฐไปสูรฐัวสิาหกจิหรือ

เอกชนแตอยางเดียว แตเปนการกระจายการใหบริการสาธารณะสําคัญตางๆ จากหนวยงานของรัฐบาลไปสูกจิการการเพ่ือ

สังคม เชน ในนโยบายการแปรรูประบบบริการสุขภาพแหงชาติ (National Health Service - NHS) ซึ่งมีแนวทางท่ีจะให

คณะกรรมการดานระบบบริการสุขภาพในระดับทองถิ่นสามารถทําสัญญาวาจางใหกิจการเพ่ือสังคมดานสุขภาพมา

ใหบริการเสริมหรือทดแทนบริการของหนวยงานรัฐโดยตรง และยังสนับสนุนใหพนักงานของ NHS ออกมาตั้งกิจการเพ่ือ

สังคมอีกดวย

นอกจากน้ี การพัฒนากองทุนและเคร่ืองมือทางการเงินตางๆ ในการสนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมในดานท่ีเกี่ยวของ

กบับริการของรัฐโดยตรง และการเปดชองทางเขาถึงการประมูลโครงการตางๆ อยางยุติธรรม โดยมกีารปรับนโยบายและ

ระเบียบการประมลูตางๆ ในหลากหลายหนวยงานของรัฐใหเปดโอกาสใหกิจการเพ่ือสังคมสามารถเขามาแขงขันได เชน

ในประเดน็การใหบริการสุขภาพ คนไรบาน การอนุรกัษวฒันธรรม การลดโลกรอน การลดอัตราการทําผิดซ้ําซอน ฯลฯ ยังมี

ความสําคัญในการสรางความมีสวนรวมของกิจการเพื่อสังคมในการใหบริการสาธารณะ

6. การสรางตลาดทุนเพื่อกิจการเพื่อสังคมที่มีเคร่ืองมือทางการเงินที่หลากหลายเชื่อมโยงทั้งภาครัฐ

และเอกชน

กิจการเพ่ือสังคมเปนรูปแบบการลงทุนเพ่ือสังคมท่ีสามารถวัดผลกระทบ (Impact) ไดอยางชัดเจนและมีความ

ยั่งยืนทางการเงิน ตางกับการลงทุนในโครงการหรือองคกรสาธารณะกุศลท่ัวไปท่ีเมื่อลงเงินไปแลวก็จะหมดไปโดยขาด

ความยั่งยืนท้ังในเชิงความตอเน่ืองของผลกระทบ และในเชิงองคกร ดังน้ัน กิจการเพ่ือสังคมจึงเปดมิติใหมสําหรับการ

ลงทุนเพ่ือสังคมท่ีหลากหลายท้ังในเชิงท่ีมาของเงิน (Source of Fund) และการใชเงิน (Use of Fund)

โดยในดานท่ีมาของเงินน้ัน มีการระดมทุนผานองคกรตัวกลางที่หลากหลายทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน มูลนิธิ

สมาคม และผูมีสินทรัพยมาก (High Net-worth Individual - Philanthropist) เพ่ือนําเงินไปสนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมใน

หลากหลายลักษณะ เชน เงนิใหเปลา เงนิลงทุนในหุน สินเชื่อ ฯลฯ ซึง่เปนการเปดโอกาสใหมๆ สําหรับท้ังมูลนิธิหรือ

หนวยงานของรัฐซึง่ปกตจิะสนับสนุนเงนิใหเปลากบัโครงการตางๆ มาเปนการปรับแนวทางการลงทุนมายงักจิการเพ่ือ

สังคมเพ่ือใหเกิดความยั่งยืนมากขึ้น โดยในหลายกรณียงัสามารถลงทุนในหุนหรือใหสินเชือ่ซึง่สามารถกลายเปนเงนิ

หมุนเวียนนํากลับมาใชเพ่ือสังคมไดอีก ในขณะท่ีนักลงทุนภาคเอกชนท่ีมีความสนใจท่ีจะสรางผลเชิงสังคมแตตองการเงิน

ตนกลับภายในระยะเวลาหน่ึงก็ยังมาสามารถมารวมลงทุนไดอีกดวย

นอกจากการสรางความมีสวนรวมจากทุกภาคสวนแลว ยงัเกดิการพัฒนารูปแบบการวดัประเมนิผลทางสังคม

Page 27: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 27

(Social Impact Measurement) ท่ีเร่ิมเปนมาตรฐาน เชน Social Returns on Investment (SROI) และ Impact Rating

and Investment Standard (IRIS) ท่ีเร่ิมจะเปนมาตรฐานท่ีใชกันท่ัวโลก ซึ่งสามารถใชทําความเขาใจผลตอบแทนทาง

สังคมท่ีชัดเจนของแตละองคกร หรืออาจเปรียบเทียบระหวางองคกรท่ีใกลเคียงกันไดอีกดวย จึงทําใหเกิดการสะทอนกลับ

ท่ีมีประสิทธิภาพ (Effective Feedback) ระหวางการลงทุนและผลของการลงทุนเพ่ือใชในการตัดสินใจเลือกลงทุนเพ่ือ

สังคมไดอยางเปนระบบและโปรงใสอีกดวย ยกตัวอยางเชน การนําผลิตภัณฑทางการเงินท่ีหลากหลายมากขึ้นมาใชใน

ตลาดทุนเพ่ือสังคม เชน Citylife ไดออกกองทุนพันธบัตรท่ีนําเงินไปลงทุนในธุรกิจเพ่ือสังคมและชุมชน กองทุนเพ่ือสังคม

Calvert Foundation ออก Community Investment Notes เพ่ือการพัฒนาชุมชนในอเมริกากวา 100 ลานดอลลารสหรัฐ

และพันธบัตรทางสังคม (Social Impact Bond) ในประเทศอังกฤษ ท่ีมีวัตถุประสงคเพ่ือลดการกลับเขาเรือนจําของ

นักโทษ อันเปนการประหยัดภาษีและเปนการชวยทําใหสังคมดีขึ้น เพราะท่ีผานมา 60% ของนักโทษกวา 40,200 รายท่ีถูก

จําคุกระยะส้ันน้ัน หลังจากถูกปลอยตัวแลวจะกลับเขาเรือนจําอีกภายใน 1 ป ซึ่งจะเปนการเพ่ิมตนทุนทางภาษีและสังคม

บทสรุป

สําหรับประเทศไทยน้ัน สามารถสรุปไดวามีกิจการเพ่ือสังคมดําเนินการอยูหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอยาง

ยิง่ในรูปแบบสหกรณ หรือวิสาหกิจชุมชน เพียงแตไมไดใชคําวากิจการเพ่ือสังคม กิจการเพ่ือสังคมเหลาน้ีสามารถสรางมิติ

ใหมของการมีสวนรวมแกปญหาสังคมและส่ิงแวดลอมรวมกับรัฐบาล และองคกรสาธารณประโยชนได

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยงัขาดการสนับสนุนพ้ืนฐานทุกดาน และประชาชนจํานวนมากยังไมรูจักกิจการเพ่ือ

สังคม ซึง่หากมหีนวยงานภาครัฐ เอกชน องคกรชุมชนท่ีเร่ิมสนใจและสงเสริมกิจการเพ่ือสังคม เพ่ือพัฒนาโอกาสสําหรับ

องคกร ก็จะทําใหกิจการเพ่ือสังคมเหลาน้ี เปนผูสรางเสริมเศรษฐกิจยั่งยืนและสรางสรรค ไปพรอมๆ กบัสรางผลตอบแทน

ทางเศรษฐกิจ รวมท้ังยังสามารถดึงดูดเยาวชนท่ีมีพรสวรรคในชวงวิกฤตเศรษฐกิจเพ่ือทํางานรวมกันในการแกปญหาทาง

การตลาด เปล่ียนแปลงและพัฒนาสังคมและส่ิงแวดลอมของประเทศไทยในเชิงนวัตกรรมและใหเกิดความยั่งยืน ซึ่งเปน

การสรางรากฐานท่ีมีความแข็งแรงสําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียวและสังคมโดยรวมของไทย

กิจการเพ่ือสังคมมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาและขยายผลวิธีการใหมๆ ในการแกปญหาสังคมและส่ิงแวดลอม

โดยมุงเนนใหเกดิผลท่ีเปนรูปธรรม และสามารถสรางรายไดจากประเด็นเหลาน้ันไดอยางยั่งยืน ไมตองพ่ึงทุนใหเปลา

ตลอดไป จึงทําใหนวัตกรรมเพ่ือสังคมสามารถเกิดขึ้นและขยายผลไดอยางตอเน่ือง อีกท้ังยังแขงขันไดในตลาดอยางมี

ประสิทธิภาพอีกดวย ไมวาจะเปนเร่ืองชองวางรายได ส่ิงแวดลอม การศึกษา คณุภาพบริการสาธารณะ เปนตน โดยท้ัง

รัฐบาลและองคกรภาคีเครือขายมุงหวังวาสัดสวนของรายไดประชาชาติในอนาคตจะมีสัดสวนของบริการสาธารณะและ

กิจการนวัตกรรมท่ีกอใหเกิดประโยชนตอสังคมโดยตรงอันหลากหลายซึ่งดําเนินงานโดยชุมชนและกิจการเพ่ือสังคมเพ่ิม

มากขึน้อยางนอยเปนหน่ึงในสามไดภายในทศวรรษน้ี และจะเพ่ิมมากขึ้นอยางตอเน่ือง จงึเปนการแปลงสภาพจากระบบ

เศรษฐกิจอุตสาหกรรมบริการซึ่งเปนสัดสวนหลักในปจจุบันไปสูระบบเศรษฐกิจเพ่ือสังคมและคุณภาพชิวิตเปนสัดสวน

หลักท่ีสําคัญไมนอยไปกวาภาคธุรกิจเดิม ซึ่งเปนการพัฒนาเศรษฐกิจท่ียั่งยืน ลดชองวางรายไดในระดบัมหภาค ลดความ

เส่ียงท้ังในภายในและภายนอกไดมากขึ้น และมีศูนยกลางอยูท่ีชุมชน

ดังน้ัน เพ่ือเปนการสงเสริมกิจการเพ่ือสังคมใหเกิดขึ้นในสังคมไทยและขยายตัวไดอยางกวางขวางรวดเร็วและมี

ประสิทธิภาพ จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีมาตรการในการสงเสริมและสนับสนุนกิจการเพ่ือสังคมท้ังนโยบายจากภาครัฐ

เชน มาตรการทางดานภาษี กฎระเบียบขอบังคับตางๆ รวมท้ังองคกรตวักลางเพ่ือการจดัการทางการเงนิและการลงทุนใน

กิจการเพ่ือสังคมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด เปนตน

Page 28: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 28

5) สรุปสถานการณของกิจการเพือ่สงัคมในประเทศไทย

กิจการเพ่ือสังคมในประเทศไทยน้ันมีมานานแลว แตสวนมากจะอยูในรูปแบบของสหกรณ กลุมออมทรัพยชุมชน

หรืออยูในรูปของการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน กระจายตัวอยูท่ัวทุกภูมิภาค โดยแตละองคกรตางมีเปาหมายในการทํางาน

เพ่ือตอบสนองตอปญหาท่ีเกดิขึน้ตามบริบทในทองถิน่ของตนเอง รวมท้ังเพ่ือการบรรลุเปาหมายทางเศรษฐกจิ สังคม และ

วัฒนธรรมรวมกัน ดังน้ัน กิจการเพ่ือสังคมจึงไมใชเร่ืองใหมท่ีเขาใจไดยาก หากแตเปนการเรียกลักษณะการประกอบการ

ใหมีเน้ือหาท่ีกวางขึ้นจากเดิม โดยครอบคลุมการประกอบการจากบุคคลท่ัวไปท่ีมีจุดมุงหมายในการทําธุรกิจท่ีคํานึงถึง

ผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสังคม เพ่ือสรางความรูสึกถึงการมีความรับผิดชอบตอสังคมท่ีทุกคนสามารถมีสวนรวมใน

การทําใหสังคมโดยรวมดีขึ้นได

กิจการเพ่ือสังคมในระดับภูมิภาคน้ัน จะเนนไปตามพ้ืนท่ีอยูอาศัยและในเชิงวัฒนธรรม กลาวคือ ในภาคเหนือ

การรวมกลุมเพ่ือทําวิสาหกิจชุมชน สวนมากจะเนนท่ีการรักษาวัฒนธรรมทองถิ่น เพ่ือชวยเหลือผูดอยโอกาสทางสังคม

และชนกลุมนอย เปนตน ซึ่งถายทอดผานงานหัตถกรรม (Handicraft) ท่ีอาศัยทักษะและเนนประโยชนใชสอยเปนหลัก

