pom mahakan-student report

82
ดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

Upload: centre-for-architecture-and-human-rights

Post on 07-Mar-2016

222 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

A report on the process and the schematic design for the preservation of the Pom Mahakan community

TRANSCRIPT

Page 1: Pom Mahakan-Student Report

โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

Page 2: Pom Mahakan-Student Report

โดย อาจารยที่ปรึกษา อาจารยแกรม บลิสทอล นักศึกษา นางสาววีรียา วรรณีเวชศิลป นายอาจศึก จันทมาศ นายมารุต นิรุติรักษ นายพงศภัทร เอื้อสังคมเศรษฐ นายกฤษณะ คุณวาจา By Advisor : Graeme Bristol Students: Ms. Veereeya Wanneevechasilp Mr.ArjsuK Jantamas Mr.Marut Nirutiruk Mr.Pongput Eorsongkomsate Mr.Krisana Kunvaja

Page 3: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

EXECUTIVE SUMMARY This report records the results of a design process undertaken by architecture students of the KMUTT School of Architecture + Design with the community living behind the old city wall at the Mahakan Fort. It also presents a rationale for the landsharing design proposal. In reviewing previous studies and proposals that have been made about the historical character of Rattanakosin Island and its importance for tourism, it is argued that the goals of these proposals are best met by the design solution developed from this 5 month-long process of consultation with the community. The main focus of this report is on history and tourism and extrapolates from the Humanize Bangkok Report funded by UNESCO and the French government in 1998. The report looks at pedestrian/tourist paths through the area and the destination attractions. Since this community lives behind one of the last remaining sections of the old wall of the city, the treatment of the wall, the battlement and the old pier building form an important part of the design development. There are, finally, implications in the approach that has been taken. Among them are:

• How we view history and historical preservation(is it artefacts alone or people) • how we view the process of development (how decisions are made and who

makes them) • who benefits from development (are we doing this simply for tourism?) • how we understand and use urban parks and how they work (pre- and post-

Jane Jacobs) • how we can resolve the basic conflict between green and brown issues - parks

or housing? Must it be that kind of choice? • how we understand the concept of sustainability • how we understand human rights and the right to the city • how we can improve the development process to avoid conflict

These implications move the report beyond the specifics of Mahakan community and relate more to broader planning issues affecting all communities in the BMA.

Page 4: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

1.บทนํา INTRODUCTION

Page 5: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

1. บทนาํ (INTRODUCTION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

1.1 ที่มา ทุกป คณะสถาปตยกรรมศาสตร สาขาสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดมีการจัดทํา โครงการออกแบบและพัฒนาเกี่ยวกับชุมชน ซึ่งเปนหัวขอในการทํา Studio ของนักศึกษาชั้นปที่ 4 ภายใตการดูแลและใหคําแนะนํา โดย อาจารย Graeme Bristol หัวหนาภาควิชาสถาปตยกรรม โดยใหความสนใจตามจุดประสงคดังนี้ • เพื่อเสริมสรางความสัมพันธของสถาบันการศึกษากับชุมชน • เพื่อเสริมสรางคุณคาและความรับผิดชอบทางวิชาชีพของสถาปนิก • เพื่อพัฒนากระบวนการในการออกแบบ อยางไรก็ตาม เพื่อบรรลุความตองการในการศึกษาของนักศึกษา จึงสามารถแยกกลุมตามจุดประสงคในการศึกษาออกเปน 4 สวน ดังนี้

เนื้อหาทั่วไป • ประเด็นระดับสากลเกี่ยวกับที่อยูอาศัย(Global issue of habitat) เชน วาระวา

ดวยการอยูอาศัย การครอบครองที่ดิน สาธารณูปโภค กระบวนการการพัฒนา สิ่งแวดลอม คุณภาพชีวิตและสุขภาพ บาน อาชีพที่ทํากิน เปนตน

• บทบาทของสถาปตยกรรมในการพัฒนา

การเก็บขอมูล • การสังเกตการณ • จากแหลงขอมูลตางๆ • การทําแผนที่ • การสํารวจพื้นที่ที่จําเปน การวิเคราะห • การพัฒนาใหเหมาะสมตอบสนองกับขอมูล • การปรึกษา • การเขียนรายงาน

INTRODUCTION 1.1 Background

This project is a regular part of the Architecture Program of KMUTT School of Architecture + Design. Under the direction of Graeme Bristol (Chairman of the Architecture Program) 4th year students have been working in different vulnerable communities in Bangkok for the last 5 years. The objectives of this program concern an understanding of:

BASIC ISSUES • Global issues of habitat – Habitat Agenda, tenure,

infrastructure, development process, housing, health, work, environment, sustainability, etc.

• The role of architecture in development DATA COLLECTION • Basic observation • Other sources • Mapping • Needs assessment surveys ANALYSIS • Developing appropriate responses to data • Consultants • Report writing WORKING WITH COMMUNITIES • Participatory practices • Making presentations

Through this process students should become more aware that design does not happen in isolation and that it must involve collaboration with everyone affected by the changes that design brings. In November of 2002, after a meeting with the Asian Coalition for Housing Rights, the students made connections with members of the Young Professionals Program of ACHR and with Community Organizations Development Institute. Through them the students were introduced to the Mahakan Fort community and began their work

1.2 THE PROCESS

Beginning in November of 2002, the students attended a series of meetings organized by CODI covering many of the issues that the organization has to consider in the communities with which they work. DECEMBER 2002

• In early December a meeting was held in the community. The community leader [NAME] explained some of the history of the community and the current problems they faced with the city authorities

ภาพประกอบที่1.1 ภาพถายทางอากาศบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะรัตนโกสินทร (คลองโองอาง) Figure 1.1 Aerial photo of the NE corner of Rattanakosin Island with the Mahakan

community highlighted.

1

บทนํา

Page 6: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

1. บทนาํ (INTRODUCTION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การทํางานรวมกันกับชุมชน • ฝกการมีปฏิสัมพันธกับชุมชน • การทําแบบนําเสนอในปการศึกษา 2545 นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมกับ The Asian Coalition for Housing Right (ACHR) และ Community Organization Development Institute (CODI) ในการเลือกสองชุมชนที่ตองการการชวยเหลือจากกลุมสถาปนิกของ ACHR ชุมชนปอมมหากาฬเปนหนึ่งชุมชนที่อยูในโครงการการแนะนําจากกลุมสถาปนิกของ ACHR การทํางานไดเริ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2545 โดยมีขั้นตอนในการทํางานหลายขั้นตอน 1.2 ขั้นตอนในการทํางาน 1. การสัมภาษณ -กับหัวหนาชุมชน กลุมสถาปนิก CODI และคณะผูบริหาร เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจเกี่ยวกับความตองการและปญหาที่ชุมชนกําลังเผชิญอยางแทจริง 2.ประเมินและทํารายการของระบบสาธารณูปโภค รูปแบบสิ่งกอสราง ธรรมชาติ (ตนไมและคลอง) ทัศนียภาพ สภาพและวัสดุที่เปนเอกลักษณของชุมชน 3.การเก็บขอมูลเกี่ยวกับ การวางผัง ประวัติศาสตร กฎหมาย สถานภาพความเปนเจาของ สาธารณูปโภค การบริกาสังคม การคาขาย การทองเที่ยว และความสัมพันธระหวางชุมชนกับพื้นที่โดยรอบ 4. การสํารวจภายในชุมชน เกี่ยวกับที่มาของรายได สภาพทางการเงิน สถานศึกษา และสิ่งจําเปนในการดํารงชีวิต 5.วิเคราะห –ขอมูลทั้งหมดที่นํามาวิเคราะหเพื่อหาบทสรุปชวยในการออกแบบและชี้ถึงรูปแบบความเปนไปไดในการพัฒนา

6.Workshop-โดยจุดประสงคเพื่อจะเก็บขอมูลและระบุรายการการใชสอยพื้นที่ และพื้นที่ๆจําเปนสําหรับคนในชุมชนโดยทํารวมกันทั้งเด็กและผูใหญในชุมชน

7 แบบรางขั้นตน นักศึกษาเตรียมแบบขั้นตนโดยนําขอมูลจากขั้นตอนดังที่กลาวมาแลวเปนมาตรฐานในการวางรูปแบบชองชุมชนแบบใหม 8.Workshop- นําแบบรางขั้นตนมานําเสนอกับคนในชุมชน เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2546 เพื่อหาขอบกพรอง คําแนะนํา และสิ่งที่ชุมชนตองการเพิ่ม

• Inventory – building form and conditions, images, approach, infrastructure

• Background information – aerial photos, history, legal restrictions, available social services, tourism.

• Survey of residents – income, education, employment, skills (see Appendix A)

JANUARY 2003

• Analysis of data • Case studies • Community workshop Saturday 25 JAN 03. Establishing a

program for future design, clarifying the regulations that apply.

FEBRUARY 2003

• Seminar with Arif Hasan, Karachi-based architect on architecture and community work – comparative strategies.

• 09 FEB 03 – Presentation of preliminary design concepts prepared based on the program.

• 21 FEB 03 – BMA gives eviction notice to community. ITV news prepares story on the community

• 22 FEB 03 Presentation of preliminary design for comments and changes.

• Preparation of final report MARCH 2003

• 04 MAR 03 – Presentation to the National Human Rights Commission (see Appendix B)

Figure 1.3 Site survey and measurement at the old wall.

1.3 CONCLUSIONS REACHED As a result of this investigative process there were a number of general conclusions reached about the community and the site. These formed a fundamental part of the design that followed. In general these design parameters were:

• It is possible for the park and the community to co-exist • Some of the existing old buildings in the community have

historical value and should be preserved • The area along Klong Ong-Angh should be developed • The klong is one of the major gateways to Rattanakosin

Island • Framed views of ancient monuments, particularly Wat

Saket, are important • The active life in the community, particularly its handicrafts,

are important to the history of the area and therefore important to tourism.

• The large trees on the site are important to preserve.

ภาพประกอบที่1.2 เด็กในชุมชนชวยกันออกแบบชุมชนในอนาคต.. Figure 1.2 The children in the community imagine their future.

2

Page 7: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

1. บทนาํ (INTRODUCTION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

9.ทําแบบทางเลือกตางๆ จากขอมูลตางๆ ที่ไดมาจากวิธีการตางๆขางตน นํามาหาทางออกในการออกแบบ และ นําเสนอทางออกในวิธีตางๆใหสอดคลองและเหมาะสมตามขอมูล

การใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการออกแบบโดยตรงเปนสิ่งสําคัญมากโดยเฉพาะในชวงการออกแบบรางขั้นตนซึ่งชุมชนมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการกําหนดพื้นที่สําหรับกิจกรรมที่ตองการใหเตรียมไวในแบบ ในขั้นตอนการมีปฏิสัมพันธรวมกับชุมชนเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญอยางยิ่งในขั้นของการพัฒนาและคงความเปนรากเหงาแหงความเปนชุมชน ซึ่งนั่นหมายถึงการนําเด็กเขามามีสวนรวมกับการออกแบบดวย

1.3 บทสรุป จากผลของการทําวิจัยคนควารวมทั้งอิทธิพลของพื้นที่โดยรอบที่สงผลกับชุมชน นักศึกษาไดนําเสนอแนวความคิดจากพื้นฐานขอมูลตางนั้นในรูปแบบของแบบ และภาพวาดบรรยากาศที่จะเปนบทสรุปแนวทางการแกปญหาและเสนอรูปแบบในอนาคตของชุมชนที่ควรจะเปนใหเหมาะสมและสงเสริมทั้งภาพลักษณของตัวชุมชนเองและภาพลักษณของเกาะรัตนโกสินทรทั้งหมด ซึ่งบทสรุปตางๆอันไดแก

•ทั้งสวนและชุมชนควรจะอยู ณ พื้นที่ปอมมหากาฬ •อาคารเกาซึ่งมีคุณคาทางประวัติศาสตรควรอนุรักษและใหความสําคัญ •บริเวณพื้นที่ริมน้ํารอบคลองโองอางจะตองเขาไปจัดการและพัฒนาหาแนวทางและรูปแบบในการปรับปรุงอาจจะเปนการพัฒนาเปนสวนๆหรือตอเนื่องทั้งเสนทางรอบคลอง • การที่ลักษณะของพื้นที่นี้จะเปนจุดตัดของคลองจากพื้นที่รอบนอกเกาะรัตนโกสินทรทําใหพื้นที่นี้เปรียบเหมือนประตูทางเขาใหญสําหรับนักทองเที่ยวจึงมีความสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณาและหาแนวทางในการออกแบบ • ทัศนียภาพที่สามารถมองเห็นโบราณสถานที่สําคัญรอบขางชุมชนปอมมหากาฬ ในมุมมองตางๆกันไป

1.4 OUTLINE OF THE REPORT The report looks first at the context in which this community is situated. Here the concern is first with the history of the Rattanakosin area including its architectural monuments. This is followed by an outline of more current issues of open space, existing communities, circulation and plans, policies and reports that have affected our understanding of the future of the area. The next section deals more specifically with the community – its built form, social history and, finally, their proposal for the park and community. The last section deals briefly with some of the broader implications of the proposal on our view of history and development.