โดยท่ัวไปเปนผลิตภัณฑท่ีแสดงใหเห็นถึงวัฒนธรรมและศาสนา สามารถนํามาใชในชีวิตประจําวันได

ผลิตภัณฑท่ีผลิตออกมาเปนจํานวนมากจะส่ือถึงวัฒนธรรมของคนทองถิ่น และในภาคเหนือสวนมากจะมี

ชาวเขาอาศัยอยูมาก จึงทําใหเกิดการทําธุรกิจเพ่ือชวยเหลือชาวเขาใหเกิดการพัฒนาอาชีพ เชน จากการปลูกฝนมาปลูก

ชา และส่ิงทอ งานฝมือจําพวกการปกเย็บลายผาชนเผาเปนถุงยาม เส้ือ สรอยคอ ซึ่งเปนทักษะท่ีชาวเขามีอยูแลว รวมถึง

ใชวัสดุในทองถิ่นในการผลิตสินคาตางๆ เพ่ือจําหนายในตลาด และยังสรางงานใหแกบุคคลเหลาน้ันอีกดวย

สวนในภาคใตน้ันกิจการเพ่ือสังคมจะเนนทางดานส่ิงแวดลอม โดยดูจากการอนุรักษธรรมชาติท้ังชายทะเล และ

ปะการัง เน่ืองจากธรรมชาติของภาคใตสวนใหญจะเปนทะเล และเกิดปญหาการปะการังถูกทําลายดวยสาเหตุตางๆ เชน

การจบัสัตวน้าํในแนวปะการัง การใชสารเคมเีบ่ือปลา การทองเท่ียว เกดิจากการท่ีนกัทองเท่ียวไปเดนิหรือยนืบนปะการัง

รวมท้ังการท้ิงสมอเรือท่ีนํานักทองเท่ียวเขาไป และการกอสรางชายฝงเพ่ือสนับสนุนการทองเท่ียว การพัฒนาท่ีดินบริเวณ

ใกลเคียงชายฝง การท้ิงของเสียและส่ิงปฏิกูลลงในบริเวณปะการังก็ทําใหเสียสมดุลของระบบนิเวศ ดวยสาเหตุตางๆ

เหลาน้ีทําใหเกิดคนท่ีตองการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล ทําธุรกิจท่ีมุงเนนรักษาสมดุลกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

และการอนุรักษธรรมชาติเขาดวยกัน

สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือน้ัน เน่ืองดวยปญหาพ้ืนท่ีแหงแลง และการขาดความรูดานการเกษตรท่ีดีพอ จึง

มีการทําธุรกิจท่ีเกี่ยวกับเกษตรกรรม เชน เกษตรพอเพียง เกษตรชีวภาพ เปนตน โดยมุงเนนแกปญหาทางดานเกษตรกรรม

เปนหลัก และมีเปาหมายเพ่ือแกปญหาความยากจนของเกษตกร และเพ่ือเพ่ิมผลผลิตและความหลากหลายของพืชผล

ทางการเกษตร เพ่ือรับมอืกบัภาวะการเปล่ียนแปลงของตลาด เชน การแลกเปล่ียนเทคโนโลยทีางการเกษตรในกลุม

ปราชญชาวบาน และกลุม Grassroot Innovation Network (GIN) ที่มีการถายทอดเทคนิคทางการเกษตร ทั้งเกษตร

อินทรียขนาดจิว๋ การใชถานชวีภาพ ระบบชลประทานแบบนํ้าหยด ปุยอินทรีย ฟารมหมหูลุม และการเกษตรแบบทวคีณู

(Multiple Crop Farming) จนกลายเปนเครือขายขนาดใหญ

สวนภาคกลางน้ัน เน่ืองจากเปนพ้ืนท่ีของการทําเกษตรกรรมและความเจริญทางดานอุตสาหกรรม จึงมีกิจการ

เพ่ือสังคมท่ีหลากหลายรูปแบบ เชน การรวมกลุมสหกรณการเกษตร กลุมแมบานในทองถิ่น แตท่ีนาสนใจคือในปจจุบัน

Page 29: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 29

เร่ิมมีแนวคิดของการสรางธุรกิจชนิดน้ีในรูปของบุคคลท่ัวไปโดยใชความรูความสามารถเฉพาะทางมากขึ้นทําใหเกิดความ

หลากหลายของธุรกิจ โดยมีการจัดตั้งองคกรพัฒนาชุมชนที่ภาคกลางจํานวนมาก แลวถึงมีการกระจายการพัฒนาไปสู

สวนภูมิภาค ซึ่งมีแนวคิดหลักเพ่ือชวยสังคมในภูมิภาคอ่ืนๆ ของประเทศมีการเจริญเติบโตท้ังทางเศรษฐกิจ และสังคมไป

พรอมกนั เชน สมาคมพัฒนาประชากรและชมุชน (Population and Community Development Association: PDA) ท่ีมุง

สงเสริมโครงการ กิจการเพ่ือสังคมเปนท่ีแรกๆ ของประเทศไทย โดยใหภาคธุรกิจมีบทบาทและสวนรวมกับองคกร

สาธารณประโยชน ท่ีจะชวยอํานวยความสะดวก ซึ่งเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการพัฒนาชนบท และยังเนนพัฒนา

คุณภาพชีวิตของประชาชนท้ังในเขตชนบทและเขตเมืองใหดียิ่งขึ้นอีกดวย

กิจการเพ่ือสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือน้ันมีโอกาสเติบโตมาก เน่ืองจากปจจัยหลายๆ ประการ ท้ังประเทศ

ไทยเองมีพ้ืนฐานเปนประเทศเกษตรกรรมจึงมีโอกาสพัฒนาดานเกษตรกรรมสูงมาก ศักยภาพของคนอีสาน โดยพื้นฐาน

คนอีสานเชื่อเร่ืองการทําบุญและการใหเปนสวนใหญ และการเจริญโตทางเศรษฐกิจของภาคอินโดจีน ลาว เวียดนามมี

โอกาสเติบโตมากขึ้น รวมท้ังชาวตางชาติท่ีอาศัยอยูในเมืองไทย หรือการแตงงานของผูหญิงในภาคอีสาน ท่ีมีตัวเลขจาก

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) รายงาน 2 จังหวัดแรกท่ีมีจํานวนเขยฝร่ังสูงสุด ท่ีจังหวัดขอนแกนมี 2,435 คน จงัหวดั

อุดรธานีมี 2,228 คน ซึ่งสงผลตอระบบเศรษฐกิจในพ้ืนท่ีใหมีการเจริญเติบโตโดยสามารถสังเกตไดจากถังเก็บนํ้าถังบําบัด

ราคาพรีเมี่ยม มียอดขายเพ่ิมขึ้น 100% ในป 2546 และมีอัตราการเติบโตราวปละ 15 – 20% รวมมูลคาประมาณปละ

700 ลานบาท รวมท้ังชาวตางชาติหรือกลุมเขยฝร่ัง เปนคนท่ีมีความรูความสามารถในสาขาอาชีพตางๆ และมีการ

รวมกลุมเพ่ือทําธุรกิจ เชน ในกรณีของฝร่ังลูกเขยสุรินทรชาวฮอลแลนดท่ีนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาลงมือทําเองจน

ประสบผลสําเร็จสูง พรอมท้ังชักชวนเพ่ือนตางชาติรวมปลูกพืชผัก เล้ียงปลา สุกร และปลูกวานหางจระเขบนพ้ืนท่ีวาง

เปลารอบบริเวณบาน แปรรูปเปนผลิตเคร่ืองสําอางสมนุไพรกวา 10 ประเภท สงขายท้ังตลาดในประเทศและตางประเทศ

อันเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีกอประโยชนใหกับทองถิ่น ท้ังน้ี จึงอาจกลาวไดวาภาคอีสานมีแนวโนมของการเติบโตของ

กิจการเพ่ือสังคมอยางตอเน่ือง นอกจากน้ี การรวมกลุมกันของคนในชุมชนเพ่ือทํากลุมออมทรัพยในทองถิ่นท่ีมีอยูในท่ัวทุก

ภาคของประเทศไทย มีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น ดังเชนตัวอยางของ กลุมสัจจะออมทรัพยของครูชบ ท่ีถูกนํามาเปนตัวอยางของ

ชุมชนอ่ืนใหนํารูปแบบมาปรับใชและตั้งเปนกลุมออมทรัพยในชุมชนน้ันๆ ซึ่งมีชุมชนเกือบ 4,000 ชุมชนกําลังอยูในระหวาง

การผลักดันใหเกิดการตั้งกองทุน และรูปแบบของการพัฒนาชุมชนน้ีถูกนําเขาสูท่ีประชุมของคณะรัฐมนตรีแลวซึ่งอยูใน

ระหวางการพิจารณา

จากการสํารวจจํานวนของกิจการเพ่ือสังคมเบ้ืองตนอยางหยาบ ประเทศไทยมีกิจการท่ีเขาขายเปนกิจการเพ่ือ

สังคมประมาณ 116,298 แหง โดยอยูในเขตกรุงเทพฯ จํานวน 1,915 แหง (1.65%) และอยูในเขตนอกกรุงเทพฯ จํานวน

114,382 แหง (98.35%)

กรุงเทพฯ นอกกรุงเทพฯ รวม

ธุรกิจการกําจัดส่ิงปฏิกูลและขยะ การสุขาภิบาล 839 1,024 1,863

สหกรณ 393 5,898 6,291

สหกรณ – เกษตร 19 4,309 4,328

สหกรณ – ประมง 2 100 102

สหกรณ – ออมทรัพย 336 1,021 1,357

สหกรณ – เครดิตยูเนียน 36 468 504

Page 30: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 30

กรุงเทพฯ นอกกรุงเทพฯ รวม

วิสาหกิจชุมชน 297 59,193 59,490

กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต 0 35,891 35,891

องคกรชุมชนและเครือขาย 303 12,231 12,534

กิจการเพื่อสังคมท่ีกอตั้งโดยสมาคม (1%) 47 79 126

กิจการเพ่ือสังคมท่ีกอตั้งโดยมูลนิธิ (1%) 37 67 104

1,915 114,382 116,298

ตัวเลขประมาณจํานวนกิจการเพ่ือสังคมขางตนน้ี อาจมีการนับรวมองคกรท่ีมีลักษณะใกลเคียงแตไมนับวาเปน

กิจการเพ่ือสังคมตามนิยามท่ีกําหนดไวเบ้ืองตน ในขณะเดียวกัน กิจการ และหรือหนวยธุรกิจบางแหงท่ีจัดวาเปนกิจการ

เพ่ือสังคมอาจจะยังไมถูกนับรวมในประมาณตัวเลขขางตน ในอนาคต เพ่ือใหการเก็บขอมูลมีความแมนยําเพ่ือใชในการ

วางนโยบาย และยุทธศาสตร รวมถึงการใหสิทธิพิเศษในรูปแบบตางๆ และการวางนโยบายเพ่ือสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม

ไดอยางเหมาะสม ควรมีการจัดทําฐานขอมูลกิจการเพ่ือสังคมขึ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถนําขอมูลบางสวนจาก

ฐานขอมูลอ่ืนๆ ท่ีมีอยูแลวมารวม และเปดใหองคกร บริษัท หางราน ท่ีมีคุณลักษณะตรงตามนิยามของกิจการเพ่ือสังคมท่ี

กําหนดไวขางตน มาขึ้นทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคมตอไป

ผูกอตั้ง จํานวน มูลคาธุรกิจ

(ลานบาท)

ขอเสนอแนะในการรวบรวม

ขอมูลในอนาคต

เครือขายและองคกรชุมชน > 100,000 แสนลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง หรือใชฐานขอมูลท่ีมีอยู

แลว โดยดูจากนิยามของรูปแบบองคกรน้ันๆ

องคกรสาธารณประโยชน > 100 รอยลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง ผานฐานขอมูลองคกร

พัฒนาเอกชนท่ีจดทะเบียนกบั

กระทรวงมหาดไทย

หนวยราชการและ

รัฐวิสาหกิจ

< 10 ลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง

ผูประกอบการใหม > 200 พันลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง

ธุรกิจเอกชน < 10 พันลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง

อ่ืนๆ < 100 รอยลาน ขึ้นทะเบียนดวยตนเอง

6) การวิเคราะหโอกาสเชิงยุทธศาสตร และชองวางเชิงศักยภาพของกลุมกิจการเพื่อสังคมในประเทศ

ไทย

ผูกอตั้ง โอกาสเชิงยุทธศาสตร ชองวางเชิงศักยภาพ

เครือขายและองคกรชุมชน และ

กิจการเพ่ือสังคมอ่ืนๆ

สรางความแข็งแรงของชุมชนในการ

พ่ึงตนเองในทุกดาน

เสริมทักษะในการประกอบการ

ความสามารถที่จะรวมตัวทํางานเปน

เครือขายและการเขาถึงตลาด

Page 31: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 31

ผูกอตั้ง โอกาสเชิงยุทธศาสตร ชองวางเชิงศักยภาพ

องคกรสาธารณประโยชน

สรางความยั่งยืนและประสิทธิภาพ

ขององคกร

เสริมความรูความเขาใจ ทักษะในการ

ประกอบการ และเงนิทุนเพ่ือการริเร่ิม

ผูประกอบการใหม สรางนวัตกรรมทางสังคมท่ียั่งยืนและ

เปนทางเลือกของคนรุนใหม

เสริมความรูความเขาใจ ทักษะในการ

ประกอบการ เงนิทุนเพ่ือการริเร่ิม

เครือขายวิชาชีพ

ธุรกิจเอกชน และหนวยงานรัฐและ

รัฐวิสาหกิจ

เกิดขึ้นไดรวดเร็ว สรางผลไดทันที

สามารถตอยอดจากกระแส CSR

เสริมความเขาใจเกี่ยวกับความเชื่อมโยง

ระหวางกิจการเพ่ือสังคมและความ

รับผิดชอบตอสังคม (CSR)

กลุมที่ 1 เครือขายและองคกรชุมชน และกิจการเพื่อสังคมอื่นๆ

โอกาสเชิงยุทธศาสตร

ประเทศไทยมีเครือขายและองคกรในระดับชุมชนอยูนับแสนราย มีความหลากหลายท้ังในเชิงประเด็นและขนาด

แนวการพัฒนาชุมชนโดยการจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคมในหลากหลายรูปแบบ เชน สหกรณ วิสาหกิจชุมชน ฯลฯ จึงมี

ความสําคัญอยางยิ่งเพราะเกี่ยวโยงกับประโยชนตอชุมชนโดยตรง และยังเปนการพัฒนาเศรษฐกิจไปพรอมๆ กับการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตในหลากหลายมิติของชุมชน อีกท้ังยังเปนการลดการพ่ึงพากลไกของรัฐในการแกปญหาและพัฒนา

โอกาสตางๆ ของชุมชนเอง จึงเปนรากฐานท่ีสําคัญของการสรางระบบเศรษฐกิจท่ีมีชุมชนเปนศูนยกลาง (Local

Economy) ซึ่งยอมจะทําใหเกิดการพ่ึงพากันเอง การมีเหตุผลในการดําเนินงาน และลดความเส่ียงของชุมชนจากความ

เปล่ียนแปลงในระบบเศรษฐกิจสวนกลางและเศรษฐกิจโลก และยังสามารถขยายผลตอยอดไดอยางมีประสิทธิภาพ ตรง

ตามปรัชญาเศรษฐกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยเฉพาะเปนรูปธรรมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นท่ี 2

และขั้นท่ี 3 ท่ีเนนการเชื่อมโยงพ่ึงพากันเอง และมีความรวมมือกับหนวยงานภายนอกตางๆ เพ่ือการขยายผล ดวยเหตุ

ดังกลาว กิจการเพ่ือสังคมในระดับชุมชนจึงเปนแนวทางสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยางยั่งยืนใน

ระดับรากหญาอยางแทจริง โดยเฉพาะในประเด็นคุณภาพชีวิต ความเปนอยู การสรางรายได การจัดสวัสดิการในชุมชน

การบริหารจัดการความเส่ียงตางๆ ซึ่งลวนจะนําไปสูการลดทอนการพ่ึงพากลไกรัฐในสวนกลางท้ังในเชิงนโยบายและ

งบประมาณ อีกท้ังยังเปนการสรางความสามารถของชุมชนท่ีจะพัฒนาตนเองไดอยางอิสระอีกดวย

ความเสี่ยง

การดําเนินกิจการเพ่ือสังคมของชุมชนมีความเส่ียงสําคัญอยางนอยสองดาน ดานแรก คือความเส่ียงในการ

บริหารจัดการธุรกิจใหมีประสิทธิภาพและขยายตัวได เพราะอาจยังขาดความรูความสามารถและทักษะในการบริหารธุรกิจ

ดานท่ีสอง คือความเส่ียงในการจัดการดําเนินงานและแบงรายไดอยางโปรงใส เปนธรรม ไมขึ้นกับอิทธิพลของนายทุนหรือ

นักการเมืองทองถิ่น ซึ่งหากมีความผิดพลาดก็ยอมจะเกิดปญหา เชน ในการจัดสรรผลประโยชนตอชุมชนอยางไมเปน

ธรรม หรือกลับเปนการสรางฐานอํานาจการเมืองทองถิ่นในลักษณะผูมีอิทธิพล เปนตน

ชองวางเชิงศักยภาพ

Page 32: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 32

เครือขายและองคกรระดับชุมชนมักขาดศักยภาพในสามดาน ดานแรก คือทักษะในการบริหารจัดการธุรกิจและ

ทักษะการกํากับดูแลใหชัดเจน เปนระบบ และมีความโปรงใส โดยเฉพาะทักษะการจัดการท่ีสามารถใชไดจริงในกิจการ

เพ่ือสังคมในระดับชุมชนดานตางๆ เชน การจัดการทองเท่ียวโดยชุมชน การทําวิสาหกิจเกษตรท่ียั่งยืน กิจการพลังงาน

ทดแทนระดับชุมชน กิจการจัดการของเสีย กิจการตอยอดทุนทางวัฒนธรรมเฉพาะของชุมชน ฯลฯ ดานท่ีสอง คือการขาด

ความสามารถท่ีจะรวมตัวกันเปนเครือขายเพ่ือตอยอดพัฒนาและขยายผลกิจการเพ่ือสังคมของตนใหเกิดเปนกลุมภาคีท่ีมี

ความมั่นคง และสามารถบริหารจัดการเชื่อมโยงและแลกเปล่ียนทรัพยากร สินคา และบริการตางๆ ไดเพ่ิมขึ้น เชนจาก

ระดับพ้ืนท่ีชุมชนไปสูระดับจังหวัด และตอยอดไปสูระดับภูมิภาค ประเทศ และระหวางประเทศตามลําดับ ดานท่ีสาม คือ

ปญหาการเขาถึงตลาดซึ่งอาจมีความจําเปนท่ีตองท้ังพัฒนาทักษะใหชุมชนสามารถทําการตลาดไดเพ่ือการเขาแขงขันใน

ระบบตลาด นอกจากน้ัน อาจมีความจําเปนท่ีตองพัฒนาชองทางการเขาถึงตลาดผานการสรางองคกรใหมท่ีรับทํา

การตลาดสินคาและบริการจากชุมชน และเชื่อมโยงกับองคกรท่ีมีอยูแลวซึ่งสามารถเขาถึงผูบริโภคท่ีหลากหลายไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

กลุมที่ 2 องคกรสาธารณประโยชน

โอกาสเชิงยุทธศาสตร

องคกรสาธารณประโยชนมจีาํนวนมากมายนับหมืน่แหงในประเทศไทย ปจจบุนัมกักาํลังประสบปญหาเกีย่วกบั

การจัดหารายได และการระดมทุนเพ่ือนํามาดําเนินกิจกรรมสาธารณประโยชนตางๆ ท้ังน้ีเปนเพราะอัตราดอกเบ้ียท่ีต่ํา

อยางมากจนทําใหองคกรสาธารณประโยชนแทบไมมีรายไดจากดอกเบ้ียของเงินฝาก นอกจากน้ัน แหลงทุนตางชาติแทบ

จะยุติการสนับสนุนองคกร สาธารณประโยชน ในประเทศไทย สวนองคกรแหลงทุนในประเทศน้ันกม็ไีมมาก นอกจากน้ัน

ประชาชนและภาคธรุกจิเองยงัไมมวีฒันธรรมการบริจาคอยางเปนระบบสูองคกรพัฒนาเอกชนท่ีหลากหลาย เงนิบริจาค

สวนใหญยังไปท่ีวัด โรงเรียน และโครงการในพระองคเปนสวนใหญ จึงทําใหองคกร สาธารณประโยชน ประสบปญหาทาง

การเงินมากขึ้นอยางตอเน่ือง และเกิดปญหาตอการพัฒนาคุณภาพบุคลากรจนทําใหงานภาคประชาสังคมโดยรวมขาด

ประสิทธิภาพ อีกท้ังกฎหมายมูลนิธิสมาคมในปจจุบันยังมีความซับซอนและไมเอ้ือตอการสรางรายไดโดยตรงขององคกร

สาธารณประโยชน นัก ดังน้ัน การท่ีองคกร สาธารณประโยชน สามารถจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคมท่ีมีภารกิจแกปญหาสังคม

ส่ิงแวดลอม สุขภาวะ ไปพรอมๆ กับการสรางรายได จึงเปนส่ิงสาคัญตอการพัฒนาภาคสวนงานเพ่ือสังคมอยางยั่งยืนและ

มีประสิทธิภาพ เพราะรายไดสวนเหลือจะยอมสามารถนําไปสนับสนุนและขยายผลงานสาธารณประโยชนไดอยางตอเน่ือง

ความเสี่ยง

องคกรสาธารณประโยชนท่ีจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคมขึ้น มีความเส่ียงอยางนอยสองประการสําคัญ ประการแรก คือ

หากมีความผิดพลาดในการบริหารจัดการ อาจทําใหองคกรน้ันๆ มีความสับสนในดานพันธกิจเพ่ือสังคม โดยเฉพาะหาก

กจิการประสบผลสําเร็จมากจนทําใหบคุลากรในองคกรเกดิความสับสนระหวางภารกจิการสรางประโยชนตอสังคม และ

การสรางรายได เชน การใหเวลาและทรัพยากรตองานกิจการเพ่ือสังคมจนขาดการเอาใจใสตอภารกิจเดิมเปนตน อีก

ประการหน่ึงคอืความเส่ียงในดานศกัยภาพการบริหารจดัการ ซึง่หากผิดพลาด อาจสงผลใหดาํเนินการขาดทุนและกระทบ

ไปยังตัวองคกราธารณประโยชน เอง ดงัน้ัน ความระมดัระวงัในการแยกสวนงาน กระบวนการบริหารจดัการ และการเงนิ

ระหวางองคกรสาธารณประโยชนผูจัดตั้งและกิจการเพ่ือสังคมจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง

Page 33: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 33

ชองวางเชิงศักยภาพ

องคกรสาธารณประโยชนมักขาดศักยภาพในสามดาน ดานแรก คือความรูความเขาใจเกี่ยวกับโอกาสการพัฒนา

งานสาธารณประโยชนของตนมาสูกิจการเพ่ือสังคม ดานท่ีสอง คือการขาดทักษะการบริหารจัดการ โดยเฉพาะในดานการ

พัฒนาและจัดการธุรกิจ ซึ่งเปนทักษะท่ีภาคประชาสังคมมักมีความขาดแคลน และดานท่ีสาม คือการขาดเงินทุนเร่ิมตน

สําหรับการริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมขึ้น ซึ่งมักจะมีความจําเปนเพราะอยางนอยอาจจะตองมีการจางงานเพ่ิมเพ่ือการขยาย

งานดานกิจการเพ่ือสังคม

กลุมที่ 3 ผูประกอบการใหม

โอกาสเชิงยุทธศาสตร

กลุมผูประกอบการเพ่ือสังคมท่ีริเร่ิมกอตั้งกิจการเพ่ือสังคมใหมเลยน้ันเปนกลุมท่ีมีโอกาสในเชิงการสรางสรรค

นวัตกรรมที่ตอบสนองตอความตองการของสังคมในประเด็นตางๆ ไดโดยไมมีขอยึดติดกับองคกรเดิมดังเชนในกลุมอื่นๆ

และยังเปนทางเลือกใหมสําหรับคนรุนใหมและประชาชนท่ีมีความสนใจในดานการชวยเหลือ แกไข และพัฒนาสังคม

ส่ิงแวดลอม สุขภาวะ ไดอยางยั่งยืนอีกดวย แมปจจุบันผูประกอบการเพ่ือสังคมในลักษณะน้ีจะมีเปนจํานวนนอย แตจาก

กระแสเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคมท่ัวโลก และความสนใจในประเด็นดังกลาวในประเทศ จึงเชื่อไดวาจะมีจํานวนเพ่ิมขึ้น

อยางรวดเร็ว และจะเปนสวนท่ีมีผลตอการสรางสรรคระบบเศรษฐกิจใหมท่ียั่งยืนและหลากหลายอยางแทจริง และยังเปน