There are 4 topics of detail: 1.Content 2.Context 2.1 Overall Context 2.2 Overall of historical on Rattanakosin Island 2.3 Open space 2.4 Communities and Housing 2.5 Transportation 2.6 Plans and Policy 3. Community plan 3.1 Content 3.2 Architecture and old building that have value of the historical 3.3 Life style 3.4 Public area 3.5 Planning of garden and community 3.6 Feasibility of the project 4. Conclusion

รูปประกอบที่1.3 สํารวจพื้นที่และวัดขนาดพื้นที่รอบปอมมหากาฬ รวมกัน ระหวางนักศึกษาและชาวบาน Figure 1.3 Site survey and measurement at the old wall.

3

Page 8: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

1. บทนาํ (INTRODUCTION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

•การรองรับการทองเที่ยวโดยการพัฒนาการเขาถึงพื้นที่จากทางริมน้ํา ทัศนียภาพของโบราณสถานเชนเดียวกับการเปดโอกาสที่จะเกิดมุมมองสูลักษณะความเปนอยูของเมืองและศิลปหัตถกรรมซึ่งสะทอนโดยชุมชนปอมมหากาฬ •การอนุรักษตนไมเดิมที่มีขนาดใหญมาก จากรายงานนี้ จะนําเสนอทั้งแบบใหมที่ออกแบบโดยนักศึกษารวมทั้งนําเสนอขอโตแยงตามหัวขอตางๆขางตนที่นํามาพัฒนาซึ่งการพัฒนาแบบ 1.4 โครงสรางของรายงาน รายงานเลมนี้นําเสนอหลักการเหตุผลของทางเลือกที่ใชในการพิจารณาและคํานึงถึงความเหมาะสมทั้งสวนของพื้นที่บริเวณนี้และชุมชน ในการทําเชนนั้น จึงจําเปนตองพิจารณาในภาพรวมฝงใหญของประวัติศาสตร ที่โลง และ การทองเที่ยว ดังนั้นเพื่อใหทําความเขาใจงายขึ้นและชี้ใหเห็นรายละเอียดในแตละประเด็นจึงแบงตามหัวขอดังนี้ 1. บทนํา 2.ความสัมพันธกับภาพรวม 2.1บทนํา 2.2ภาพรวมทางประวัติศาสตรบนเกาะรัตนโกสินทร 2.3พื้นที่สาธารณะ สวน ลาน 2.4ชุมชน บานเรือน 2.5เสนทางการเดินทาง 2.6 แผนและนโยบายที่สําคัญ 3.แผนชุมชน 3.1 บทนํา 3.2 สถาปตยกรรมและสิ่งกอสรางที่สําคัญทางประวัติศาสตร 3.3 วิถีชีวิต 3.4 พื้นที่สาธารณะ 3.5 การออกแบบสวนและชุมชน 3.6 ความเปนไปไดของโครงการ 4 บทสรุป 5. ดรรชน ี

4

Page 9: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2.ความสัมพันธกับผังรวม CONTEXT

5

Page 10: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2 บทนํา ในขณะที่เราใหความสนใจกับตัวชุมชนนั้น การคํานึงถึงบริบทที่อยูรอบขางที่ชุมชนอยูก็มีความสําคัญ บริบทตางๆบนเกาะรัตนโกสินทรอันบงบอกถึงประวัติศาสตรของเกาะรัตนโกสินทร อันไดแก สถาปตยกรรมที่สําคัญ ชุมชนและวิถีชีวิต พื้นที่โลงสาธารณะ เสนทางการเดินทางของนักทองเที่ยวและคนในชุมชน รวมถึงนโยบายและแผนที่จะพัฒนาพื้นที่อันจะนําไปสูการพัฒนาที่เหมาะสมกับพื้นที่ ดังนั้นในการพัฒนาแผนผังใหมใหกับชุมชน จะตองใหความสําคัญทั้งความตองการของชุมชนและความเหมาะสมกับการพัฒนาภาพโดยรวมของเกาะรัตนโกสินทร โดยประเด็นตางๆที่เราใหความสนใจ ไดแก 1.ภาพรวมเชิงประวัติศาสตรบนเกาะรัตนโกสินทร มีสถาปตยกรรมและสิ่งกอสรางมากมายบนเกาะรัตนโกสินทรที่สะทอนถึงวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีความสําคัญกับนักทองเที่ยวผูที่เดินทางจากทั่วโลกมาเพื่อดู และคนในทองถิ่นที่มีกิจกรรมและชิวิตประจําวันรวมกับสถาปตยกรรมและสิ่งกอสรางเหลานั้น นอกจากนี้ยังสําคัญกับคนไทย สถาปตยกรรมเหลานั้นไดแกอะไร 2.ชุมชนบานเรือน รากฐานทางประวัติศาสตรของเกาะรัตนโกสินทรก็คือคนที่อาศัยบนเกาะรัตนโกสินทร ชีวิตประจําวันของคน การใชพื้นที่ตางในกิจกรรมทางศาสนา กิจวัตรประจําวันเหลานี้กลายเปนวงจรชีวิตที่สรางประวัติศาสตรสูความเปนอยูและชีวิตจริง เนื่องจากวิถีชีวิตในปจจุบันแสดงถึงประวัติศาสตรที่เคยเปนในอดีตและชวยสานความเปนปจจุบันสูรูปแบบของอนาคต ชุมชนไดใชพื้นที่ตางๆอยางไร 3.พื้นที่โลงสาธารณะ ถากลาวถึงอาคารสิ่งกอสรางยอมหมายถึงความตองการพื้นที่โลง (Open spaces) เพื่อรองรับกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้น สําหรับนักทองเที่ยวก็เชนกันที่ตองการความหลากหลายของพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สาธารณะอะไรบางที่มีอยูบนเกาะรัตนโกสินทร ใครคือผูใช และพื้นที่สาธารณะเหลานั้รบางบอกถึงประวัติศาสตรของพื้นที่อยางไร 4 การทองเที่ยว รูปแบบการทองเที่ยวมีสวนสําคัญมากกับเศรษฐกิจ เมืองและประเทศ สิ่งที่นักทองเที่ยวตองการเปนประสบการณจริงจึงเปนสิ่งที่สําคัญ

2. Introduction While Rattanakosin Island is arguably Thailand’s most important historical tourist destination – the existence of Khao San Road being a testament to that – it is important to remember that it is also a integral part of the history and imagination of the residents of the city and of the country as well as of the residents of Rattanakosin Island itself. People work here and they live here. The Pommahakan community is one of many on the Island. As such the context in which this community lives forms a critical part of any future they may have here.

That context concerns a number of elements:

1. Overall historical development – these are important

features that represent Thai culture. As such they are important for tourists (who come from around the world to see them), local residents (who use them in their daily lives) and for all the people of Thailand. What are these features?

2. Residents – a fundamental part of the history of the island is

the people who live there – what they do in their daily lives, how they use the spaces around them in the rituals of life. These daily, weekly, yearly cycles bring history to life because they bind the present to the past and help the present form the future. How do people use the spaces around them?

3. Open spaces – In addition to buildings many of the activities

of residents require open space. For tourists, too, a variety of open spaces are necessary. What open space is there? How are they used? How do they relate to the historical buildings?

4. Tourism – this forms a very important part of the economic

base of the Island, the city and the country. What is it that tourists want from the experience of being here?

5. Patterns of movement – there are pathways between all of

these places that people want to see. Residents may well use different paths than tourists but it is important to understand how these movements occur. Where are people coming from? What is their pattern of movement through the island? What is the character of these pathways? What changes should be made to improve the movement of people?

6. Plans and policies – Over the years, many plans have been

developed providing a vision for the island. It is important to understand that overall vision.

The needs of the individual residents of Pommahakan are important but they can only be seen in the context of what is around them. How do they fit into these plans? How do they fit

.

6

Page 11: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

5.เสนทางการเดินทาง มีทางเดินรองรับกับสถานที่ทองเที่ยวตางๆ คนในชุมชนอาจมีเสนทางในการเดินทางแตกตางและมากกวาที่นักทองเที่ยวสามารถเดินไดบาง แตสิ่งที่สําคัญก็คือ ความเขาใจถึงเสนทางตางๆเหลานั้นวาที่ไหน คือจุดเริ่มตนและจุดหมายปลายทาง เสนทางที่ผาน มีรูปแบบและลักษณะอยางไร อะไรที่สามารถพัฒนาเสนทางเหลานั้นใหดียิ่งขึ้น 6..แผนและนโยบาย ในเวลาที่ผานมาหลายป มีนโยบายตางๆที่เกิดขึ้นเพื่อแสดงถึงแนวทางและแนวความคิดเกี่ยวกับรูปแบบของเกาะรัตนโกสินทร จึงมีความสําคัญที่จะตองเขาใจแผนเหลานั้น 2.1 ภาพรวมทางประวัติศาสตรบนเกาะรัตนโกสินทร เกาะรัตนโกสินทรมีประวัติศาสตรที่ยาวนานถึง 220 ป จึงทําใหปจจุบันเปนแหลงศูนยรวมสิ่งกอสรางที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร รวมถึงวัดที่สําคัญ ซึ่งจุดนี้เองที่ทําใหเปนที่นาสนใจแกนักทองเที่ยว( ดูบทที่3) แตนอกจากสิ่งกอสรางเหลานี้แลวยังคงมีสิ่งอื่นที่มีคุณคาตอประวัติศาสตร เชนกัน • คลองรอบเกาะรัตนโกสินทร •เสนทางการเดินทางของราชวงศในอดีต •สะพาน •ตึกเกา นอกจากการรักษาความเปนประวัติศาสตรทางกายภาพแลว ประเพณีนิยมและกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นบนเกาะรัตนโกสินทร ก็เปนสวนหนึ่งที่มีคุณคาไมแพโบราณสถาน และควรใหความสําคัญ •เกี่ยวกับน้ํา •เกี่ยวกับวัด 2.2 ภาพลักษณทางประวัติศาสตร คุณคาของโบราณสถานนอกจากจะมีคุณคาในตัวเองแลวเปนระยะเวลากวา200ปที่ มีความสัมพันธกับชีวิตประจําวันและความเปนอยูของคนในชุมชนนี้ ซึ่งสะทอนถึงความมีคุณคาที่เปนมาตั้งแตโบราณและยังคงเปนอยูจนปจจุบัน ถาพิจารณาถึงบริเวณปอมมหากาฬก็มี 3สวนที่มีความสัมพันธกับความเปนประวัติศาสตร คือ •สิ่งกอสรางโบราณสถาน-ปอมมหากาฬ กําแพงเมืองเกา และตึกที่พักทางชลมารคของพระราชวงศ •คน-วัฒนธรรม งานฝมือ และกิจกรรม

into the history of the area and how do they contribute to tourism? Such questions are just as important for their future as they are to the future of the area itself and to the preservation of its history. 2.1 OVERALL CONTEXT

Since Rattanakosin Island was first settled as the seat of government about 220 years ago, many important structures have been built that are important to the history of the city and of the country. This, too, is what makes it so important for tourism (see Section 3). In addition to those historical structures it is also important to note other historical features (considered in Section 2.5).

• The klong around Rattanakosin Island • The processional routes. • The bridges

In addition to these physical elements there are also traditional

festivals and other special events that are focused on particular areas (considered in Section 2.3).

• Water focus • Wat focus

These elements involve yearly cycles that relate those fixed

features to the daily lives of the people living here. In considering the history of a place there are at least 3 elements in that:

• Built form – historical buildings, the Mahakan battlement, the city wall

• Natural elements – trees, water, natural boundaries

• People – culture, crafts, cyclic events

It is these cycles that create the basic premise for dealing with the historical features of the area: 2.2Historical image

Rattankosin Island has long history for more than 220 years. So, there are much historical architecture today; where noticed as tourist attractions. But beyond those historical architectures, there are other kinds of construction:

- Canal around Rattanakosin Island - Transportation system - Bridge - Old buildings Moreover, we should preserve culture and historical activities as well.