กลุมกิจการท่ีจะสามารถทําใหพัฒนาการทางเศรษฐกิจน้ันเปนไปอยางสรางสรรค ตอบความตองการดานสังคมไดอยาง

รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายผลประโยชนกลับเขาสูชุมชนอีกดวย

ความเสี่ยง

กลุมผูประกอบการเพ่ือสังคมใหมรายยอยน้ันเปนเร่ืองใหมในประเทศไทย ยงัมจีาํนวนนอย ขาดประสบการณ

และยังไมมีเครือขายดําเนินงานชัดเจน ดังน้ันจึงมีความเส่ียงในเชิงภาพรวมวาหากปลอยใหกลุมกิจการน้ีเกิดขึ้นโดย

ธรรมชาติ ขาดการสนับสนุนท่ีครบถวน ก็อาจจะเจริญเติบโตไดชา ไมสามารถใชความสนใจและความรูมาสรางนวัตกรรม

เพ่ือสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ จนทําใหเปนกลุมท่ียังไมเห็นผลกระทบตอสังคมอยางชัดเจนนัก อีกท้ังเปนธุรกิจใหมจึงมี

โอกาสท่ีจะผิดพลาดจนตองปดกิจการสูงกวากลุมอ่ืนๆ ซึ่งแมแตในภาคธุรกิจท่ัวไป กิจการเกิดใหมเชิงนวัตกรรมในประเทศ

ไทย (Innovation Startups) ก็ยังเปนเร่ืองใหม ยังขาดการหนุนเสริมเพ่ือใหมีโอกาสท่ีจะอยูรอดและขยายผลได ใน

ตางประเทศมีระบบสนับสนุนองคกรเกิดใหมเหลาน้ีอยางชัดเจน เชน ศูนยบมเพาะธุรกิจใหม และบริษัทรวมทุน (Venture

Capital) เปนตน

ชองวางเชิงศักยภาพ

แมกลุมผูประกอบการเพ่ือสังคมใหมจะมีโอกาสมหาศาลในการสรางนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความตองการที่

ซับซอนของสังคมได แตก็ยังเปนกลุมท่ีใหมและขาดระบบสนับสนุนในหลายดาน ดานแรก คือความรูความเขาใจของ

ผูประกอบการรุนใหมและประชาชนท่ัวไปเกี่ยวกับโอกาสและวิธีการสรางกิจการเพ่ือสังคมท่ีหลากหลาย หากมีผูท่ีรับรูและ

เรียนรูประเด็นดังกลาวมากขึ้น ก็ยอมจะทําใหมีผูสนใจริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมมากขึ้น ดานท่ีสอง คือการขาดทักษะการ

Page 34: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 34

ประกอบการท่ีเปนระบบท้ังในเชงิการวางแผน การบริหารจดัการ กฎหมาย บัญชกีารเงนิตางๆ ซึง่มลัีกษณะปญหา

ใกลเคียงกับกิจการขนาดเล็กและขนาดกลางท่ัวไป (SMEs) ดานท่ีสาม คือการขาดเงินทุนริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคม ซึ่งเปน

ชองวางเน่ืองจากเปนเร่ืองใหมในสังคมไทย สวนธนาคารท่ัวไปท่ีใหสินเชื่อธุรกิจใหมก็ยังไมรับรูประเด็นกิจการเพ่ือสังคม

จึงทําใหมีความยากลําบากในการระดมทุน และในดานสุดทาย คือยังขาดการเครือขายวิชาชีพท่ีจะสามารถรวมตัวกันเพ่ือ

การพัฒนาวงการในดานตางๆ ชวยเหลือดูแลกันและกัน และเชื่อมโยงความสัมพันธเชิงยุทธศาสตรในการดําเนินธุรกิจ

ระหวางกันได

กลุมที่ 4 ธุรกิจเอกชน และหนวยงานรัฐและรัฐวิสาหกิจ

โอกาสเชิงยุทธศาสตร

ธุรกิจเอกชน โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญรวมถึงรัฐวิสาหกิจมักมีความพรอมท้ังในเชิงการบริหาร

จัดการและเงินทุน ดังน้ัน หากกลุมน้ีมีความสนใจในกิจการเพ่ือสังคมแลวจะยอมสามารถสรางกิจการเพ่ือสังคมขึ้นมาเปน

สวนหน่ึงของธุรกิจของตนไดอยางรวดเร็วในหลากหลายรูปแบบ เชน รูปแบบของบริษัทลูกท่ีถือหุนโดยธุรกิจเดิม หรืออาจ

เร่ิมเปนสวนงานธุรกิจยอย (Business Unit) กอนจนกวาจะมีความพรอม เปนตน

เน่ืองจากขนาดของธุรกิจเอกชนมีขนาดกลางถึงใหญ หากใชศักยภาพดังกลาวมาสรางกิจการเพ่ือสังคมยอมจะ

เกิดผลอยางชัดเจน และขยายผลไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถตอยอดและยกระดับจากกระแสความรับผิดชอบตอ

สังคมโดยภาคธุรกิจ (Corporate Social Responsibility: CSR) ซึ่งไดดําเนินการอยูแลวไดอีกดวย นอกจากน้ัน ในภาค

รัฐวิสาหกิจจะสามารถใชโอกาสการสรางกิจการเพ่ือสังคมท่ีเกี่ยวของกับประเด็นของตน ในการขยายตอยอดงานตาม

ภารกิจของรัฐวิสาหกิจน้ันๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมกระทบตออัตรากําลังคน และไมติดขัดดังเชนในการขยายกิจการ

ผานการแปรรูปโดยท่ัวไปอีกดวย

ความเสี่ยง

กิจการเพ่ือสังคมท่ีตั้งขึ้นโดยธุรกิจเอกชนน้ันมีความเส่ียงอยางนอยสองดาน ดานแรกคือความเส่ียงตอภาพรวม

ของบริษัทเอกชนผูจัดตั้ง เชน ผลประกอบการของกิจการเพ่ือสังคมท่ีอาจกระทบตอภาพรวมประสิทธิภาพในเชิง

ผลตอบแทนตอการดําเนินงานของกลุมบริษัทน้ันๆ หรือในดานความเกี่ยวของเชิงยุทธศาสตร (Strategic Fit) ระหวาง

กิจการเพ่ือสังคมและบริษัทแม ฯลฯ ซึ่งหากไมมีความเขาใจหรือไมไดรับการปองกันความเส่ียงก็ยอมจะมีผลตอความ

ยั่งยืนของกิจการได ความเส่ียงดานท่ีสอง คือคือความเส่ียงในเชิงเปาหมายดานสังคม แมในทางยุทธศาสตรแลวกิจการ

เพ่ือสังคมควรจะมีความสัมพันธกับธุรกิจเอกชนผูจัดตั้งในลักษณะท่ีเกื้อประโยชนตอกันและกัน แตหากไมมีการแยก

เปาหมายและวัตถุประสงคของกิจการเพ่ือสังคม ในเชิงเปาหมายตอสังคม ส่ิงแวดลอม หรือสุขภาวะอยางชัดเจน อาจมี

ความเส่ียงที่ทําใหผลตอสังคมในการดําเนินการขาดความชัดเจน และอาจถูกเพงเล็งจากสังคมโดยรวมวาเปนเพียงการ

สรางประโยชนทางธรุกจิ หรือเปนรูปแบบการรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ในลักษณะท่ี

มีแนวทางการส่ือสารประชาสัมพันธเปนหลัก ซึ่งยอมจะเกิดผลลบท้ังตอกิจการเพ่ือสังคมและธุรกิจเอกชนผูจัดตั้งได

ชองวางเชิงศักยภาพ

Page 35: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 35

ธุรกิจเอกชนแมจะมีความพรอมในเชิงศักยภาพและทรัพยากร แตขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับประโยชนและ

วิธีการจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคม อยางไรก็ตาม กระแสความรับผิดชอบตอสังคมโดยภาคธุรกิจ (Corporate Social

Responsibility: CSR) กําลังไดรับความสนใจเปนอยางมาก แนวคิดกิจการเพื่อสังคมจึงสามารถตอยอดจากกระแส

ดังกลาวได ซึ่งหากธุรกิจตั้งกิจการเพ่ือสังคมท่ีเหมาะสมและเกี่ยวของกับประเด็นเชิงยุทธศาสตรของตนแลว ยอมจะทําให

ธุรกิจเอกชนสามารถแสดงความรับผิดชอบตอสังคมไดอยางยั่งยืนและสรางขยายผลไดตอเน่ือง

Page 36: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 36

บทที่ 2

วิสัยทัศน และยุทธศาสตร

การสรางเสริมกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย

Page 37: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 37

1) วิสัยทัศน

การสรางกิจการเพ่ือสังคมเพ่ือ

• เปนตนแบบการพัฒนาเศรษฐกจิท่ียัง่ยนื

• สรางสังคมท่ีมีความเทาเทียม ยุติธรรม และมีปญญามากขึ้น

• เกิดเครือขายนวัตกรรมทางสังคมอยางกวางขวาง

2) พันธกิจ

• สรางการรับรูและการเรียนรูเร่ืองกจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทย

• พัฒนารูปแบบและขีดความสามารถของกิจการเพ่ือสังคม

• พัฒนาชองทางการเขาถึงแหลงเงินทุนและทรัพยากรสําหรับกิจการเพ่ือสังคม

3) ยทุธศาสตรการสรางเสริมกิจการเพือ่สงัคมในประเทศไทย ระยะเร่ิมตน (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

ใหคําจํากัดความ และพัฒนารูปแบบ (Model) ของกิจการเพ่ือสังคมท่ีทุกฝายยอมรับ แลวจึงดําเนินการส่ือสาร

รูปแบบกิจการเพ่ือสังคมดังกลาวในวงกวาง และประสานความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม

เปนภาคีเพ่ือรวมกันพัฒนาระบบนิเวศนท่ีสนับสนุนและเกื้อกูลใหเกิดกิจการเพ่ือสังคมไดอยางยั่งยืนในสังคมไทย

4) เปาหมาย

ระยะสัน้ : 1 ป

พ.ศ. 2553

จัดตั้งสํานักงานสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม กําหนดนิยาม และรูปแบบเฉพาะของกิจการเพ่ือ

สังคมสําหรับประเทศไทย ศึกษาสถานการณ ถอดบทเรียน และจัดทํากรณีศึกษากิจการเพื่อสังคม

ตนแบบในประเทศไทย และพัฒนาเครือขายท่ีประกอบไปดวย ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาค

ธุรกิจในการขับเคล่ือน พัฒนา ประเด็นกิจการเพ่ือสังคมตามแผนแมบทน้ี

ระยะกลาง : 3 ป

พ.ศ. 2553 – 2555

• สังคมไทยไดรับรู เรียนรู และตื่นตัวกับเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม และบทบาทของกิจการเพ่ือ

สังคมในการขับเคล่ือนการแกไขปญหา และพัฒนาประเทศ

• กิจการเพื่อสังคมมีรูปแบบที่ชัดเจนตามกฎหมาย และสามารถพัฒนาศักยภาพไดอยาง

มีประสิทธิภาพ

• กิจการเพ่ือสังคมสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนและทรัพยากรเพ่ือการกอตั้ง เติบโต ขยาย

ขนาดกิจการ และ/หรือ ขยายแนวคิดการธุรกิจเพ่ือสังคมอยางยั่งยืนไปยังทองถิ่นอ่ืน

ระยะยาว : 5 ป

พ.ศ. 2553 – 2557

เกิดกิจการเพ่ือสังคมจํานวนมากและหลากหลายท้ังในเชิงพ้ืนท่ีและเชิงประเด็น อันเปนสวน

สําคัญในการพัฒนาท่ียั่งยืนท้ังในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม โดยมีสัดสวนกิจการเพ่ือ

สังคมเพ่ิมขึ้นอยางนอย 20% ตอป

Page 38: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 38

5) กลุมเปาหมายเชิงยุทธศาสตร

แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมน้ีแมจะมีเปาหมายกวางครอบคลุมกิจการเพื่อสังคมจากทุกกลุม แตมีจุด

มุงเนนพิเศษไปยงัการสรางเสริมกลุมกิจการเพ่ือสังคมท่ีเขาไมถึงทุนและทรัพยากรจากระบบตลาดตามปกติ เพื่อใหกลุมท่ี

ขาดโอกาสดังกลาวสามารถเขาถึงการสนับสนุนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพไดอยางกวางขวาง โดยเฉพาะ

ในกลุมดังตอไปน้ี

• วิสาหกิจชุมชน มุงเนนไปยงักลุมท่ีรวมตัวกันในชุมชนเพ่ือดําเนินกิจการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ท้ัง 3 ขั้น

• สหกรณ มุงเนนไปยงักลุมสหกรณท่ีขาดโอกาส ยังไมสามารถตอเชือ่มกบัทรัพยากรจากหนวยตางๆ

โดยเฉพาะระบบสหกรณออมทรัพยไดอยางมีประสิทธิภาพ

• ผูประกอบการใหม (Startup) มุงเนนไปยงัผูประกอบการเพ่ือสังคมรุนใหมท่ีตองการริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมใน

ประเดน็ท่ีหลากหลาย ท้ังในสังคมเมอืง และชนบท

• องคกรสาธารณประโยชน และภาคประชาชน ท่ีริเร่ิมกิจการเพ่ือสังคมเพ่ือพัฒนาตอยอดบริการสาธารณะของ

ตนใหเกิดประสิทธิภาพและความยั่งยืนเพ่ิมมากขึ้น

การแบงกลุมกิจการเพื่อสังคมตามประเด็นสําคัญที่สงผลตอคุณภาพชีวิต (Thematic segmentation)

กิจการเพ่ือสังคมมีหลากหลายประเด็น และมีรูปแบบท่ีหลากหลาย ซึ่งแผนแมบทสรางเสริมกิจการเพื่อสังคมมุงเนนการ

สรางเสริมการดําเนินกิจการในประเด็นสําคัญท่ีมีผลสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนดังน้ี

1. เกษตรปลอดภัยและย่ังยืน ปจจบุนัประชาชนไทยสวนใหญยังเขาไมถงึอาหารท่ีปลอดสารเคมหีรือสารพิษ

และอาหารอินทรีย ซึ่งอาหารท่ีผลิตขึ้นจากการเกษตรเคมี และการใชยาฆาแมลงท่ีเปนสารเคมีน้ันมีผลทาง

ลบอยางยิ่งตอท้ังผูบริโภคและผูผลิต ดงัน้ัน การสนับสนุนใหเกิดกลุมกิจการเพื่อสังคมในประเด็นเกษตร

ปลอดภัยและเกษตรอินทรียจึงเปนประเด็นสําคัญ อีกท้ังยังตอบสนอง ตอการพัฒนาชมุชนในชนบทซึง่เปน

พ้ืนท่ีการเกษตรเปนสวนใหญใหเกิดความยั่งยืน อันจะนําไปสูชุมชนท่ีแข็งแรง ปจจุบันมีกิจการเพ่ือสังคมใน

หลากหลายลักษณะท่ีทาํหนาท่ีท้ังผลิต ทําตลาด และกระจายสินคาเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียท้ัง

สําหรับตลาดในประเทศ และตลาดตางประเทศ

ซึ่งกิจการเพ่ือสังคมเหลาน้ีนอกจากจะทําหนาท่ีในการผลิตและพัฒนาการเขาถึงตลาดแลว ยงัมบีทบาทสําคญั

ในการพัฒนาความรูและศักยภาพของชาวบานใหดําเนินวิถีเกษตรท่ียั่งยืน และมีบทบาทสําคัญในการอนุรักษ

พันธุพืชพันธุสัตวของไทยอีกดวย ตัวอยางสําคญั เชน บริษทั นวตักรรมชาวบาน จ . บุรรีมัย ซึ่งพัฒนา

กระบวนการทําเกษตรอินทรีย โดยการเร่ิมจากพ้ืนท่ีหน่ึงงานกอนแลวจึงขยาย และสหกรณกรีนเน็ต (Green Net)

ซึ่งรับขาวอินทรียจากเครือขายท่ัวประเทศและนําไปทําการตลาดใหอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน

2. การตอยอดวัฒธรรมชุมชน เชน การทองเท่ียวท่ีจัดการโดยชุมชน การจําหนายสินคาวฒันธรรมพ้ืนบานโดยให

ราคาท่ีเปนธรรมตอผูผลิต (Fair Trade) เปนตน ในประเทศไทยยงัขาดการพัฒนารูปแบบการทองเท่ียวท่ีจัดการ

ดูแลและจัดสรรผลประโยชนโดยชุมชนเพ่ือนํารายไดสวนเกนิไปพัฒนาชมุชนในดานตางๆ แมตลาดทองเท่ียว

Page 39: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 39

ของประเทศไทยจะมขีนาดใหญเมื่อเทียบกับสัดสวนรายไดประชาชาติ แตผลประโยชนก็จะยังไมตกไปถึง

ชาวบานอยางแทจริงจนกวาชมุชนจะดาํเนินการจดัการทองเท่ียวดวยตัวเอง ซึ่งปจจุบันมีการทองเท่ียวท่ีจัดการ

โดยชุมชนอยูหลายรอยแหง แตยังขาดการเชื่อมโยง พัฒนาเปนเครือขายเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู และพัฒนา

ศักยภาพในการทําตลาดรวมกันเพ่ือใหเขาถึงนักทองเที่ยวโดยตรง

นอกจากการทองเท่ียวแลว การจัดจําหนายสินคาวฒันธรรมพ้ืนบานเองก็เปนอีกหน่ึงโอกาสสําคัญของกิจการ

เพ่ือสังคม ท้ังน้ีเพราะมีเครือขายวิสาหกิจชุมชนท่ัวประเทศท่ีดําเนินการผลิตสินคาดังกลาว แตยังขาดภาคีท่ีจะ

มารวมพัฒนาการ ออกแบบ พัฒนาความรูความสามารถในการผลิต การพัฒนาชองทางการตลาดอยางเปน

ระบบใหกับวิสาหกิจชุมชนตางๆ ท่ัวประเทศ ตัวอยางท่ีสําคัญคือ เครือขายเรียนรูธรรมชาตใินบริเวณพ้ืนท่ีปาใน

จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมีการจัดการเปนเครือขายขององคกรท่ีหลากหลาย สามารถท้ังสรางรายได ปลูกฝงคานิยม

การอนุรักษธรรมชาติ และดูแลปาชุมชนไปไดพรอมๆ กัน อีกหน่ึงตัวอยางดานการจาํหนายสินคาวฒันธรรม

พ้ืนบานกค็อื บริษทั ไทยคราฟ แฟรเทรด ซึง่รับสินคาตางๆ ของชาวบานมาจําหนายโดยใหราคาท่ีเปนธรรม และ

ยงันํารายไดสวนเหลือมาพัฒนาคุณภาพการผลิต และคุณภาพชีวิตของชาวบานท่ีเปนกลุมผูผลิตอีกดวย

3. การเงินชุมชน (Micro Finance) การพัฒนาระบบการเงนิชมุชนท่ีมปีระสิทธิภาพ เปนรากฐานท่ีสาํคญัของการ

พ่ึงตนเองและพ่ึงกนัเองในระดบัชมุชน เปนกระบวนการออมทรัพย และยงัเปนการบริหารจดัการการไหลเวยีน

ของเงนิทุนในชมุชนใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งยอมจะหนุนเสริมใหเกิดการกูยืมเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และการ

กูยืมเพ่ือดําเนินวิสาหกิจชุมชน โดยใชทรัพยากรของชุมชนและเครือขายเอง อันยอมจะเปนการพัฒนาวนิยัทาง

การเงนิของชมุชน และยงัเปนการลดการพ่ึงพางบประมาณตางๆ ของรัฐอีกดวย ในประเทศไทยมกีลุมออมทรัพย

กลุมสัจจะออมทรัพย และองคกรรูปแบบตางๆ ท่ีหลากหลายท่ีดาํเนินกจิการจนประสบผลสําเร็จ แตยังขาดการ

ตอเชื่อมระหวางกลุมตางๆ โดยเฉพาะกลุมท่ีดาํเนินการจนสําเร็จ มรีายไดเหลือจนสามารถสนับสนุนชวยเหลือ

กลุมอ่ืนๆ ท่ีเพ่ิงริเร่ิมได นอกจากเร่ืองทุนโดยเฉพาะแลว ยงัตองมกีารพัฒนาศกัยภาพขององคกรการเงินชุมชน

เพ่ือใหสามารถดําเนินกิจการไดอยางมีประสิทธิภาพและขยายผลไดอยางตอเน่ือง กลุมท่ีประสบผลสําเร็จ

อยางมากในประเทศไทยคือ กลุมสัจจะออมทรัพยคลองเปยะ เปนตน

4. พลังงานทดแทน และสิ่งแวดลอม วิกฤตสภาวะโลกรอนกําลังเปนปจจัยท่ีสงผลตอสังคมไทยในลักษณะท่ีทวี

ความรุนแรงเพ่ิมขึ้น ขณะท่ีความตองการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติกลับเพ่ิมสูงขึ้นอยางตอเน่ือง ดังน้ัน

กิจการเพ่ือสังคมในดานพลังงานทดแทนและส่ิงแวดลอมจึงมีความสําคัญยิ่ง และมีความหลากหลายอยางมาก

เชน กจิการท่ีดาํเนินการดานพลังงานก็าซชีวภาพ พลังงานชีวมวลที่สามารถผลิตไฟฟาได พลังงานลม พลังงาน

นํ้า และพลังงานแสงแดด โดยในทุกๆ ดานสามารถเลือกทํากิจการเพ่ือสังคมท่ีมีชุมชนเปนศูนยกลาง ไมไดมี

ขนาดใหญมากเพ่ือผลประโยชนสูงสุดดังธุรกิจในวงการพลังงานทดแทนท่ัวไป นอกจากน้ันในประเด็นส่ิงแวด

ลอมน้ันจะสามารถพัฒนากิจการเพ่ือสังคมไดอีกมหาศาล เชน การกําจัดขยะและของเสีย การเปนท่ีปรึกษา

ประเด็นส่ิงแวดลอม การออกแบบท่ีคาํนึงตอส่ิงแวดลอม การผลิตเฟอรนิเจอรท่ีทําจากของเหลือใชทาง

การเกษตร เปนตน ตวัอยางสําคัญคือ บริษัทวงศพาณิชยซึ่งรับจัดการและแยกขยะ และเขากระบวนการรีไซเคลิ

อยางเปนระบบ บริษทัซพูรีม รีนวิเอเบิลเอนเนอรจี ซึ่งดําเนินกิจการโรงไฟฟาระดับชุมชนในพ้ืนท่ีหางไกลโดยใช

เทคโนโลยชีวีมวลแบบไมปลอยคารบอน เปนตน

Page 40: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 40

5. สุขภาพ ประชาชนไทยมคีวามสนใจในประเดน็สุขภาพมากข้ึนอยางตอเน่ือง แตมักจะมีทางเลือกเฉพาะบริการ

ของรัฐหรือสินคาและบริการของเอกชนซึ่งมักมีราคาแพงและมีความเส่ียงในเร่ืองคุณภาพ ดังน้ัน กิจการเพ่ือ

สังคมสามารถตอบสนองชองวางในเชิงความตองการน้ีไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ในดาน สมนุไพร แพทย

ทางเลือก แพทยแผนไทย นวดแผนไทย อาหารสุขภาพ นอกจากในเชงิสินคาและบริการท่ัวไปแลว กิจการเพ่ือ

สังคมยงัเปนอีกแนวทางหน่ึงในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพพ้ืนฐาน เชน คลินิก และโรงพยาบาลชุมชน ซึ่ง

เนนตอบสนองความตองการของพ้ืนท่ี ไมขายยาราคาแพงเกินความจําเปน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน

ดวยบริการและกจิกรรมตางๆ ท่ีเกิดจากการนํารายไดสวนเหลือกลับมาลงทุน และเนนการสรางความสัมพันธ

ระหวางแพทย พยาบาล และคนไขในลักษณะใกลชิด ดูแลกันอยางตอเน่ือง ไมไดมเีปาหมายในการสรางผลกาํไร

สูงสุดในแนวทางของธุรกิจเอกชนท่ัวไป ตัวอยางท่ีสําคัญคือโรงพยาบาลอภัยภูเบศร ซึ่งมีท้ังสวนการบริการของ

โรงพยาบาล และการสรางสินคาสมุนไพรท่ีมีคุณภาพจนเปนท่ียอมรับในตลาด

6. การศึกษา กจิการเพ่ือสังคมสามารถมบีทบาทเสริมแนวทางการปฏิรปูการศกึษา และพัฒนาการเรียนรูของคน

ไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะมีความคลองตัวของภาคธุรกิจ แตสามารถขับเคล่ือนแนวคิดการพัฒนา

การศึกษาไดโดยไมตองมขีอจํากัดเกี่ยวกับการสรางผลกําไรสูงสุด ดังน้ันกิจการเพ่ือสังคมดานการศึกษาจึง

สามารถเกิดขึ้นไดอยางหลากหลาย ไมวาจะเปนการใหบริการทางการศกึษาในระบบ หรือนอกระบบปกต ิหรือ