ภาพประกอบที่ 2.1 ปอมมหากาฬในอดีตและปจจุบัน หนึ่งในสิ่งกอสรางที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรบน เกาะรัตนโกสินทร Figure 2.1 Pommahakarm outside view from the past until today still the same. Note that the view has not change only the trees

7

Page 12: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ความสัมพันธตางๆที่เกิดขึ้นเหลานี้เองที่ ประกอบกันขึ้นเปนรากฐานของความเปนประวัติศาสตรที่แทจริงของพื้นที ่

The value of historical building related to life-style of people in the city. Consider to community around Mahakarn Fortress, there are 3 factors which relate to history. 1.Constructions, historical building; Mahakarn Fortress, city

wall 2 Natural factorsPeople and culture 3 Constructions, historical building; Mahakarn Fortress, city

wall 4.Natural factorsPeople and culture 5.Constructions, historical building; Mahakarn Fortress, city

wall 6.Natural factors 7.People and culture

ภาพประกอบที่2.2 St Mark square ใน Venice Figure 2.2 St Mark square in Venice

ภาพประกอบที่2.3 ตลาดน้ํา Figure2.3 Floating market in Thailand

ขอเสนอแนะ “ประวัติศาสตร จะชีวิตชีวาอยูไดดวยการที่มีคนมาใชสถานที่ โบราณสถานและสรางลักษณะเดนใหกับพื้นที่นั้นๆ” St.Mark’s Square ใน Venice ซึ่งตั้งอยูเรียบคลอง เปนสถานที่ที่ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวอยางมาก เพราะทุกวันนี้ยังคงใชประโยชนจากพื้นที่และมีกิจกรรมเหมือนกับเมื่อในอดีต ซึ่งทําให บรรยากาศของ St.Mark’s Square ยังคงดูมีชีวิตชีวา ทั้งตึกและความสวยงามเหมือนกับที่เปนมาตลอด 500ป ซึ่งคงไมสามารถเปนแบบนี้ไดถาหากวาประวัติศาสตรถูกแยกออกจากชิวิตชีวาของคนเมืองนั้นๆ อีกตัวอยางหนึ่งที่นาสนใจและโดงดังในหมูนักทองเที่ยว(นอกเกาะรัตนโกสินทร) คือตลาดน้ํา ซึ่งเปนสถานที่ที่นักทองเที่ยวจะไดรับรูถึงความเปนอยูริมคลอง แบบไทย ซึ่งสามารถพบเจอไดในชีวิตประจําวันในอดีต ในลักษณะของเมืองตางๆที่เปนที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตรมีประวัติศาสตรที่ตางออกไปจากเกาะรัตนโกสินทร ซึ่งสถาปตยกรรมและสิ่งกอสรางเปนประเด็นสําคัญในจัดแสดงถึงความเปนประวัติศาสตรในประเทศตางๆ เชน Venice และ Williamsburg ซึ่งตางจากบนเกาะรัตนโกสินทรที่คนอาศัยอยูที่นั่นเปนชีวิตประจําวันที่กลายเปนรูปแบบและชีวิตของเมือง ฉะนั้นในแสดงความเปนประวัติศาสตรก็ตางออกไปและเราควรใหความสนใจในรายละเอียดเหลานี้

Recommendation History should live through the people using the spaces, buildings and features of the area. St. Mark’s Square in Venice, along with its canals, is used in much the same way that it was 500 years ago. That fact alone gives the square a life and vibrancy that the buildings, beautiful as they are, cannot give if there were separated from the life of the city as artifacts.

Similarly, one of the more popular tourist attractions in Bangkok (outside of Rattanakosin) is the floating market. It is here that tourists get some sense of the living history of life on the klongs of Bangkok, some sense of continuity. This can be found in daily activities, in crafts (and buying them where they are made), in the ceremonies and rituals.

8

Page 13: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2.2. สถาปตยกรรมและสิ่งกอสรางทีมีคุณคาทางประวัติศาสตร สิ่งกอสรางที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรบนเกาะรัตนโกสินทรสวนใหญเปนวัดหลวง วัง และกระทรวงตางๆของรัฐบาล กระจายอยูทั่วไปบนเกาะรัตนโกสิทรซึ่งมีขอบเขตอยูในแนวกําแพงเมืองเดิม ซึ่งปจจุบันเหลือเพียงบางสวนที่ติดอยูกับหัวปอม ซึ่งสวนใหญจะขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานสามารถจัดลําดับความสําคัญไดเปน 4 ลําดับ สิ่งกอสรางเหลานี้เองที่สามารถเปนสถานที่ทองเที่ยวได ตัวอาคารก็มีลักษณะที่มีความเปนเอกลักษณของสถาปตยกรรมไทยที่วิจิตบรรจงของลายละเอียด และสถาปตยกรรมไทยModern ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากสถาปตยกรรมตะวันตก.

The important buildings of the area are not only major tourist attractions but important cultural monuments for the city and the country. Of particular concern in the context of the Mahakan area are those buildings that are on routes to and from the community and buildings that are in or around the community. The former relate directly to Section 2.5 while the latter have bearing on the proposed design alternatives for the park and the community. The Giant Swing (Fig. 2.16) and the Democracy Monument (Fig 2.xx) are important features on routes to and from the Mahakan community. The battlement at the north end of the site, the remains of the wall, Wat Ratchanadda (Fig. 2.17) and Wat Saket (Fig. 2.18) are important monuments relating more directly to the community itself. [renumber all these figures as required].

The battlement: At the mouth of Klong [name], this is an important feature at the northeast corner of Rattanakosin Island, protecting the eastern entry point to the island.

The wall – this is the last significant piece of the original city wall

Wat Ratchanadda – this Wat is important not only as a tourist attraction but it is also important to the community in the celebratory events throughout the year.

Wat Saket – is an important tourist destination. Because of its height, it towers over the area and is visible from several points on the routes towards the community as well as key places within the community. As such, views and paths to it form an important part of the proposed design scheme for the community. They are as eager to promote this tourist feature as the city officials are

ภาพประกอบที่2.7 โบราณสถานบนเกาะรัตนโกสินทร Figure 2.7 Historical place on Rattanakosin Island

ภาพประกอบที่2.8 โครงสรางเสนทางของถนน

Figure2.8 Transportation network

ภาพประกอบที่2.9 สถานที่ทองเที่ยวในปจจุบัน

ภูเขาทองเสาชิงชา วัดราชนัดดา

RECOMMENDATION

Wherever possible, historical buildings should be enhanced and supported by the presence of the people who live around them

ขอเสนอแนะ ถาเปนไปได ตึกเกาและโบราณสถานควรมีชีวิตอยูไดดวนคนที่อาศัยอยูรอบขาง

Gient Swing Wat Ratchanadda Wat Saket ( Phu kao tong)

Pommahakarn Fort Community

Figure 2.9 Important place for tourist on Rattankosin Island (Blue Highlight)

2.2 Overall of History

9

Page 14: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2.3 พื้นที่สาธารณะ แบงไดเปน 2 แบบ คือ บริเวณริม น้ํา และสวนสาธารณะ

บริเวณริมน้ํา การใชประโยชนริมน้ําตั้งแตสมัยกอนใชเปนเสนทางหลักในการคมนาคม ดังนั้นบริเวณริมแมน้ําเจาพระยาซึ่งเปนแมน้ําหัวใจหลักของกรุงเทพและมีขนาดที่ใหญ สวนคลองก็เปนเสนทางยอยสูชุมชน มีขนาดเล็กกวาการใชประโยชนริมแมน้ําเจาพระยาและคลองในปจจุบันจึงมีความตางกัน สิ่งที่สะทอนใหเห็นไดอยางชัดเจนทางกายภาพก็คือ สัดสวนของสิ่งปลูกสรางของคลองจะดูเล็กกวาและมีบรรยากาศของความเปนที่อยูอาศัยมากกวา ดังภาพจะเห็นไดถึงบรรยากาศที่ตางกัน ดังนั้นการพัฒนาทางริมน้ําควรคํานึงถึงความเหมาะสมของพื้นที่และประวัติศาสตร ใหสอดคลองและความเหมาะสมกับรูปแบบในการพัฒนา

2.3 OPEN SPACES

There are two distinct kinds of open space that are important here – parks and waterfront

Waterfront

Historically, water transportation has been the main mode of travel in the area. The waterfront, then, takes on considerable importance in our understanding of its history and culture. The speed of activity along the waterfront has increased over the years as has the scale of construction. Historically, that scale was smaller and slower. [historical image, that I have labelled 2.21 on page 13]

Recalling that sense of scale is one of the important parameters for the design of future open space.

Another important feature is the access to the waterfront. In that regard, the promenade along the Chao Phraya by Suan Suntichaiprakam park is a design precedent. [see figure 2.19 on page 13] in terms of the public access to the waterfront. This is the other key design parameter – public access

ภาพการใชริมน้ําของริมฝงแมน้ําเจาพระยา ที่เชื่อมตอกับสวนสันติชัยปราการ Waterfront of Suansantichaiprakarn Chao praya river

ภาพประกอบที่ 2.5 ภาพลักษณะการใชประโยชนริมฝงคลองในอดีตและปจจุบัน Figure2.5 Used of waterfront of past and present day

RECOMMENDATION

Public access to key parts of the waterfront is important and the scale of the development along the waterfront should be small.

[photo of child swinging into the klong]

ขอเสนอแนะ กุญแจสําคัญในการพัฒนาพื้นที่ริมน้ําคือเรื่องของสัดสวนกับการใชงาน ในกรณีนี้ควรไมใหญมากนัก (ดูภาพที่เด็กเลนน้ํา)

10

Page 15: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

2.3 พื้นที่โลงสาธารณะ สวน ลาน

ปจจุบันมีพื้นที่วางเพื่อรองรับกิจกรรมบนเกาะรัตนโกสินทรทั้งหมดประมาณ 5 สวน มีเนื้อที่โดยรวม 57,700 ตารางเมตร ไดแก

1.สวนสันติชัยปราการ 12,700 ตรม. ปจจุบันเปนสวนสาธารณะที่มีการใชประโยชนหลากหลายรูปแบบและกิจกรรม เชนการออกกําลังกาย การเตน การนั่งพักผอน รวมถึงการจัดกิจกรรมรองรับตามวันพิเศษ เชน งานลอยกระทง งานวันฮาโลวีน เปนตน 2.ลานพลับพลามหาไชย 4,350 ตรม. เปนพื้นที่โลงเปดมุมมองใหกับโลหะปราสาท เปนจุดเดินผานของนักทองเที่ยวจุดหนึ่ง แตไมคอยมีคนมาใชประโยชน รวมทั้งมีสวนสงเสริมกับกิจกรรมรวมกับชุมชนนอย 3.สวนวังสราญรมย 30,850 ตรม. เปนสวนสาธารณะอีกที่หนึ่งที่มีกิจกรรมหลายหลาย เชนการเลนกีฬา ออกกําลังกาย การมีกิจกรรมพิเศษ เชนงานวันเด็ก เปนตน มีการแสดงจากเอกชนมาแสดงบาง 4.ลานอเนกประสงคหนาที่ทําการ กทม. 9,800 ตรม. เปนพื้นที่โลงขนาดใหญปจจุบันยังไมมีกิจกรรมเกิดขึ้น แตดานลางชั้นใตดินเปนที่จอดรถ

5.สนามหลวง เปนพื้นที่สีเขียวที่เปดโลงขนาดใหญ เปนจุดนัดพบที่สําคัญของนักทองเที่ยว เปนจุดที่คนมายืนรอรถ รวมถึงมีกิจ

กรรมพิเศษที่เกิดขึ้นตามวันสําคัญตางทั้งเกี่ยวกับชาติ และศาสนา เชน วันพอแหงชาติ วันแมแหงชาติ วันสงกรานต วันพืชมงคล เปนตน หรืองานประจําปตางๆ เชนการเลนวาว นอกจากนี้ ยังเปนพื้นที่ที่คนไทย ชาวบานชอบมานั่งเลนในตอนเย็น

2.3 Public Plaza and Park

In the present there are space support the activity on Rattanakosin Island 5 parts and total area about 57,000 Sq.m

1. Suan Suntichaiprakarn 12,700 Sq.m. In the present this garden can support many activities and user for example exercising, resting, dancing, special festival (Loy Kathong), etc. 2. Larn Plubpramahachai 4,350 Sq.m. The plaza for open view of Lowha Prasart and walk way of tourist. But does not have the useful And the activity occur in this area 3. Suan wung Salarnrom 30,850 Sq.m. There are many activities in this area i.e. exercising, sport, resting, special festival (Child Day) 4. Multipurpose Plaze in front of the Bangkok office 9800 Sq.m. Big plaze for many activities and create the car park in underground. In the present are in construction. 5. Sanam Luang This garden is the big green plaza and the connection point of the important place. And support the important activity day (Father day, Mother day, Songkarn Day, etc), anniversary festival (play kite) and many activities.This open space is more like a sports field than a park. It is a connecting point between important historical monuments in the area and it is also an important open space for annual festivals – Father’s Day, Mother’s Day, Songkran as well as for kite flying. All of these are important for local residents, Bangkok residents, Thai tourists as well as tourists from abroad.