แมแตการผลิตสินคาและบริการท่ีเสริมการเรียนรูของเยาวชนอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน ตวัอยางสําคัญคือ

โรงเรียนรุงอรุณซึ่งเปนโรงเรียนวิถีพุทธ ซึ่งเนนในการใชแนวคิดของพุทธศาสนาในการพัฒนาความคิด สติ การ

เรียนรู และการแกปญหาของเด็ก และยังใหความสนใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กที่มุงเนนการเรียนรูดวยตนเอง

เปนพิเศษอีกดวย จึงกลาวไดวาเปนโรงเรียนท่ีมคีวามพิเศษในการท่ีจะสรางผลตอสังคมผานเน้ือหาและ

กระบวนการเรียนรูท่ีแตกตาง อีกตวัอยางหน่ึงคอืบริษทัคลับครีเอทีฟ เปนบริษทัออกแบบของเลนซึ่งมุงเนนท่ี

จะใชทฤษฏีการเรียนรูของเด็กตามแตละชวงวัยมาเปนแนวทางในการพัฒนาของเลนที่เหมาะสม โดยมุงเปาให

เด็กเกิดการเรียนรูสูงสุดในเชิงทักษะตางๆ และยังออกแบบของเลนสําหรับเดก็พิการ หรือออกแบบของเลนตาม

ประเดน็ทางสังคม เชน ประเด็นส่ิงแวดลอม ดวยความแตกตางในเชิงวิธีคิดและเปาหมายในการพัฒนาของเลน

บริษทัคลับครีเอทีฟ จงึไดรางวัลระดับโลกมากมาย และยังไดรับเชิญจากองคกรเพ่ือการพัฒนาระหวางประเทศท่ี

เกี่ยวของกับเด็กใหไปพัฒนานักออกแบบของเลนท่ัวโลกอีกดวย

6) หลกัการพืน้ฐาน

• เนนการสรางความมีสวนรวมจากทุกภาคสวน โดยเฉพาะภาคเอกชน และประชาสังคม

• เกิดคณะทํางาน (Working Grop) ท่ีประกอบดวยหลายภาคสวน มีความคลองตัวสูง ใช ICT ขับเคล่ือน

• ความเปนผูนําของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีมีคําส่ังและประกาศใหเปนนโยบายสําคัญ

• มหีนวยงานในภาครัฐเปนเจาภาพรวมและเปนหนวยประสานกบัหนวยงานท่ีเกีย่วของของรัฐ

• มุงสนับสนุนกลุมท่ีเขาไมถึงทุนและทรัพยากรในประเด็นท่ีมีความสําคัญตอคุณภาพชีวิต

Page 41: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 41

บทที่ 3

ยุทธศาสตรการสรางการรับรู

และการเรียนรูเรื่องกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย

Page 42: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 42

1) นโยบายการสรางการรับรู และการเรียนรูเร่ืองกิจการเพือ่สงัคมในประเทศไทย

สรางการรับรูเร่ืองกิจการเพ่ือสังคมในประเทศไทยในวงกวาง และมุงเนนการสรางการเรียนรูเร่ืองกิจการเพ่ือ

สังคม โดยสรางความรวมมือระหวางภาคสวนตางๆ และภาคีเพ่ือขับเคล่ือนการรับรูและเรียนรูในสังคมไปพรอมๆ กัน ตาม

นโยบายดงัตอไปน้ี

• สรางการรับรูในสังคมไทยอยางกวางขวางวากิจการเพ่ือสังคม คือ ธุรกิจเพ่ือสังคมท่ีทํากําไรไดเหมือนกับ

ธุรกิจท่ัวไป และนํากําไรเหลาน้ีคืนสูสังคม จึงมีพลังในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศและมีความยั่งยืนใน

การดาํเนินงาน

• ดาํเนินนโยบายเชงิรุกอยางตอเน่ืองในการสรางการรับรูในสังคมไทยโดยเร่ิมตนจากงาน “ยุทธศาสตรการ

พัฒนากิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise) ในประเทศไทย” ท่ีจัดโดยรัฐบาล

• สรางเครือขาย และประสานความรวมมือจากภาคีในการขับเคล่ือนการรับรูและเรียนรูในสังคมไทย

• สรางตัวชี้วัดในการตอบรับเกี่ยวกับเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม

• ส่ือสารโดยวิธีการนําตัวอยางท่ีประสบความสําเร็จมาแสดง

• สรางความแตกตางท่ีชัดเจนระหวางคําวา Corporate Social Responsibility (CSR) และ Social

Enterprise (SE)

• สนับสนุนการเรียนรูเร่ืองกจิการเพ่ือสังคมในกลุมเยาวชนผานระบบการศกึษา ในระดบัอาชวีศกึษา

การศกึษานอกโรงเรียน (กศน.) การศึกษาเฉพาะทาง ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา

• รวบรวมขอมูล และองคความรูดานกิจการเพ่ือสังคมในประเทศ เพ่ือจัดรูปแบบท่ีเหมาะสมและเผยแพรใน

ส่ือสาธารณะ

2) มาตรการท่ี 1 การใหรางวลั และจัดประกวดกิจการเพือ่สงัคมระดับประเทศ

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: คัดเลือกกิจการเพ่ือสังคมท่ีหลากหลายท่ีสามารถเปนตัวอยางได เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการส่ือสารตอสาธารณะ

การใหรางวัลกิจการเพื่อสังคม

• จัดทําดัชนี SE50 เพ่ือคัดเลือก 50 กิจการเพ่ือสังคมท่ีถือเปนตนแบบของกิจการเพ่ือสังคมท่ีประสบ

ความสําเร็จในระดบัแนวหนาของประเทศไทย โดยประกาศในงานเปดตวัการสรางเสริมกจิการเพ่ือสังคมใน

ประเทศไทย (Social Enterprise Kick-Off Day)

• ใหรางวัลกิจการเพ่ือสังคมดีเดนประจําป (SE Award) แกกิจการท่ียอดเยี่ยมแบงตามประเภทของกิจการ

เพ่ือสังคมท่ีกําหนดไวขางตน

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: รวบรวมกรณีตัวอยาง สรางเสริมใหเกิดผูประกอบการเพ่ือสังคม และเผยแพรประชาสัมพันธไปพรอมๆกัน

จัดประกวด/แขงขันกิจการเพื่อสังคมในระดับภูมิภาค และระดับประเทศ

• จัดการแขงขันแผนธุรกิจกิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise Business Plan Competition: SEBP) ใน

กลุมนักศึกษามหาวิทยาลัย และผูประกอบการรุนใหม

• จัดการประกวดแผนธุรกิจกิจการเพ่ือสังคมในกลุมภาคธุรกิจเอกชน (Social Business Plan Competition)

Page 43: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 43

ตัวอยางที่ 12: กรณีศึกษา Social Enterprise Awards ในสหราชอาณาจักร

Social Enterprise Awards เปนโครงการของ Social Enterprise Coalition รวมกบั Office of the Third Sector,

Communities and Local Government และ Department of Children, Schools and Families ซึ่งจะเปนการแขงขัน

ระหวางกิจการเพ่ือสังคมในสหราชอาณาจักร โดยรางวัลจะมอบใหแกกิจการเพ่ือสังคมท่ีพิสูจนแลววามีความแข็งแกรงท้ัง

ดานการบรรลุเปาหมายทางสังคมและส่ิงแวดลอม ความสรางสรรคของแผนธุรกิจ มีแผนการเงินและการเติบโตอยางชัดเจน

โดยอาศัยการโหวตออนไลน โดยจะไดรับเงินรางวัล 5,000 ปอนด แตท่ีสําคัญกวาน้ันคือ กิจการเพ่ือสังคมท่ีไดรับรางวัลจะ

ไดรบัการยอมรับ และเปดเผยในวงกวาง

3) มาตรการท่ี 2 การจัดสัมมนา และการประชุมเก่ียวกับกิจการเพื่อสังคม

แผนงานที่ 1

เปาหมาย : คนหาตนแบบ แลกเปล่ียนความรูและประสบการณระหวางกิจการเพ่ือสังคม และสรางความรวมมือระหวาง

ภาคใีนภาคสวนตางๆในประเทศไทย

จัดสัมมนาเร่ืองกิจการเพื่อสังคมภายในประเทศ

• จัดงาน CEO Forum: Philanthropy & Corporate turning SE เพ่ือเปนการสัมมนาเร่ืองกิจการเพ่ือสังคมใน

ประเทศไทย โดยเจาะกลุมธุรกิจเอกชน และผูบริจาคเพ่ือสังคมรายใหญ

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: ประเทศกลายเปนศูนยกลางการลงทุน และแลกเปล่ียนการเรียนรูเร่ืองกิจการเพ่ือสังคมในทวีปเอเชีย (Asia)

จัดสัมมนาระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชีย (Asia)

• จดังานสัมมนาระหวางประเทศ Social Enterprise Asia Expo (SE ASIAN EXPO) เพ่ือประชาสัมพันธถึง

นโยบายในการสนับสนุนกจิการเพ่ือสังคมในประเทศไทยรวมท้ังสิทธิประโยชนตางๆท่ีกจิการเพ่ือสังคมจะ

ไดรับ รวมท้ังการจัดเวทีเพ่ือใหกิจการเพ่ือสังคมในทวีปเอเชียไดพูดคุยเพ่ือแลกเปล่ียนความรู และสราง

เครือขาย รวมท้ังไดพบปะกับนักลงทุนท่ีสนใจ

4) มาตรการท่ี 3 การพฒันาเน้ือหาความรู และหลกัสตูรการเรียนการสอน

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: สรางองคความรู และส่ือสาธารณะดานกิจการเพ่ือสังคม เพ่ือใหผูท่ีสนใจสามารถศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมได

จัดทําสื่อการเรียนรูดานกิจการเพื่อสังคม

• รวบรวมองคความรูดานกิจการเพ่ือสังคมเพ่ือใชในการจัดทําส่ือเพ่ือเผยแพรตอสาธารณะ

• พัฒนาคูมือสําหรับผูประกอบการทางสังคม

• แปลหนังสือท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวของกับเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม

• ตีพิมพบทความในนิตยสาร/จุลสารตางๆ

• พัฒนาส่ือมัลติมีเดีย

• พัฒนาระบบ E-Learning สําหรับการเรียนรูดวยตนเอง เพ่ือคนรุนใหมและเยาวชน

Page 44: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 44

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: กอใหเกดิการเรียนรูในกลุมเยาวชนไทยผานหลักสูตรในระบบการศกึษา

พัฒนาหลักสูตร และเนื้อหาประกอบการเรียน ในระดบัอาชวีศกึษา การศกึษานอกโรงเรียน (กศน.)

การศึกษาเฉพาะทาง ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา

• ประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เชน กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือพัฒนาและบรรจุเน้ือหาความรูเร่ือง

กิจการเพื่อสังคมในหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษา

• ประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ และสถาบันเฉพาะทาง เพ่ือพัฒนาหลักสูตร และวิชาท่ีเกี่ยวของกับ

กจิการเพ่ือสังคมสําหรับการเรียนการสอนในระดบัอุดมศกึษา

5) มาตรการท่ี 4 การพัฒนาฐานขอมูล และศึกษากระบวนการเรียนรูเร่ืองกิจการเพื่อสังคม

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: พัฒนาฐานขอมูล กําหนดรูปแบบ และรวบรวมกรณีศึกษาและเน้ือหากระบวนการเรียนรูเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม

ในประเทศไทย

จัดทําฐานขอมูลกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย

• ทําระบบขอมูล (Data Mapping) เกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม วามีขอมูลอะไรอยูแลวบาง อยูท่ีไหน อยางไร

ควรพัฒนาอยางไร ใชกระบวนการรับรูอยางไร

• จัดทําระบบฐานขอมูลกิจการเพ่ือสังคม เพ่ือใหองคกรท่ีเขาขายเปนกิจการเพ่ือสังคมท่ีกําหนดโดยภาครัฐ

สามารถมาขึ้นทะเบียนเปนกิจการเพ่ือสังคมได

Page 45: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 45

บทที่ 4

ยุทธศาสตรการพัฒนารูปแบบ

และขีดความสามารถของกิจการเพื่อสังคม

Page 46: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 46

1) นโยบายการพัฒนารูปแบบ และขีดความสามารถของกิจการเพื่อสังคม

พัฒนารูปแบบเฉพาะของกิจการเพ่ือสังคมท่ีเหมาะสมกับประเทศไทย มีความชัดเจนและทุกฝายยอมรับได และ

สรางปจจัยเกื้อหนุนท่ีจะทําใหเกิดการพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของกิจการเพ่ือสังคม โดยมีแนวนโยบายใน