ภาพประกอบที่ 2.6สวนหรือลานสาธารณะในเกาะรัตนโกสินทร Figure 2.6 Public park and plaza in Rattanakosin Island

11

Page 16: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

สวนสันติชัยปราการ แหลง(Land-used) -ที่อยูอาศัยทั้งของคนทองถิ่นและนักทองเที่ยวชาวตาง

ชาติ -บริเวณแหลงการคาขาย จุดเดนของพื้นที่ คือแหลงที่อยูอาศัยนักทองเที่ยว โดยเฉพาะ ตรอก

ขาวสาร กิจกรรมสําคัญ คือ กิจกรรมเพื่อพักผอน ชมวิว จุดประสงคของสวน -สวนที่มีกิจกรรมแบบหนัก เชน Aerobic มีกิจกรรม

หลากหลาย การใชประโยชนของสวน เพื่อรองรับความตองการของคนที่อาศัยบริเวณนั้น และ

เปดมุมมองสูแมน้ําเจาพระยา โดยใช ปอม เปน จุดเดนของสวน

แนวคิดในการออกแบบสวน จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา สวนสันติชัยปราการสรางเพื่อรองรับการใชงานของชุมชนซึ่งรุปแบบของการใชประยชนของที่ดินบริเวณนั้น ออกไปในเชิงการคาขายและมีกิจกรรมหลากหลายเกิดขึ้นตลอดเวลา เพราะ เนื่องจากการที่กลุมคนที่มาเดินเที่ยวซื้อสินคาหรือกินอาหารมีหลากหลายกลุม จึงทําใหสวนนี้ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับกิจกรรมหลายๆอยาง บรรยากาศและสัดสวนของสวนจะดูเปนทางการมาก เมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณปอมมหากาฬแลว จะเห็นไดวาการใชประโยชนที่ดินของทั้งสองพื้นที่มีลักษณะที่แตกตางกัน ถึงแมวาจะมีปอมซึ่งเปนโบราณสถานที่สําคัญเหมือนกันแตจากการที่ปอมมหากาฬ ถูกลอมรอบดวยวัดและโบราณสถานที่สําคัญทําใหกลุมของผูที่ใชพื้นที่มีลักษณะที่ตางกัน หรือกลาวไดวานักทองเที่ยวชาวตางชาติสวนใหญจะใหความสนใจ ความตั้งใจ มาใชพื้นที่ก็คือตองการมาดูความเปนไทย จากความสัมพันธระหวางชุมชนและโบราณสถาน ที่อยูคูกันมานาน และ เห็นไดวาชุมชนที่อยูบริเวณนี้มากวา100 ป เปรียบเหมือนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรที่นักทองเที่ยวตองการมาดู เพราะ ประวัติศาสตรคงเกิดขึ้นจากสถาปตยกรรมอยางเดียวไมไดถาไมมีคนเปนผูสรางเรื่องราว

Suan Santichaiprakarn

This park supports many activities – exercising, resting, dancing and special festivals.

Users – local residents, Bangkok residents and tourists. Context – close to Khao San road, supported by commercial activity

Activities – relaxation, group aerobic exercise, taking in the view of activities along the Chao Phraya river

Design concept – open to the waterfront, connected to the promenade and features the historical battlement as a landmark

With the support of the commercial activity and its proximity to the busy Chao Phraya waterfront, this is a successful park. Comparisons have been made in news reports about the similarities in the design of this park and the proposed BMA park at Pommahakan. Both have old battlements as feature landmarks and both are along the waterfront. There are, though, some significant differences. While Suan Suntichaiprakarn is close to the tourist centre of Khao San Road, is open, accessible and highly visible, the Pommahakan site is well hidden behind a wall, is not supported by commercial activity and its waterfront is far less active. Further, Pommahakan is surrounded by temples and historical monuments and as such is identified more with Thai culture and architecture. This is supported, at present, by the relationship between the existing community and the buildings they use on a daily, weekly and yearly basis. Suan Suntichaiprakarn park does not have that.

ภาพประกอบที่ 2.8สวนสันติชัยปราการ Figure 2.8 Sun Santichaiprakarn

ภาพประกอบที่2.7ปอมมหากาฬถูกลอมดวยโบราณสถานที่สําคัญ Figure 2.7 Pom Mahakarn surround by the ancient building

Commercial zone

แหลงพานิชยกรรม

สวนสันติฯ

Park

12

Page 17: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

ลานพลับพลามหาไชย อยูตรงขามกับปอมมหากาฬ เดิมเคยเปนที่ตั้งของโรงหนังมากอน ตอมาไดมีการรื้อโดรงหนังมาทําเปนสวนสาธารณะ เพื่อเปดมุมมองสูโลหะปราสาทในวัดราชนัดดา จะเห็นไดวาปจจุบันมีคนไปใชนอยมาก

Lan Plubpramahachai This park is located on Ratchadamnoern Road, north of Wat Ratchanudda. It was constructed some 15 years ago [check the date] when the old Sala Chaluemthai theatre was demolished by the BMA. Although the architectural community in Bangkok at the time protested the destruction of this historical building, the park was built in its place.

With predominately hard landscaping and little shade, the park is poorly used. In addition there is no real protection from the busy Ratchadamnoern Road and the two salas in the park are closed off from any access.

The park provides a view to Wat Saket as well as to Lowha Prasart in Wat Ratchanudda.

Users – mainly tourists passing by Context – Wat Ratchanudda to the south and two busy roads at the north and east sides. No real commercial activity supports it. Activities – viewing historical monuments from some distance. [are the salas ever used?? There is also the statue in the park of Rama V Design concept – hard landscaping, formal, with xx% [how much area is taken up with the salas?] buildings

ภาพประกอบที่2.9 ภาพกอนจะกลายเปนสวน เคยเปนโรงหนังโรงภาพยนตรศาลาเฉลิมไทยมา กอน Figure 2.9 Sala Chaluemthai theatre in the past before develop to be park opposite to the Pommahakarn ภาพบรรยากาศปจจุบัน ที่ไมคอยมีคนมาใชประโยชน

View in the present that have not the people use this garden

13

Page 18: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

2.4 ชุมชนและบานเรือน

14

บานเกาที่ชาวบานตองการอนุรักษไว The old house that community want to keep

ตนไมใหญอายุ 100 ปที่มีอยูทั่วไปบริเวณชุมชน Very big tree 100 years exist a lot in community area

มุมมองจากชุมชนมองผานไปสูภูเขาทองวัดสระเกษ View from community to Wat Saket

บานบริเวณริมคลองโองอาง House along Ong Ang klongs

พื้นที่ตากผาของชุมชนริมน้ํา Drying area of community ลานกีฬาอเนกประสงคของชุมชนปอมฯ

Multipurpose area of community บานเกาอายุ 200 ปที่ชาวบานตองการอนุรักษไว The 200 years old house community wants to preserve.

ลานไกชนของคนในชุมชน Cockfight area

Page 19: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

2.5 เสนทางในการเดินทาง 1. ความสัมพันธระหวางแตละสถานที่ คําอธิบายภาพที่ 2.5(1)

พื้นที่บริเวณปอมมหากาฬ ถูกขนาบดวยวัดราชนัดดา วัดเทพธิดารามและวัดสระเกศ หรือที่รูจักกันวาภูเขาทอง(สีน้ําตาล) จากแผนของ กทม. ที่ตองการสงเสริมการทองเที่ยวดวยการเดิน เพื่อเชื่อมโบราณสถานและวัดที่สําคัญเขาดวยกัน ดังที่แสดงในแผนที่ เสนสีแดงในแผนที่ เปนเสนทางที่มีความเปนไปไดในการ เชื่อมวัดพระศรีรัตนศาสตราราม วัดราชประดิษฐ วัดราชบพิตร วัดมหรรณพานาม วัดสุทัศน วัดเทพธิดาราม วัดราชนัดดาและวัดสระเกศ ระหวางเสนทางเขาดวยกัน โดยทางเชื่อมระหวางแตละวัดจะเปนตึกแถวแบบเกา เปนรานคา เชนขายพระ อาหาร เปนตน ในการเชื่อมสถานที่ทองเที่ยวเหลานี้เขาดวยกัน มีบางจุดที่ไมมีสิ่งดึงดูดนักทองเที่ยว เนื่องจากแตละวัดหางกันเกินไปและไมมีมุมมองใหนักทองเที่ยวสังเกตเห็น ดังนั้นถาตองการใหนักทองเที่ยวเดินเที่ยวมาจนถึงภูเขาทอง ควรจะมีการสรางจุดเดนและกิจกรรม ใหเกิดขึ้นระหวางทางเดิน โดยตัวสถาปตยกรรมและชุมชนที่อยูริมทางเดินก็มีความนาสนใจ แตควรมีการฟนฟูและสงเสริมกิจกรรมของชุมชนใหเดนขึ้น เพื่อเปนการสรางความนาสนใจมากขึ้น ขอแนะนํา (Suggestion) 1.การเปดมุมมองสูภูเขาทองควรมีการเปดใหเห็นไดในหลายหลายมุม เพราะจะสรางความนาสนใจใหกับตัวภูเขา ทอง ในการมองเห็นภูเขาทองไมจําเปนจะตองเห็นเต็ม หรือเห็นเหมือนกันจากทุกมุม แตควรมีใหเห็นเปนชวงๆ 2.จากภาพประกอบที่2.5.1และ2.5.2 จะเห็นวา บริเวณทางเดินจากวัดสุทัศนไปสู แยกมหาไชยซึ่งนําไปสูภูเขาทอง วัดเทพธิดาราม และวัดราชนัดดา ไมมีสิ่งดึงดูดนักทองเที่ยวเนื่องจากสภาพอาคารเกาที่ทรุดโทรม บวกกับ มุมมองสูภูเขาทองโดนบดบังทัศนียภาพโดยปมน้ํามัน (บริเวณสีเขียว) ดังนั้นจึงควรยายปมน้ํามันออกจัดเปนทางสาธารณะ เพื่อเปดมุมมองสูภูเขาทองดึงดูดนักทองเที่ยว 3.เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวแบบทางเทาใหเสนทางในการทองเที่ยวตอเนื่องการมีสะพานขามคลองโองอาง(ตามเสนประสีดํา)เปนวิธีที่จะดึงนักทองเที่ยวเขามาบริเวณนี้ไดมากขึ้น

2.5 Pattern of movement

1. The relationship between each place Detail of picture 2.5(1)

The site area of Pom-Mahakarn surround by Wat Rajchanadda, Wat Theptidaram and Wat Sagate (Pu- Kao-Trong). From the planning of Bangkok that wants to promote the tourism by walk though the Pom-Mahakarn for connect the temple and ancient building together. From the mapping, the red line is the line that can connect the Wat Pra Keaw, Wat Raj Pradit, Wat Raj-Borpij, Wat Mahunnaparam, Wat Sutat, Wat Theptidaram, Wat Rajchanudda and Wat Sagate together. And along the line you can see the old style building is the commercial i.e. Buddha shop, Thai food, etc are the connection between each of temple. But some point does not have the elements for attractive the tourist because the distant between each of temple is very far and does not have the view point for the tourist. So the route along to Phu-Kao-Trong should have view point and some activity occur. The image of community life style and old housing can attractive the tourists but they should have to improve and promote their activities more.

Suggestion

1.The varieties of approach view to the Phu Kao Trong create the interesting to the Phu Kao Trong and should have the sequence of their approach.

2. From picture 2.5.1 and 2.5.2 The route from the Wat Sutat to Mahachai junction, Phu Kao Trong, Wat thepthidaram and Wat Rajchanudda have not the attractive point from the old building and the oil station obtruct the view point to the Phu KaoTong(Green area) .should be remove the oil station to open the view point to the Phu Kao Tong to attractive the tourist. 3.Create the bridge across the Klong Ong Angh(Guild line) can attractive the route of tourist more.

ภาพประกอบที่2.10 แผนที่แสดงการเชื่อมตอระหวางแตละสถานที่ทองเที่ยว Figure 2.10 Mapping of connection between each of tourist place The green mark are the part that soule add more

activity to link each inportamt place

มองจากวัดราชนัดดา View from Rajchanadda temple

มองจากชุมชนริมคลองวัดราช นัดดานัดดา View from community at Klong-Rajchanadda temple

มองจากถนนราชดําเนินกลาง View from Rajdumnurn-Krang road

มองจากในชุมชนปอมมหากาฬ View in Pom-Mahakarn community

15

Page 20: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

ภาพประกอบที่2.11 แผนผังบริเวณปอมมหากาฬ และแนวทางการแกปญหา Figure 2.11 Planing of Pom Mahakarn and the solution

เสนทางเดินริมคลองสงน้ําผานชุมชนวัดราชนัดดาไปสูภูเขาทอง The prominade between the community in Wat Rajchanudda to Phu Kao Trong

16

Page 21: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2.5 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2.การเขาถึงปอมมหากาฬ เกาะรัตนโกสินทรสามารถเขาออกไดโดยทางรถยนตและทางเรือ ทาเรือหลักๆที่สําคัญ

-ที่เรือแมน้ําเจาพระยา (ขามฟาก) ไดแก ทาเตียน ทาชาง ทาพระจันทร และที่พระอาทิตย

-ทาเรือตามคลอง (เรือดวน) ไดแก ทาเรือผานฟาลีลาศ มาจากเสนคลองแสนแสบจากบางกะป

จะเห็นไดวา บริเวณทาเรือผานฟาลีลาศมีความสําคัญมาก เพราะเปรียบเสมือน ประตูทางเขาหลักสูเกาะรัตนโกสินทรจากเขตอื่น

2. Pattern of Movements This is concerned with the access to Rattanakosin Island, routes through the Island, and the access to the community itself by water and by road.

Access to Rattanakosin People arrive to the island either by road or by water. Road access – From Thonburi access is by either the Pin Klao bridge to the north or the Memorial Bridge to the south. The former takes traffic along Ratchadamnoern and thus directly by the north end of the Pramahakan community. The latter brings traffic north to the Democracy Monument. From the east there are several bridges over Klong Ong Angh

Water access – The island can be approached from two directions – either from the Chao Phraya River on the west or from the klong on the east. The main piers on the Chao Phraya river are (from south to north):

• Memorial Bridge – where one can follow north parallel to klong Ong Angh

• Ta Tien • Ta Chang – at the Grand Palace • Ta Prachan – at Thammasat University • Pra Artid – close to Khao San Road and Suan Suntichaiprakarn

Park

From the east, the main water access to the island is at Ta Phan Fa Leelas. The public klong boat from Bang Kapi ends here. Historically, this was also a royal entry to Rattanakosin. The old abandoned gatehouse on the site performed that important entry function. This eastern entry, then, is, and always has been one of the major entries to area. It goes through this community. Consequently, the design of any future park must consider this historical and ongoing important function.

Routes through the city [figure 2.13, 2.14 on page 12 would be useful here] [from page 19] Pommahakan is surrounded by Wat Ratchanadda, Wat Theptidaram, and Wat Saket. All of these are key monuments for local residents and tourists alike. The movement from one to the other is also important. From the map (Figure 2.xx) there is a route from the Chao Phraya through Rattanakosin island that connects Wat Pra Keaw, Wat Raj Pradit, Wat Raj Borpij, Wat Mahunnaparam, Wat Sutat, Wat Theptidaram, Wat Ratchanudda and culminating in Wat Saket. Travelling along this route there is supporting commercial activity such as shops selling Buddha images, restaurants and so on. However, there are gaps between that make this journey on foot seem more

ภาพประกอบที่2.12ระบบการคมนาคมและการเขาถึงเกาะรัตนโกสินทร Figure2.12 Transportation and access to Rattanakosin Island

เสนทางหลักถนนราชดําเนินกลาง Rachadamnern Road

ทาเรือริมน้ําเจาพระยา Pier at Chao Pra Ya River

Pra Artid

Ta Prachan

Ta Chang

Ta Tien

Memorial Bridge (Phan fa leeras)

17

Page 22: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2.5 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การเขาถึงบริเวณปอมมหากาฬ

จุดประสงคสวนใหญของการเขามาในบริเวณปอมมหากาฬ คือ 1 เพื่อจะมาลงเรือ ที่ทาเรือผานฟาลีลาศ ซึ่งปจจุบันตั้งอยูในบริเวณปอมมหากาฬ

2. เพื่อจะเดินผานไปภูเขาทอง

ทางเขาสูพื้นที่ชุมชนปอมมหากาฬมีทั้งหมด ดังนี้ 1.เขาทางประตูกําแพงปอมซึ่งมีดวยกัน 4 ประตู 2.เขาดานหลังบริเวณคลองสงน้ํา 3.เขาจากสะพานผายฟาลีลาศ 4.มาทางเรือ ซึ่งเปรียบเหมือนประตูหลักของเกาะรัตนโกสินทรของการ

คมนาคมทางน้ํา

Access to Pommahakarm Fort Community The aim to come to this Mahakarn fort

1. to pass to Phan Fa Leelas pier 2. to pass to Pukaotong( Wat Sraket)

The entrances to community are

1. From the wall that has 4 doors 2. From the little cannel at South 3. From Phan Fa Leelas bridge 4. From boat to Phan Fa Leelas pier that is the

gate to Rattnakosin from water transportation.

ภาพประกอบที่2.13 แผนภาพแสดงการเขาถึงบริเวณชุมชน Figure 2.13 Plan Show the access to the site

ทาเรือผานฟาลีลาศ Phan fa Leeras pier ( Memorial bridge)

มุมมองทางเขาทาเรือผานฟาลีลาศจากถนนราชดําเนิน Approach to the Phan fa leeras entrance from across street

มุมมองสูทาเรือผานฟาลีลาศจากในชุมชน Approach to Phan fa leeras from community

18

Page 23: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 2.ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

Mahakarn Fort Community

2.. กิจกรรมที่เกิดขึ้นปจจุบัน ลักษณะการเที่ยวแตละบริเวณบนเกาะรัตนโกสินทรมีเอกลักษณที่ตางกัน มีความหลากหลาย จะเห็นไดจากรูปประกอบที่ 2.5(3) บริเวณที่เกิด กิจกรรมจะแบงไดเดนชัด เปน 2สวน(วงกลมสีแดง) คือ

บริเวณตรอกขาวสาร บางลําพู พระอาทิตย กิจกรรมเปน ประเภทการคาขายสินคาที่ทันสมัย

บริเวณวรจักร สะพานพุทธ สะพานเหล็ก คลองถม เปนบริเวณที่มีการทองเที่ยวในเชิงทองถิ่น ชาวบาน สวนใหญจะเปนคนไทยเดิน จะเห็นไดวา พื้นที่บริเวณปอมมหากาฬอยูระหวาง 2 แหลงทองเที่ยว สามารถเชื่อมกิจกรรมทั้ง 2 อยางไดในชวงกลางคืนโดยการเปดและสนับสนุนการเดินเที่ยวดวยทางเทา

2. Activities in the present There are difference identity of activities on the Rattanakosin Island that can see in picture2.5 (3). Red circle is the commercial area

1.Kao Sarn Road, Bang Lum poo and Pra Arthid Road (Food and Restaurant)

2. War Rajak, Saparn Put, Saparn Lek, Klong Thom (Electrictric equipment, Retail shop) From the picture, Pom Mahakarn located between 2 place and can connect 2 activities at nighttime together.

กิจกรรมกลางวัน Daytime Activity

กิจกรรมตลอดวัน-คืน All day activity

กิจกรรมกลางคืน Nighttime Activity

โบราณสถาน Ancient Building

ภาพประกอบที่ 2.14บริเวณที่เกิดกิจกรรมขึ้นและแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ Figure2.14 The area that have the activity and tourist place

19

Page 24: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

2 ความสัมพันธกับผังรวม (CONTEXT)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2.6แผนและนโยบาย โครงการ ชีวิต สีสัน กรุงเทพฯ ริเริ่มขึ้นเมื่อ มกราคม 2541 รวมมือกับ รัฐบาลฝรั่งเศส และองคการUNESCO จุดประสงค มุงปรับคุณภาพชีวิตของชาวกรุงเทพฯ เพื่อปรับปรุง บูรณะสถาน

ที่สาธารณะในกรุงเทพใหเปนสถานที่พบปะและทํากิจกรรมตางๆเพื่อฟนฟูเกาะรัตนโกสินทรใหมีชีวิตชีวาขึ้นมาใหม ดวยการเนนเอกลักษณของกรุงเทพมหานครและเพื่อสงเสริมการพัฒนากรุงเทพแบบยั่งยืน การสรางเมืองเพื่อประชาชนโดยประชาชน ซึ่งอาศัยความรวมมือระหวางเจาหนาที่และประชาชนในชุมชน

ขอคิด 1.อนุรักษความเปนประวัติศาสตรและวัฒนธรรม 2.ปรับปรุงพื้นที่สาธารณะ 3.นอกจากจะอนุรักษประวัติศาสตรในแงสถาปตยกรรมแลว ชีวิตความเปนอยูควรจะคงรักษาไวดวย 4.สงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวบนทางเทาใหเขากับสภาพทองถิ่น 5.สงเสริมใหเกิดภาพลักษณของวัง วัด ชุมชนกับสถาปตยกรรม 6.สงเสริมการคาขายทองถิ่น อาหาร เครื่องดื่ม ชุมชนและตนไม 7.การมีน้ําเปนสวนประกอบในพื้นที่สาธารณะเปนสิ่งสําคัญ 8. การเปดมุมมองใหเกิดทัศนียภาพที่หลากหลาย

2.6 Plan and Policy Project Humanize Bangkok

One of the most interesting studies of the area was funded by UNESCO and the Government of France. Called the Humanize Bangkok Project, it was prepared by French consulting architects and planners working with BMA staff planners and architects in 1998. The intention of the report and the exhibition was to:

• Improve some areas of historic importance in the Rattanakosin area

• Support the identity of the place and of Thai culture • Improving tourism features and infrastructure in the area. • Supporting “sustainable development by focusing on

development for the people”

The overall conclusions reached by this report were:

1. Preserve the history and culture 2. Develop the public spaces 3. Keep the lifestyle of the community 4. Support the image of the community 5. The character of the footpaths should be improved 6. development must benefit the local residents 7. improve the public access to the water 8. improve the tourist potential of the area.

Many of the recommendations of this report were followed and supported by the plan that is described in Section 3.

ภาพประกอบที่ 2.15บรรยากาศเกาเปรียบเทียบกับบรรยากาศที่เปลี่ยนใหมแบบเดิม Figure 2.15 Images of some place of Bangkok before and after developed according to the humanize Bangkok objective.

20

Page 25: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.แผนชุมชน THE COMMUNITY

21

Page 26: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.1บทนํา ชุมชนปอมหากาฬ เปนชุมชนเกาแกที่ตั้งอยูดานหลังกําแพงเมืองเกาติดกับปอมมหากาฬ ริมคลองโองอาง ชุมชนนี้เชาที่อาศัยอยูมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่5 ปจจุบันอยูสืบเนื่องกันมาแลวถึง 3 ชั่วอายุคน

จํานวนสมาชิกปจจุบัน • 92 ครอบครัว • 72 หลังคาเรือน • 280คน

อายุเฉลี่ยของประชากรปอมมหากาฬ เด็กเล็ก-14ป จํานวน 47 คน อายุ15-18 ป จํานวน 12 คน อายุ19-30ป จํานวน 59 คน อายุ30-50 ป จํานวน 72 คน อายุ 50 ปขึ้นไป จํานวน 49 คน

อาชีพ • คาขาย 85%

•รับจาง 13% •อื่นๆ 2%

3.1 Introduction Pom Mahakarn community is an old community establish in Rama 5. It site after old wall and Mahakarn fort and adjacent to Ong Arng canel.

Nowaday, there are 72 housing, 92 families and 280 peoples.