เร่ืองน้ี ดังตอไปน้ี

• กําหนดคําจํากัดความกิจการเพ่ือสังคมท่ีเปนกรอบกวางๆ

• กําหนดนิยามกิจการเพ่ือสังคมใหรัดกุมขึ้นและ /หรือกําหนดคุณลักษณะเพ่ิมเติมไดในอนาคตเพ่ือเปน

เงือ่นไขในการไดรับสิทธปิระโยชนในการสนับสนุนการพัฒนากจิการเพ่ือสังคมอยางเปนรูปธรรม

• พัฒนารูปแบบเฉพาะกจิการเพ่ือสังคมท่ีเหมาะสมกบัประเทศไทย

• พัฒนาตัวชี้วัดผลกระทบทางสังคมและส่ิงแวดลอมสําหรับการประเมินคุณคาเชิงสังคมของกิจการเพ่ือสังคม

• สรางองคกรตัวกลางท่ีหลากหลาย ผานการจัดตั้งองคกรใหมและ/หรือประสานความรวมมอืจากองคกรและ

เครือขายท่ีมีอยูแลว เพ่ือสรางระบบนิเวศนท่ีสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาขีดความสามารถใหกับกิจการเพ่ือ

สังคม

2) มาตรการท่ี 5 การพัฒนารูปแบบเฉพาะ และกฎหมายท่ีเก่ียวของ

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: ศึกษา และพัฒนารูปแบบเฉพาะท่ีเหมาะสมสําหรับองคกรเพ่ือสังคมในประเทศไทย

พัฒนารูปแบบเฉพาะกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย

• ศกึษารูปแบบ (Model) กิจการเพ่ือสังคมท่ีมีลักษณะเฉพาะในตางประเทศ

• พัฒนารูปแบบของกิจการเพ่ือสังคมท่ีเหมาะสมสําหรับประเทศไทย ท่ีทุกฝายยอมรับได

แผนงานที่ ๒

เปาหมาย: สรางปจจัยสงเสริมใหการกอตั้งกิจการเพ่ือสังคมสามารถทําไดงายขึ้น

ดําเนินการยกราง/แกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ

3) มาตรการท่ี 6 การพัฒนาศูนยบมเพาะ และใหคําปรึกษาสําหรับกิจการเพื่อสังคม

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: หนวยงานกลางของรัฐใหความชวยเหลือ และใหคําปรึกษากับกิจการเพ่ือสังคมโดยเฉพาะ

จัดตั้งศูนยบมเพาะกิจการเพื่อสังคมในองคกรภาครัฐโดยเฉพาะ

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: นําเอาทรัพยากรท่ีมีอยูแลวในสถาบันการศึกษา และเครือขายการศึกษาท่ีมีอยูท่ัวประเทศมาใชในการพัฒนา

ศักยภาพและขีดความสามารถใหกับกิจการเพ่ือสังคมในประเทศอยางท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ

พัฒนาเครือขายศูนยบมเพาะธุรกิจ (Incubator Center) ของมหาวิทยาลัยใหมีเนื้อหาและศักยภาพ

เพื่อการบมเพาะกิจการเพื่อสังคม

แผนงานที่ 3

เปาหมาย: นําหนวยบมเพาะ และ/หรือนโยบายอ่ืนๆ ของภาครัฐท่ีเกี่ยวของมาใชเพ่ือสงเสริมการสรางศักยภาพใหกิจการ

เพ่ือสังคม

ตอยอดบริการของรัฐบาลที่มีอยูแลว

• เสริมศูนยขอมูลใหคําปรึกษา และศูนยอบรมท่ีเกี่ยวของ เชน โครงการ New Entrepreneurs

Page 47: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 47

• พัฒนาหลักสูตรผูประกอบการเพ่ือสังคมในโครงการตนกลาอาชีพ

• เพ่ิมประเด็น Fair-trade ในศูนยขอมูลการคา กระทรวงพาณิชย

แผนงานที่ 4

เปาหมาย : ใชประโยชนจากความเชี่ยวชาญเฉพาะขององคกรธุรกิจ และงบประมาณจากโครงการเพ่ือแสดงความ

รับผิดชอบตอสังคมและส่ิงแวดลอม (Corporate Social Responsibility: CSR) ในภาคธุรกิจเพ่ือเปนปจจัยในการพัฒนา

ขีดความสามารถของภาคกิจการเพ่ือสังคม

เชื่อมโยงการบมเพาะศักยภาพของกิจการเพื่อสังคมกับโครงการ CSR ของภาคเอกชน

Page 48: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 48

บทที่ 5

ยุทธศาสตรการพัฒนาชองทางการเขาถึงเงินทุน

และทรัพยากร

Page 49: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 49

1) นโยบายการพฒันาชองทางการเขาถงึเงนิทุน และทรัพยากร

เนนการสรางชองทางการเขาถงึเงนิทุนและทรัพยากรในหลากหลายรูปแบบท่ีทาํใหการเขาถงึเงนิทุนของกจิการ

เพ่ือสังคมเทาเทียมกับธุรกิจอ่ืน เพ่ิมจํานวนกิจการเพ่ือสังคมโดยสงเสริมใหภาคเอกชนสรางความเจริญเติบโตของธุรกิจให

อยูในรูปแบบของกิจการเพ่ือสังคม และสนับสนุนใหภาครัฐและภาคเอกชนเลือกใชผลิตภัณฑและการบริการจากกิจการ

การเพ่ือสังคม และลงทุนในกิจการเพ่ือสังคม

2) มาตรการท่ี 7 การสนับสนุนใหองคกรภาคเอกชนและรัฐวสิาหกิจกอต้ังกิจการเพือ่สงัคม

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: สรางสิทธิประโยชนเพ่ือชักจูงใหบริษัทขนาดใหญ และบริษัทขนาดกลางลงทุนเพ่ือตั้งกิจการเพ่ือสังคมขึ้นเอง

สรางแรงจูงใจในการลงทุนในกิจการเพื่อสังคมผานนโยบายภาครัฐ

• กาํหนดเปนนโยบายสนับสนุนใหองคกรในกาํกบัของรัฐ รัฐวสิาหกจิ สหกรณ มลูนิธ ิองคกรภาคประชาชน

บริษัทเอกชน ท้ังท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย และไมไดจดทะเบียน ใหขยายธุรกิจในรูปแบบกิจการเพ่ือ

สังคม

• ปรับระเบียบ/เกณฑของกระทรวงการคลังเพื่อลดอุปสรรคในการจัดตั้งกิจการเพื่อสังคมโดยภาคเอกชน

• จัดทํา /แกไขมาตรการสงเสริมการลงทุนของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน เพ่ือสรางสิทธิ

ประโยชนทางภาษใีหกบักจิการท่ีลงทุน และ/หรือกอตั้งกิจการเพ่ือสังคมในประเทศ

• เปดชองทางการทํางานกับภาครัฐ และปรับปรุงมาตรฐานการจัดซื้อจัดจางของภาครัฐเพ่ือใหกิจการเพ่ือ

สังคมสามารถแขงขันไดอยางเปนธรรม

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: เพ่ิมความสะดวก และความชัดเจนในการท่ีบริษัทขนาดใหญ บริษัทขนาดกลาง และรัฐวิสาหกิจจะจัดตั้งกิจการ

เพ่ือสังคมขึ้นเอง

ใหความรูแกภาคธุรกิจเอกชนในการจัดตั้งกิจการเพื่อสังคม

• จัดทําสมุดปกขาว (White Paper) เพ่ือแนะนําใหบริษัทจดทะเบียน และบริษัทท่ัวไปทุกขนาด องคกร

สาธาณประโยชน และสหกรณ สามารถตั้งกิจการเพ่ือสังคมขึ้นเอง เพ่ือประโยชนท่ีเกื้อกูลระหวางบริษัท

สังคม และส่ิงแวดลอม

• จดัทําขอเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวสิาหกจิ (สคร.) เร่ืองนโยบายการตั้งกิจการเพ่ือสังคม

เพ่ือเปนการขยายกจิการโดยไมตองผานกระบวนการแปรรูปรัฐวสิาหกจิ

• จัดทําขอเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาสหกรณแหงชาติ เพ่ือแนะนําใหสหกรณท่ัวประเทศ กอตั้ง และ /หรือ

ลงทุนในกิจการเพ่ือสังคม เพ่ือประโยชนท่ีเกื้อกูลระหวางองคกร สังคม และส่ิงแวดลอม

• จัดกระบวนการใหความรูกับวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (SME) สหกรณ และวิสาหกิจชุมชน เร่ือง

การจัดตั้งกิจการเพ่ือสังคม

3) มาตรการท่ี 8 การพฒันากระบวนการ กลไก และเคร่ืองมอืสงเสริมการลงทุนในกิจการเพือ่สงัคม

แผนงานที่ 1 สนับสนุนใหภาคเอกชนทั้งในประเทศและตางประเทศลงทุนในกิจการเพื่อสังคม

Page 50: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 50

เปาหมาย: ลดอุปสรรคในการลงทุนในกจิการเพ่ือสังคม

• แกไขระเบียบสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ท่ีเกี่ยวของ เพ่ือเอ้ือให

เกิดกองทุนท่ีลงทุนในกิจการเพ่ือสังคมโดยเฉพาะ

• ใหนักลงทุนท้ังในประเทศและตางประเทศท่ีเลือกลงทุนในกองทุนสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมท่ีระยะเร่ิมตน

(Start-up Stage) โดยท่ีไมมุงหวงัผลตอบแทน สามารถนํารายจายสวนน้ีไปใชในการคาํนวณเปนรายจายใน

การลดหยอนภาษีได โดยสิทธิประโยชนดังกลาวจะครอบคลุมนักลงทุนทุกประเภท ไดแก นักลงทุนรายยอย

นักลงทุนสถาบัน องคกรศาสนา องคกรสาธารณประโยชน ประชาชนท่ัวไป เปนตน

• ใหสิทธิประโยชนทางภาษีสําหรับนักลงทุนท้ังในประเทศและตางประเทศท่ีเลือกลงทุนในกิจการเพ่ือสังคมท่ี

อยูในระยะเร่ิมดําเนินการ (Incubation Stage) โดยสิทธิประโยชนดังกลาวจะครอบคลุมนักลงทุนทุก

ประเภท ไดแก นักลงทุนรายยอย นักลงทุนสถาบัน องคกรศาสนา องคกรสาธารณประโยชน ประชาชน

ท่ัวไป เปนตน

• สรางแรงจูงใจใหแกองคกรในกํากับของรัฐ องคกรสาธารณประโยชน สถาบันการศึกษา และองคกรทาง

ศาสนา สามารถลงทุนในกิจการเพ่ือสังคม เชน การปรับแกกฏระเบียบท่ีเกี่ยวของใหเอ้ือแกการลงทุน เปน

ตน

• ยกเวนการการเกบ็ภาษจีากกาํไรสวนทุนจากการขายหลักทรัพย (Capital Gain) จากการลงทุนในกองทุน

สรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม สําหรับนักลงทุนรายยอยและนักลงทุนสถาบัน (Individual and Institutional

Investors)

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: รัฐเปนตนแบบใหภาคเอกชนในการจดัตัง้กองทุน และลงทุนในการสรางเสริมกจิการเพ่ือสังคมในประเทศ

พัฒนากองทุนภาครัฐ

• จัดทําสมุดปกขาว (White Paper) เกี่ยวกับนโยบายการปรับใชกองทุนและสินทรัพยท่ีมีอยูแลวของรัฐ ระบบ

สหกรณ และหนวยงานตางๆ เพ่ือการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม และเตรียมหารือแลกเปล่ียนกับหนวยงาน

ท่ีเกี่ยวของ

• พัฒนากองทุนตนแบบเพ่ือสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมรุนใหม โดยใชองคกรภาครัฐท่ีเกี่ยวของเปนผูลงทุน

หลัก เชน Social Enterprise for Health Promotion Fund ท่ีลงทุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง

เสริมสุขภาพ (สสส.)

ตัวอยางที่ 13: กรณีศึกษาสํานักนวัตกรรมสังคม (Office of Social Innovation) ประเทศสหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกาไดเร่ิมมีแนวทางสงเสริมองคกรธุรกิจเพ่ือสังคม และไดรับเสียงตอบรับเปนอยางมาก สํานัก

นวัตกรรมสังคม (Office of Social Innovation) หนวยงานรัฐท่ีประธานาธิบดีโอบามากอตั้งขึ้นในเดือนพฤษภาคม ป ค .ศ.

2009 ภายใตคณะกรรมการนโยบายภายในประเทศ (Domestic Policy Council) และเปนหนวยงานท่ีจัดตั้งขึ้นภายใน

สํานักงานทําเนียบประธานาธบิดสีหรัฐอเมริกาทําเนียบขาว (White House Office) โดยเปาหมายสําคัญของสํานักงานน้ี

คือการคนหาโครงการ หรือกิจการเพ่ือสังคมในภาคธุรกิจ หรือภาคประชาสังคมท่ีสงผลในทางบวกตอสังคม ชุมชน และ

ส่ิงแวดลอมสูง (High Impact) และขยายขนาดกับทําซ้ําได หลังจากน้ันรัฐบาลจะใชทรัพยากรของรัฐเปน “คานงดั”

Page 51: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 51

(Leverage) ใหโครงการเหลาน้ันขยายขนาดหรือทําซ้ําไดจริง

สํานักงานนวตักรรมน้ีบริหาร “ Social Innovation Fund” ขนาด 50 ลานเหรียญท่ีจะลงทุนในโครงการท่ีมี

ประสิทธิภาพท่ีสุด เพ่ือทําซ้ําใหเกิดความสําเร็จในชุมชนอ่ืนๆ ท่ัวประเทศ ซึ่งกําลังเผชิญกับความทาทายเดียวกันท่ีมุงเนน

ไปท่ีโครงการไมแสวงหากําไรท่ีสงผลกระทบสูง และเดินดวยผลลัพธ เพ่ือใหมั่นใจวาทรัพยากรของภาครัฐจะถูกใชไปในทาง

ท่ีมีประสิทธิผล มีความรับผิดชอบ และคูควรกับความไววางใจของประชาชน

4) มาตรการท่ี 9 การพฒันาและสงเสริมบริการของสถาบนัตัวกลางในตลาดเงนิและตลาดทุนเพือ่กิจการ

เพื่อสังคม (Development and promotion of financial intermediation and financial market services to

social enterprises)

แผนงานที่ 1

เปาหมาย: สรางชองทางการเขาถงึเงนิทุนและทรัพยากรจากสถาบันการเงนิ โดยเฉพาะเงนิทุนระยะยาว

สนับสนุนใหสถาบันการเงินใหบริการทางการเงินกับกิจการเพื่อสังคม

• สนับสนุนใหธนาคารเอกชนเปดชองทางใหกูยืมพิเศษเฉพาะสําหรับกิจการเพ่ือสังคม โดยท่ีรัฐใหความ

ชวยเหลือดานภาษีกับธนาคาร

• ยกเวน/ลดหยอนภาษีดอกเบ้ียบัญชีสะสมทรัพยพิเศษสําหรับกิจการเพ่ือสังคม รวมกับการใหเงินกูระยะยาว

• ใหสิทธิพิเศษสําหรับสถาบันตัวกลางท่ีใหความชวยเหลือดานการเงินและทรัพยากรอ่ืนกับกิจการเพ่ือสังคม

• ออกนโยบายใหธนาคารภายใตการกํากับดูแลของรัฐ จัดสรรเงินเพ่ือปลอยกูใหกับกิจการเพ่ือสังคม (Forced

Lending)

• ผลักดันใหธนาคารแหงประเทศไทยออกระเบียบวาดวยการปลอยสินเชื่อใหกับกิจการเพ่ือสังคมในพ้ืนท่ีท่ี

ธนาคารดาํเนินการ

• แกไขเงื่อนไขและกฎเกณฑของกลไกชวยเหลือทางการเงินของรัฐท่ีปลอยสินเชื่อใหธนาคารพาณิชยอยูแลว

เพ่ือใหธนาคารพาณิชยปลอยกูใหกับกิจการเพ่ือสังคม

แผนงานที่ 2

เปาหมาย: สรางความแข็งแกรงใหกับสหกรณและองคกรการเงินชุมชน และเอ้ือใหกิจการเพ่ือสังคมสามารถเขาถึงเงินทุน

และทรัพยากรในระบบสหกรณ และระบบการเงนิชมุชนได

พัฒนาและสงเสริมสหกรณและองคกรการเงินชุมชนในฐานะสถาบันการเงินและกิจการเพื่อสังคม

• แกไขมติคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติ เพ่ือเปดโอกาสใหสหกรณสามารถนําเงินมาลงทุนใน

กิจการเพ่ือสังคม

• ใหสิทธิพิเศษสําหรับสถาบันตัวกลางท่ีใหความชวยเหลือดานการเงินและทรัพยากรอ่ืนกับสหกรณและ

องคกรการเงนิชมุชน โดยเฉพาะระบบการบริหารจดัการความเส่ียง การวางแผนทางการเงนิ และการบริหาร

สภาพคลอง

แผนงานที่ 3

เปาหมาย: สรางชองทางสําหรับกจิการเพ่ือสังคมในการระดมเงนิทุนจากตลาดทุนในระยะยาว

สรางตลาดทุนเพื่อสังคม

Page 52: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 52

• ศึกษาเร่ืองตลาดทุนของกิจการเพ่ือสังคมในประเทศตนแบบ เชน ประเทศอังกฤษ และสิงคโปร เพ่ือศึกษา

นโยบายรัฐเร่ืองการพัฒนาตลาดทุนเพ่ือสังคม (Social Stock Exchange)

• ทํางานรวมกับตลาดทุนท่ีมีอยูแลว เชน Market for Alternative Investment: MAI (ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ

ไอ) เพ่ือศกึษาแนวทางในการใหกจิการเพ่ือสังคมจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในอนาคต

• จัดทําตลาดความรู ศึกษาตนแบบของระบบท่ีอยากจะทําในอนาคตเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม

• ศึกษาความเปนไปไดในการเขาถึงแหลงเงินทุนจากเคร่ืองมือการเงินในรูปแบบตางๆ และแหลงทุนในภาค

การเงนิอ่ืนๆ เชน ระบบสหกรณ

แผนงานที่ 4

เปาหมาย : การจัดการทางการเงิน และการลงทุนในกิจการเพ่ือสังคมเปนไปอยางมืออาชีพ โปรงใส และมีการพัฒนา

ศกัยภาพใหพรอมรับการลงทุน (Investment Readiness)

กอตั้งองคกรการเงินตัวกลางเพื่อบริหารจัดการการเงิน และการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม (Social

Enterprise Financial Intermediary Body)

• จัดตั้งองคกรการเงินตัวกลางท่ีมีความสามารถในการบริหารความเส่ียงที่ดี เพื่อรวบรวมเงินทุนจากองคกร

การเงินชุมชนท่ีมีสภาพคลองสวนเกิน และลงทุนกลับไปในองคกรการเงินชุมชนท่ีขาดสภาพคลอง

Page 53: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 53

บทที่ 6

แนวทางการบริหารจัดการ การกํากับดูแลการ

ดําเนินงาน และการติดตามประเมินผล

Page 54: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 54

1) การบริหารจัดการ และการกํากับดูแลการดําเนินงาน

หลังจากท่ีแนวทางการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ .ศ. 2557) ไดรบัความเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสรางเสริมกจิการเพ่ือสังคมใหมกีารดาํเนินการตามกรอบท่ีกาํหนดไว เพ่ือใหการดาํเนินงานในการสราง

เสริมกิจการเพ่ือสังคมในประเทศไทย สําเร็จลุลวงไดตามเปาหมายท่ีวางไว จึงจําเปนตองมีการจัดตั้งหนวยงานท่ีเขามา

ดูแลรับผิดชอบนํานโยบายไปปฏิบัติอยางจริงจัง จึงไดมีการจัดทํารางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางเสริม

กิจการเพ่ือสังคม เพ่ือจัดตั้งสํานักงานสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม เพ่ือมาบริหารจัดการ และกํากับดูแลการดําเนินงาน โดย

มีขั้นตอนท่ีคณะกรรมการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมตองดําเนินการ ดังตอไปน้ี

• จัดทําบันทึกเสนอระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมตอคณะรัฐมนตรีเพ่ืออนุมัติ

• แตงตั้งคณะทํางานสรางเสริมกิจกรรม (Social Enterprise Taskforce) เพ่ือดาํเนินงานตามมาตรการท่ีสามารถ

ปฏิบัติไดเลย และ /หรืองานท่ีมีความสําคัญเรงดวน ไดแก การจัดงานยุทธศาสตรการพัฒนากิจการเพ่ือสังคม

(Social Enterprise) ในประเทศไทย การทําระบบขอมลู (Data Mapping) เกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคมในประเทศ

ไทย การจัดทําระบบขึ้นทะเบียนกิจการเพ่ือสังคม เปนตน และจัดทําตัวชี้วัดเพ่ือติดตาม และประเมินผล โดย

คณะทํางานฯ ตองรายงานความคบืหนาตอคณะกรรมการเปนระยะ

• ใหสํานักงานสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมดําเนินการปรับปรุง และพัฒนา แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม

(พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557) แลวจัดทําแผนปฏิบัติการ 3 ป (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2555) เพ่ือรวมยกรางเปนแผน

แมบทการสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคมแหงชาติ

2) การติดตามประเมินผล

ในการตดิตามประเมนิผลการแปลงแผนไปสูการปฏิบตันิัน้ สํานักงานสรางเสริมกจิการเพ่ือสังคม ควรดาํเนินการ

ตามแนวทาง 2 ขอ ดังน้ี

• จัดทําระบบฐานขอมูลของตัวชี้วัดความสําเร็จของการพัฒนาในทุกระดับ รวมท้ังการสรางเครือขายเชื่อมโยง

ฐานขอมลูสําหรับการกาํหนดยทุธศาสตร และวางนโยบายในอนาคต

• สรางตัวชี้วัด เพ่ือเปนเคร่ืองมือท่ีบงบอกถึงความสําเร็จและผลกระทบของการดําเนินการตามแผน เพ่ือใชเปน

ประโยชนในการประเมินผล โดยกําหนดวัตถุประสงคท่ีชัดเจนของตัวชี้วัด เปาหมาย และขอมูลฐาน โดยกําหนด

ตัวชี้วัดในหลายมิติ และหลายระดับ

Page 55: SE MasterPlan 53-57

วันท่ี 13 กันยายน 2553 แผนแมบทสรางเสริมกิจการเพ่ือสังคม (พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2557)

หนาที่ 55

กรอบการจัดทําตัวชี้วัดการสรางเสริมกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย ระยะ 3 ป (พ.ศ. 2553 - 2555)

ตัวชี้วัด เปาหมาย

ยุทธศาสตรที่ 1 การสรางการรับรู และการเรียนรูเร่ืองกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทย

ประชาชนเกิดความรูความเขาใจในเร่ืองกิจการเพ่ือสังคม • 10% ของประชากรเกดิความรับรู

ระบบการศึกษามีเน้ือหาเกี่ยวกับกิจการเพ่ือสังคม • ปลูกฝงคานิยมเร่ืองกิจการเพ่ือสังคมตั้งแตระดับ

ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา

• บรรจใุนหลักสูตรระดบัอาชวีศกึษา การศึกษานอก

โรงเรียน (กศน.) การศึกษาเฉพาะทาง มัธยมศึกษา

ตอนปลาย และเปดเปนวชิาเรียน/หัวขอในวิชาไมต่ํา

กวา 20 สถาบันระดับอุดมศึกษา

ฐานขอมูลกิจการเพ่ือสังคม มีกิจการเพ่ือสังคมมาขึ้นทะเบียนไมต่ํากวา 10,000 แหง

ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนารูปแบบ และขีดความสามารถของกิจการเพื่อสังคม

มีศูนยบมเพาะศักยภาพใหกิจการเพ่ือสังคม (รวมท้ังท่ีตั้ง

ใหมเฉพาะ และศูนย /หนวยงานท่ีมีอยูแลวเปดใหบริการ

แกกิจการเพ่ือสังคม)

ไมต่ํากวา 20 แหงท่ัวประเทศ โดยกระจายอยูในทุกภูมิภาค

ระบุนิยามและรูปเฉพาะกิจการเพ่ือสังคม มีการออกกฎหมายวาดวยรูปแบบเฉพาะกิจการเพื่อสังคมใน

ประเทศไทย

ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาชองทางการเขาถึงแหลงเงินทุนและทรัพยากร

ธุรกิจเอกชน องคกรภายใตการกํากับของรัฐ และ

รัฐวิสาหกิจกอตั้งกิจการเพ่ือสังคม

มีกิจการเพื่อสังคมเกิดใหมจากองคกรดังกลาวไมต่ํากวา 50

แหง โดยเฉพาะกลุมผูดอยโอกาสเพ่ือลดความเหล่ือมลํ้า

สรางชองทางการเขาถึงเงินทุนและทรัพยากร ไมต่ํากวา 50% ของกิจการเพ่ือสังคมสามารถเขาถึงแหลง

เงนิทุนในตลาดเงนิและตลาดทุน