Age Baby-14 years 47 15-18 12

19-30 59 30-50 72 Over 50 years 49

ภาพประกอบที่ 3.2เปรียบเทียบมุมมองจากถนนราชดําเนินกลางอดีตและปจจุบัน Picture 3.2comparison visual from Rachadamnern Road

ภาพประกอบที่ 3.1เปรียบเทียบมุมมองดานบนของอดีตกับปจจุบัน Picture 3.1comparison of the past and present visual from sky

22

Page 27: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.2 สถาปตยกรรม และสิ่งที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร 3.2 Architecture and historical place

ปอมมหากาฬ Pommahakarn battlement

แนวกําแพงเมืองเกา The old city wall which community behind

ทางเขาดานหลัง ติดกับคลอง Sub Entrance to Community

บานที่อยูริมคลองโองอาง House close to The klong

ตึกเกาหนาทาเรือ เคยเปนที่พักของราชวงศในการเสด็จทางชลมารคในอดีต (Old building, used to be water transportation interchange fo Royal)

23

ภาพประกอบที่ 3.3 มุมมองตางๆจากชุมชน Figure 3.3 Approach of community

ที่นั่งสาธารณะ Public seating area

คลองโองอาง Ong Arng Klongs

ภาพประกอบที่ 3.4 ตําแหนงที่ตั้งของชุมชน Figure 3.4 Location of community

Page 28: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

มุมมองตางๆจากพื้นที่ชุมชน View from inside the community

24

ภาพประกอบที่ 3.5 มุมมองจากปอมมหากาฬ Figure 3.5 Approach from Pommahakarn

Page 29: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.3 คนกับวิถีชีวิต เทศกาล นานมาแลวที่ชุมชนมีกิจกรรมและประเพณีตามเทศกาลสําคัญตางๆเกิดขึ้น บนเกาะรัตนโกสินทร โดยสามารถแยกประเภทของกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ - วัด เชน การทําบุญตักบาตรในวันสําคัญทางศาสนาและวันปใหม - น้ํา เชน เทศกาลวันลอยกระทง และสงกรานต ซึ่งจุดนี้เองที่สงเสริมความเปนอยู วัฒนธรรม และประเพณีในแบบของไทยอยู ซึ่งนับวันยิ่งหาดูไดยาก แตความเปนชุมชนโบราณของชุมชนบนเกาะรัตนโกสินทร ทําใหยังคงกิจกรรมเหลานี้ไป ไดจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งเปนการสรางชีวิตใหกับเกาะรัตนโกสินทรอยางแทจริง ที่วาคน ชุมชน ทํานุบํารุงอุปถัมภพระพุทธศาสนา คนเปนชีวิตของเมือง ศิลปหัตถกรรม บนเกาะรัตนโกสินทรนอกจากจะมีโบราณสถานสําคัญมากมายแลว ยังคงมีงานฝมือตางๆที่นักทองเที่ยวสามารถหาซื้อเปนของที่ระลึกได ตามชุมชนตางๆซึ่งตางมีความสามารถและเอกลักษณในการทํางานฝมือหลากหลาย. เชน บริเวณภูเขาทอง - ไมแกะสลัก บริเวณปอมมหากาฬ - กรงนก, เครื่องปนดินเผา บริเวณชุมชนวัดราชนัดดา -พระเครื่อง เครื่องปนดินเผา บริเวณที่ที่วาการกรุงเทพมหานคร -พระพุทธรูป

Festival and ceremony This community has activities that related to the Trattanakosin events such as

- Related to temple as in newyear and Buddha days - Water as Loi Kratong and Thai new year

And this is real life of Rattanakosin Island and support Buddhism. All of those activities and cultural can be preserved by the community.

Art and handicraft

There are many souvenirs from Rattanakosin Island that come form the villagers round

Such as - Around Pukaotong is wood craft - Mahakarn fort are bird cage and sculpture - Rachanadda community are Buddha image and sculpture - BMA office is Buddha image

ภาพประกอบที่ 3.6 งานหัตถกรรมตางที่มีอยูบนเกาะรัตนโกสินทร Figure 3.6 The preservation occupations in Rattanakosin Island

3.3 Lifestyle

25

Page 30: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ชุมชนปอมมหากาฬเปนอีกชุมชนหนึ่งที่มีวิถีชีวิตและกิจกรรมที่เกื้อกูลกับวัดที่อยูรอบขางมาตลอด และยังมีกิจกรรมที่สรางชีวิตใหกับเกาะรัตนโกสินทรในงานวันสําคัญตางๆ การที่ชุมชนอาศัยอยูรวมกับโบราณสถานและสถาปตยกรรมที่ทรงคุณคามาตลอดอีกทั้งยังชวยสงเสริมทํานุบํารุงโบราณฆถานและพระพุทธศาสนา เปรียบเหมือนกับชุมชนนี้เปนสวนหนึงของประวัติศาสตรเกิดจสกวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําเลาทุกป จนกลายเปนเหมือนชีวิตประจําวันและชีวิตของเกาะรัตนโกสินทร

ชุมชนปอมมหากาฬเปรียบเสมือนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรของเกาะรัตนโกสินทร การยายชุมชนนี้ออกมิใชการอนุรักษณหรือสงเสริมคุณคาของโบราณสถานแตกลับเปนการทําลายชีวิตของเมืองอันเปนประวัติศาสตร วาบริเวณนี้คือที่อยูของชาวบานมานานนับรอยป 1 กิจกรรมที่ชาวบานมีกับวัดรอบขาง บงบองกถึงความสัมพันธของคนในชุมชนที่เปนสวนหนึ่งที่สรางชีวิตใหกับกรุงรัตนโกสินทร และการใชประโยชนของกําแพงเมืองเปนที่ทํากิจกรรม นอกจากนี้ชุมชนยังชวยรักษาทําความสะอาดกําแพงซึ่งเปรียบเหมือนสวนหนึ่งของชุมชนในความรูสึกของชาวบาน ทั้งที่เปนหนาที่ของหนวยงานรัฐบาล

ภาพประกอบที่3.7 กิจกรรมตางของชุมชนปอมมหากาฬที่สรางความมีชีวิตใหกับบริเวณนี้ Figure 3.7 The community always celebrate on the important ceremony and mostly is about ritual ceremony

ภาพประกอบที่ 3.8กิจกรรมของชาวชุมชนที่ชวยกันทํานุบํารุงศาสนากับวัดรอบขางและโบราณสถาน Figure 3.8 They are concerned about conduction of the historical monuments

These rituals form an important part of thehistory of the city. It is this that keeps the historicalmonument alive. People including this community,areuse these buildings the way they always have

26

Page 31: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.4 พื้นที่โลง

ในหนังสือเกี่ยวกับการวางผังเมือง ชื่อ The Death and Life of the Great American City, โดย Jane Jacobs

3.4 Open space. The urban planning book " The death and life of the GreatAmerican City" by Jane Jacobs said about park… Planners often see Park as a panacea for practically all urban problems not involving traffic engineers. She says, however, that some park work and others don’t. What accounts for that difference, she says, is attention to some basic factors: -Diversity: “Superficial architectural variety may look like diversity, but onlya genuine content of economic and social diversity, resulting in people with different schedule, has meaning to the park and the power to confer the boon of life upon it” (Jane Jacob, 1961:101) -Intricacy: cannot be taken in at the glance; changes of levels; the unseen -Centering: a pausing point, climax -Enclosure: building may do this, but a clear edge is important

30

Page 32: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.4.1 การใชพื้นที่ในการออกแบบสวนและชุมชน พื้นที่สวนที่เปนพื้นที่สาธารณะ .............7,705 ตารางเมตร ( 80%) พื้นที่สวนทีเปนชุมชน..............................2,027 ตารางเมตร (20%) คิดเปนอัตราสวน ชุมชน : สวน 1 : 4

สวนของชุมชน Community

สวนของสวนสาธารณะ Public park

3.4.1 Space of park and community Public park…………………….….7,705 m2 (80%) Community…………………….…2,027 m2 (20%) The ratio of community: park is

1 : 4

ภาพประกอบที่3.13 เสนทางทองเที่ยว ที่ผานชุมชนโบราณวัดราชนัดดา และชุมชนปอมมหากาฬ ไปจนถึงภูเขาทอง Figure 3.13 Tourist walkway root that walk pass old community near Wat Rachanadda and then go to Mahakarn community.

31

Page 33: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ความสัมพันธทางแนวความคิดกับนโยบายอื่น จากแนวคิดของโครงการ สีสัน ชีวิต กรุงเทพ ฯ เปนแนวความคิดสนับสนุนที่เปนไปในแนวทางเดียวกันกับการพัฒนาชุมชนปอมมหาการเชนกัน ดังนี้ 1.การเก็บอนุรักษบานเกา และใหความสําคัญกับรูปลักษณเดิมของตัวบาน รวมถึงการเก็บตึกเกาตรงทาเรือ ทาเรือและใหความสําคัญกับการพัฒนาริมน้ํา 2.สวนที่เปนสวนของสาธารณะคือบริเวณปอมมหากาฬ กําแพง ริมน้ํา ทาเรือ และ สวนยอยๆที่แทรกอยูกับชุมชน(Pocket park)

3.คนและวิถีชีวิตซึ่งจะดึงอาชีพที่ชาวบานทํามาเปน 100ป มาเปนสวนแสดงและสรางเอกลักษณใหกับสวน 4.เปดเสนทางในสวนทั้งทางเดินและมุมมองใหกับนักทองเที่ยวไปสูภูเขาทอง 5. คงความเปนชุมชนเกาแกที่ยังคงอยูคูกับ วัด วัง 6.เพื่อสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจใหกับชุมชน ทองถิ่นและสงเสริมการคาขายทองถิ่น จึงมีสวนที่สําหรับคาขายสินคาที่ชุมชนผลิตขึ้นเอง 7.สรางความรูสึกของการอยูริมน้ํา และสามารถนําน้ํามาเปนสวนประกอบเพิ่มในสวนได 8.สราง Zen view หรือการเปดมุมมองเหมือนเปนกรอบของทัศนียภาพ จะมีการมองเห็นทิวทัศนในแตละจุดไมเหมือนกันเพื่อสรางความนาสนใจใหกับภูเขาทอง ในรายละเอียดรองรับแนวความคิดตางๆสามารถกลับไปอานไดที่สวนของประวัติศาสตร สวนความสัมพันธตางๆที่นํามาสูแนวความคิดอานไดแนสวนของแผนชุมชน

The relationship with other policy From the project “ Humanize Bangkok” , the purpose of this project is in the same way of Pom Mahakarn Community development.

1. Keep old existing houses and old building at pier

2. Public space are at the wall, fort, waterfront,pier and pocket park in community

3. Use 100 years life style and preservation career to be a

path of park attractive point

4. Open the visual to lead tourist to Pukaotong( Wat Sraket)

5. Preserve the community that related to temple and palace

6. Promote the community's product to improve local economic

7. Feel the water life and use water to be a path of park

design

8. Create "Zen view", the different frame of visual to make Pukaotong more interesting

In the details, go back to see policy in history path and the relationship in community plan.

32

Page 34: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.5 กระบวนการในการออกแบบ

เพื่อเขาสูขั้นตอนในการ ออกแบบ มีความจําเปนอยางยิ่งในการ ออกแบบใหบรรลุความตองการของผูอยูอาศัยไดอยางเหมาะสมกับความเปนไปไดในการพัฒนาโดยภาพรวมของผังเมือง ดังนั้นการทําความเขาใจถึงความตองการของชุมชนเปนสวนที่สําคัญเชนกัน จึงมีการจัดประชุมรวมกันออกแบบระหวางคนในชุมชนและนักศึกษาสถาปนิกโดยความควบคุมและใหคําแนะนํา โดย ทานอาจารย การเก็บขอมูล

จากการสัมภาษณความเห็นสวนรวมของชุมชนถึงแนวทางการพัฒนาชุมชนรูปแบบใหมในอนาคต ไดดังนี้ จุดประสงคที่ชุมชนตองการ

1.ตองสามารถดูแลกันไดทั่วถึง 2.เก็บรักษาตนไมเดิม 3.รองรับการเพิ่มของขนาดไดในอนาคต 4.วัสดุที่ใชราคาประหยัด และสะทอนถึงประวัติศาสตร 5. ปรับปรุงภาพลักษณชุมชน และสงเสริมการทองเที่ยว 6.ตองการบานที่อยูรวมกันกับสวนได 7.ตองการบานอยางนอย 55 หลัง 8. มีบอพักน้ําทุกหลัง 9.พื้นที่ตอ 1ครอบครัวอยางนอย 6X4 เมตร

สิ่งที่ตองการใหมีเพิ่มเติม คือ 1. สนามเด็กเลน 2.ที่จอดรถเข็นรวม 3.หองประชุม 4 ลานกิจกรรมชุมชน 5.รานคาเพื่อแสดงสินคาแกนักทองเที่ยว

3.5 Co-Design

To success in design and find the impossible way to develop, it need to realize the requirement and needs from community. Data collection From interview the villagers about development can conclude below

ภาพประกอบที่ 3.14 บรรยากาศการประชุมรวมกับชาวบานทั้งผูใหญและเด็กเพื่อออกแบบรวมกัน Figure 3.14 At community while doing co-design

ภาพประกอบที่3.16 แผนภูมิแสดงความสัมพันธของการใชงานแตละสวนของชุมชน Figure 3.16 Bubble diagram show relation between each function which Create from agreement of people in community.

ภาพประกอบที่ 3.15 ภาพวาดชุมชนในฝนของเด็กFigure 3.15 Kids drawing “ Dram house”

Design criteria 1. Easy to look after the others 2. Keep existing trees 3. Enough for increasing in the future 4. Cheap and show historical feeling material 5. Encourage community to tourists and batter image 6. Living with park 7. At least 55 houses 8. Sewer every house 9. At least 6m x 4m each floor

Add

1. Play ground 2. Parking for movable kiosk 3. Community meeting room 4. Community activities space 5. Display shop for tourist

33

Page 35: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ปญหาของชุมชน

1 ทางเดินวกวนและมีทางตัน 2.ไมมีที่ทิ้งขยะเปนสัดสวน 3. แสงสวางที่บานไมเพียงพอ 4.มีที่รวมของชุมชนนอย 5.การจัดสันพื้นที่ไมเปนสัดสวน

ขอควรระวังในการออกแบบ

1.ตนไมที่ตองการเก็บไวมีรากใหญมากตองระวังในการวางบาน 2.กิ่งของลําตนบางตนจํากัดความสูงของบาน 3.มีทอน้ําทิ้งของ กทม อยู แกไมได 4.ทางเดินไมจําเปนตองเปนทางครงอยางเดียว แตแคระวังเรื่องทางตันเทานั้น 5.จัดที่ทิ้งขยะรวมใหเหมาะสมกับการใชงานของชุมชนและการเขามาจัดเก็บของเทศบาล 6.การวางผังตองคํานึงถึงความเปนสวนตัวของชุมชนในขณะที่สามารถเปดเปนสาธารณะไดดวย

ขอพึงพิจารณา สิ่งปลูกสรางที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร

- ปอมมหากาฬและกําแพง - ตึกเการิมคลองโองอางซึ่ง

เคยเปนที่ประทับในการเปลี่ยนเสนทางทางชลมารคจองราชวงศ- - ริมคลอง และตนไม - กิจกรรมและวิถีชีวิต - บานเกา

จากการพิจารณาถึงขอดังกลาวเพื่อใหสอดคลองกับความตั้งใจใหเกิดการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรบนพื้นที่นี้

Existing problems

1. dead end walkway 2. no specify garbage service area 3. not enough light in the house 4. not enough space for community activities 5. no space planing

Design avoidance 1. Avoid of big and long root of trees when design house 2. High limited by branches of trees 3. Use existing manhole that build by BMA and cannot move 4. Beware of dead end walkway 5. Service area that easy to get into by officer 6. Consider of community privacy and public park in the

same time

Preservation - Mahakarn fort and wall - Historical building adjacent Klong Ong

Arng that used to be Royal building for water transportation

- Waterfront and trees - Activities, ceremony, cultural and life

style - Old houses that build for a hundred

years

ปญหาขยะ Garbage Problem

ปญหาทางตัน Dead end problem

ปญหารากไม Root problems

กิจกรรมหลากหลายบนพื้นที่เดียว Multi purpose area

ขอจํากัดจากตนที่เก็บไว Limitation from the tree branch and root

34

Page 36: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ภาพประกอบที่ 3.22 สภาพความเปนอยูเดิม ตําแหนงตนไม เสาไฟฟา ทอระบายน้ําและบาน Figure 3.22 Existing house, trees, electrice pole, gutter, and manhole

ภาพประกอบที่ 3.23 สิ่งที่จะเก็บไว คือบานเกา ตนไม ตึกเกา Figure 3.23 Trees and historical house and historical building position which have to keep

35

Page 37: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Case Study GreenAcre Park 51st between Second and Third Aves., New York , NY One of New York City's famed "vest pocket-parks," providing an emerald-green sanctuary for east-side residents and workers. Contributed by Project for Public Spaces Why It Works Like its sister vest-pocket park, Paley Park, Greenacre Park has the basic ingredients of a good public space: 1. It is located directly on the street so that people are attracted to look and to go in. 2. There is good, reasonably priced food. 3. There are movable chairs and tables so people can be comfortable and can have some control over where they sit. 4. A waterfall provides a focal point and a dramatic reason to visit the park and its noise creates a sense of quiet and privacy. 5. There is shade in the summer from the trees yet their thin structure allows a beautiful dappled light to pass through. 6. Overhead heat lamps on the upper level heat the park in cool weather. GreenAcre Park functions as a living room for the community and the "regulars: who use it make significant contributions to the safety of the park.

History & Background With a 25-foot-high waterfall cascading over the rear wall, skillfully landscaped trees and plantings, an outdoor cafe, and shady arbors, the park was designed to make the most of its small size. Built in 1971 by the Greenacre Foundation, (founded two years earlier by Mrs. Jean Mauze, the former Abby Rockefeller) the park was developed to provide New Yorkers with "some moments of serenity in this busy world." Hideo Sasaki, former chairman of Harvard's Landscape Architecture Department, and Harmon Goldstone, who served as consultant, created the park's award-winning designs. Greenacre park is heavily used, but not enough to make it feel busy. The Greenacre Foundation, which owns and masterfully maintains the park, also operates a reference center at 457 Madison Avenue (51st Street) in conjunction with The Municipal Arts Society.

from www.pps.org/gps/

36

ภาพประกอบที่ 3.24 สวนหยอมที่มีตนไมเยอะ Figure 3.24 Pocket park wirh many trees

Page 38: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Case Study Paley Park 53rd Street between Madison and Fifth Avenues, New York, NY Located within Midtown's cultural district and surrounded by high-rises, this celebrated "vest-pocket" park is a welcome respite from the sights and sounds of urban living. Contributed by Project for Public Spaces Why It Works A small vest pocket park in midtown Manhattan, the park was developed (and every detail considered) by the person who paid for it, William Paley, former Chairman of CBS. Mr. Paley was involved in all aspects of planning the park from its conception to the selection of just the right hot dog (which is still served at a reasonable price). Featured in William H. Whyte’s film City Places, City Spaces, the park is a success for several reasons. For one, it is located directly on the street so that people are attracted to look in and enter. It has good, reasonably priced food, as well as moveable chairs and tables that let people be comfortable and have some control over where they sit. A waterfall provides a dramatic focal point and a reason to enter the park; its noise blocks out the sounds of the city and create a sense of quiet and privacy. There's adequate shade in the summer from the trees, though they allow a beautiful dappled light to pass through their leaves. People that PPS interviewed in the park said that they liked it because they could be "alone" in a busy city and it gave them a quiet, restful feeling. In reality, Paley Park is a quite heavily used place, but the movable chairs allow people the freedom to sit where they choose. It is also very noisy - but the noise is white noise from the waterfall.

History & Background Completed in 1967, Paley Park is celebrated as one of the smallest manageable urban parks, and a prime example of a successful privately owned public space. The design for this 4200 square foot space, created by Zion and Breene Associates for the William S. Paley Foundation, proves that in even a small space can serve both a popular meeting ground and a place for relaxation and calm. Slightly elevated from street level, the sidewalk blends with the park allowing for easy access from passer-by. The park’s 20-foot cascading waterfall, running at 1800 gallons per minute, creates a backdrop of sound that causes the city noise to fade away. The walls are covered with dense, green ivy and 17 honey locust trees provide a thin overhead canopy. The park's wire mesh chairs and tables help to make it a popular luncheon spot. Paley Park has an intimate relation with the street. Low and inviting steps and trees that canopy the sidewalk often influence passer-by to stroll through the park on impulse.

37

ภาพประกอบที่ 3.25 Figure 3.25

Page 39: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Case Study The case study shows example map of a park. This is a guide of design the park flow into the building and how to make it related together.

from Landscape : New Concept in Architecture & Design (p.69) by Shunsaky Miyagi 1996 Meisei Publilcation

38

ภาพประกอบที่ 3.26 ทางเดินริมน้ํา Figure 3.26 Promenade

ภาพประกอบที่ 3.27 ฝงทางเดินริมน้ํา Figure 3.27 Plan of promenade

Page 40: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Case Study There are some path of park that need to design like a pocket park and it will be a path of housing. This is a good example show the little garden in between house.

from Contemporary Trends in Landscape Architecture (p.51) by Steven L. Cantor 1997 ITP publication

ภาพประกอบที่ 3.29 ผังของสวน Figure 3.29 Plan and perspective of Joel Schnaper Memorial Garden

39

ภาพประกอบที่ 3.28 บรรยากาศอบอุนของสวน เนื่องจากสัดสวน และขนาด Figure 3.28 The cozy atmostphere because of the scale and porportion

Page 41: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Co -Design Process การสํารวจและรวบรวมขอมูลพื้นฐาน แบงเปนหัวขอใหญๆคือ ความตองการหลักของชุมชน, แผนและขอขัดแยงของกทม., การทําแผนที่, การสํารวจสถิติของผูอยูอาศัย ความตองการหลักของชุมชน - จากการสัมภาษณ ชาวบาน ไดขอสรุปเพื่อใชเปนแกนหลักในการออกแบบ 9 ขอ ดังที่ไดแสดงไวในหัวขอ ที่3.5 เรื่องจุดประสงคหลักของชุมชน เชน ตองการสงเสริมการทองเที่ยว, เก็บรักษาตนไมเดิม และ พื้นที่สําหรับการออกแบบบานเปนตน แผนและขอขัดแยงของกทม. - กรุงเทพฯมีความตองการที่จะรื้อยายชุมชนโดยมีเหตุผลคือ

1. ชุมชนบดบังทัศนียภาพของภูเขาทอง 2. เปนชุมชนแออัดไมสงเสริมโบราณสถาน 3. มีแผนจะใหเกิดพื้นที่สีเขียว และเชื่อมทางเดินรอบเกาะรัตน

โกสินทร 4. ตองการเชื่อมภูเขาทอง และวัดราชนัดดาเขาดวยกัน เพื่อทํา

เสนทางทางทองเที่ยวจากวัดพระแกว ในขอขัดแยงที่ 1 และ 2 สามารถแกไขไดโดยไมจําเปนตองยายชุมชนออก

ไปแตอยางใด การออกแบบ จัดระเบียบใหกับชุมชนใหม สามารถแกไขเรื่องการบดบังทัศนียภาพได สวนเรื่องสงเสริมโบราณสถานนั้น โดยความเปนจริง ตัวชุมชนเองถือไดวาเปนโบราณสถานที่ควรอนุรักษ เทาๆกับภูเขาทอง และปอมมหากาฬ เพราะอยูอาศัยรวมกันมานาน จนเกิดเปนบรรยากาศ และเกิดกิจกรรมที่สงเสริมตัวโบราณสถานหลายประการ ดังนั้น ใน ขอที่ 3 และ4 จึงแกไขไดดวยการออกแบบใหสอดคลองกับแผนของกรุงเทพในอนาคต ทั้งสวนที่มีการจัดแสดงชีวิตความเปนอยูแบบไทยๆ ยังมีประสิทธิภาพในการสงเสริมการทองเที่ยว มากกวาเปนสวนที่มีทางเดินเชื่อมตอกันหรือเปนที่โลงธรรมดาหมือนสวนที่อยูติดกับวัดราชนัดดา ซึ่งแทบไมมีนักทองเที่ยวผานเขาไปเลย

Observation There are 4 topics: criteria of community, BMA argument, mapping and static. Criteria - from interview, there are 9 topics shows in topics 3.5 BMA argument - the reasons to move community out are

1. obstruct visual to Pukaotong 2. not encourage the historical place 3. add green area and bild the walkway around

Rattanakosin Island 4. make linkage from Wat Pra Srirattana

Sadsadaram to Wat Rachanadda and Pukao tong( Wat Sraket)

The BMA plan can solve by redesign the community and it will be add some efficiency to project more than do a park only.

ภาพประกอบที่ 3.30มุมมองที่เปดสูภูเขาทองนั้น ถาเปดเฉพาะที่จําเปนก็เพียงพอ และทําใหมีคุณคาตอ การรับรูมากกวาเปดโลงจากทุกทิศทุกทาง Figure 3.30 The view from main entrance at fort

40

Page 42: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การทําแผนที่ มีการเก็บขอมูลของแผนที่ทั้งระดับเมือง และสิ่งแวดลอมรอบๆชุมชน โดยมีทั้งแผนที่การทองเที่ยว เสนทางการเดินของรถ และคน การจราจรทางบกและทางน้ํา แตที่สําคัญคือแผนที่ของตัวชุมชนเองที่ยังไมมีขนาดที่แนนอน โดยมีการเขาไปรวมทําการวัดรอบๆชุมชน และไดรับความรวมมือจากชาวบานเปนอยางดี การวัดพื้นชุมชน มีรายละเอียดสําคัญคือ

- ขนาดของพื้นที่โดยรอบ - ตําแหนงของตนไมใหญทั้งหมดและรัศมีของราก - แผนผังของตําแหนงบานเดิม และบานโบราณ - การใชพื้นที่วางตางๆของชุมชน - การวางตําแหนงทอ การระบายน้ํา

การเก็บสถิติของชุมชน สถิติที่ตองการไดแก จํานวนชาวบาน ครอบครัว ชวงอายุ อาชีพ รัศมีการทํางาน สถานศึกษา เพื่อนํามาใชประกอบการออกแบบ และทําขอโตแยงกับการไลรื้อชุมชน ขอมูลตางๆ ไดมาโดยการ

- ใหตัวแทนชุมชนชวยทําแบบสอบถามแจกไปทําในแตละครอบครัว - สัมภาษณชาวบานโดยตรง

Mapping There are many map collected from many source such as city map, surrounding map and tourist map. The important one is community map that need to be improve before begin to design. Data needs in community map are

- size of site - trees location and root radius - existing houses and preservation building - open space in community - drainage pattern

Static Data that we need are number of families, peoples, age, and occupation radius and school radius. All of static use to support design and make some argument. It comes from - Questionnaire - Interview

ภาพประกอบที่ 3.31แผนผังเดิมของชุมชน Figure 3.31 Existing plan

ภาพประกอบ 3.32 แผนผังแสดงตําแหนงตนไม และบานเกา Figure 3.32 Trees position and 2 preservation houses

41

Page 43: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การศึกษาแบบเดิมที่ชุมชนเคยทํามาแลว ทางชุมชนเคยทําการออกแบบ กับกลุมACHRหรือกลุมสถาปนิกอื่นมาแลวครั้งหนึ่ง การศึกษาแบบเดิมจะชวยใหเขาใจแนวทางของการออกแบบ และปญหาที่ควรระวังในการออกแบบใหม แนวคิดเดิมของการออกแบบเดิม คือการขอแบงปนที่ดินกับทางกรุงเทพมหานคร โดยชาวบานขอที่ดินประมาณ 1.5 ไรเพื่อปลูกสรางบาน และจะชวยดูและสวนใหกับทางราชการ แตทางกรุงเทพฯ ไมใหผานการพิจารณา ทั้งติเรื่องการทําลายตนไม และความแออัด ที่ยังคงมีผลกระทบตอภาพลักษณของโบราณสถานรอบๆ นอกจากปญหาสองขอขางตน ทางคณะผูออกแบบยังเล็งเห็นวาแบบเดิมมีขอควรปรับปรุงคือ

- ไมมีการเวนระยะจากคลองและกําแพงตามกฎหมาย - ไมสงเสริมการทองเที่ยว - ขาดการรองรับแผนพัฒนาของกรุงเทพฯ - ไมสงเสริมเอกลักษณ และบรรยากาศเดิมของชุมชน - แบบบานคอนขางหนาแนน ทําใหการระบายลม และชองแสงมีนอย

Study preliminary design Community used to co-design with ACHR or young-architect before we work with them. Study that design may help a new design about. For the first time, community needs to share land with park. They ask for 1.5 Rai to build house. But BMA critic about trees and new design was not encouraging the history. More than that we see some problems

- no set back from cannel and wall - house plan is too dens and lack of ventilation and light - not support tourist plan - not support BMA plan - not encourage the efficiency of community

Figure 3.33 First scheme which community design with ACHR

ภาพประกอบที่ 3.33 แบบแรกที่ชุมชนกับสถาปนิกออกแบบรวมกัน

42

Page 44: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การวิเคราะหขอมูล กอนจะไปทําการ Co-design กับทางชุมชน เราทําการวิเคราะหขอมูลที่ไดมาโดยมีหัวขอดังนี้

1. ระบุปญหาตางๆที่พบ และรวบรวมมาไดจากชุมชน ทางกายภาพ 2. วิเคราะหที่ตั้ง บริบท และผลกระทบตางๆจากสิ่งแวดลอมรอบๆ 3. มุมมอง และทิวทัศนจากชุมชนมองออก และมองจากขางนอกเขามาใน

ชุมชน 4. วิเคราะหแผนการกรุงเทพฯ นํามาเปรียบเทียบกับศักยภาพของชุมชน

รวมทั้งแผนของการทองเที่ยวเกาะ ทั้งหมดเพื่อหาแนวทางของการออกแบบ อยางคราว เพื่อนําไปเปนแนวทางสําหรับการเก็บขอมูลเรื่องการรวมทําแบบกับชาวบานในครั้งตอไป

Analysis and Synthesis Before go to Co-design with community. We prepare data and

analyze by the topics below 1. conclude the physical problems in site 2. analysis the context, surrounding 3. analysis visual from inside to outside and from outside to

community 4. analyze BMA plan and efficiency of community

All of information, prepare to be the guideline for do a preliminary design with community.

บรรยากาศการทํางานหลังจากการเก็บขอมูล นํามาสรุปผลและหาแนวทางแกปญหารวมกัน Workshop at BKT campus studio after collect all of data

43

Page 45: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การออกแบบรวมกับชาวบาน ครั้งที่1 เรานัดใหชาวบานมาประชุมกันใหมากเทาที่จะมาได โดยเตรียมเก็บขอมูลแบงเปนจากผูใหญ และเด็ก การเก็บขอมูลจากเด็ก

ใชเกณฑตั้งแตชั้นประถมลงมา จนถึงเด็กเล็ก โดยจัดใหเด็กๆรวมกิจกรรม วาดภาพระบายสีตามหัวขอเชน บานในฝน หรือความปราถนาตางๆ เพื่อนํามาวิเคราะหหาความตองการที่แทจริงในภายหลังโดยความชวยเหลือของอาจารย การเก็บขอมูลจากผูใหญ สิ่งที่เตรียมไปดวยคือ แผนผังที่เขียนความตองการของชาวบาน ปญหาตางๆที่พบ และแผนผังของชุมชน และเริ่มกระบวนการโดย

1. แนะนําตัว และเกริ่นนํา เกี่ยวกับที่มาของการมารวมออกแบบ รวมทั้งหนาที่ และบทบาทของคณะผูออกแบบ

2. บอกรายละเอียดของขั้นตอนการทํางานใหทราบ 3. ถามชาวบานถึงความตองการอีกครั้ง วาตองการเพิ่มหรือลดจาก 9 ขอที่

เขียนไวหรือไม ซึ่งก็มีผูออกความเห็นเกี่ยวกับความตองการใหแสดงถึงเอกลักษณไทย โดยใชบานทรงไทยในการออกแบบ

4. สอบถามความเห็นเกี่ยวกับ อาชีพอนุรักษตางๆ และพื้นที่ที่ตองใชในการทํางาน โดยมีบางบานตองใชเครื่องจักร แตไมบานใหนตองใชพื้นที่พิเศษแตอยางใด แมแตครอบครัวที่ทํากระเพาะปลา ก็อาจจัดใหอยูบริเวณเดียวกันเพื่องายตอการระบายน้ํา

5. สอบถามเรื่องกิจกรรมตางๆในแตละป ซึ่งมีดังนี้ การจุดเทียนตามกําแพง - วันพอ และวันแม ทําบุญตักบาตร ในวันสําคัญทางศาสนา การรําบวงสรวง ลิเก

6. ถามเรื่องการใชประโยชนจากลาน และที่วางตางๆในชุมชน โดยมีจุดสําคัญคือที่ประชุม และลานตากผา

7. สิ่งที่อยากเพิ่มในการออกแบบใหม (ดูรายละเอียดจากขอ3.5 ) 8. จากนั้นจึงนําผังชุมชน ที่มีแตที่วางเปลา มาติดและแนะแนวทางการวาง

ผังคราวๆใหแกชาวบาน โดยมีเรื่องของนักทองเที่ยว เสนทางทองเที่ยว และการจัดฟงคชั่นตางๆ

Co-Design 1 We tell to the head that we need to meet both children and adult as much as we can. Then we divide children to get information by ask them to draw and paint their dream home. After that we collected all painting and analyze their need. Adult progress

1. Introduction and introduce ourselves. Then tell them what we can do and our goal.

2. Describe the method and progress 3. Ask villager about criteria, if they need to add form 9

topics. 4. Ask them about preservation occupation and space

requirement. Some of them need to group with another because the drainage reason.

5. Special activities and ceremony in every year 6. Ask them about use of open space in community,

there are meeting space in the middle of community and dry are near cannel

7. What they need to add when design new community (show in topic 3.5)

8. Post the empty plans on the board and describes about tourist issue and some of planing knowledge to villager.

9. Begin to put function on plan. Meeting area first and then parking, after that use preservation shop to be a buffer between park and community. The preservation occupations that they choose are sculpture, Thai dessert and birdcage.

ภาพประกอบที่ 3.34 การประชุมเพื่ออกแบบรวมกันระหวางนักศึกษาและ ชาวบาน Figure 3.34 first co-design with community

44

Page 46: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

9. เริ่มลองวางฟงกชั่นลงในผัง เริ่มจากที่ประชุม และสถานพยาบาลของ

ชุมชนกอน แลวจึงตามดวยรานคา และที่จอดรถ ซึ่งมีปญหาวาจะจอดรถเข็นไวในบาน หรือไวรวมกันดี ผลสรุปออกมาคือจอดรวมไวที่จอดรถ จะไดงายตอการดูแล และทําความสะอาดสวนรานคานั้น สรุปวารานที่จัดแสดงคือ รานเครื่องปน รานขนมไทย และรานทํากรงนก โดยจัดใหเปนที่คั่นระหวางสวนทางดานปอม กับชุมชน

ภาพประกอบที่ 3.35 แบบรางของการวางพื้นที่ที่ออกมาโดยยึดถนนกลางที่ตรงเขามาจากประตูที่สอง(ลูกศรสีน้ําเงินดานบน) มีที่ประชุม รานคา และที่จอดรอยูรอบๆ สวนที่ทิ้งขยะจัดไวดานซายสุดจะไดเขามาเก็บไดงาย นอกขากนี้ ชาวบานยังตองการศาลาพักผอนริมน้ํา กับสนามเด็เลนที่ตรงกลางเพื่อจะไดดูแลลูกหลานกันและกันไดสะดวก Figure 3.35 The preliminary zoning by working with community. They try to located the main street in the blue arrow above and put all-important function around it. A red arrow in the left shows service path from outside to red circle. They need some resting area at cannel and playground among the community that will be easy to look after their children.

45

Page 47: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

แบบรางแรก การออกแบบเริ่มโดยจัดกลุมบาน แลวจึงวางกลุมบาน ลงบนผังที่จัดแบงพื้นที่สําหรับสวนไวแลว

Preliminary Design After data collected from community. We begin to design house unit, shop unit and community planning.

ภาพประกอบที่ 3.36 การออกแบบกลุมบาน คํานึงถึงความเปนสวนตัว และขอจํากัดทางกฎหมาย Figure 3.36 First houses grouping design that must concern the ventilation and building code

ภาพประกอบที่ 3.38ภาพทิวทัศนในชุมชน แสดงบรรยากาศที่ใหนักทองเที่ยวเขาชม ชุมชนได มี ลักษณะคลายชุมชนดั้งเดิมที่อบอุนแตเปนระเบียบขึ้น Figure 3.38 Perspective show feeling in the community that tourist can walk into.

ภาพประกอบที่ 3.37 ภาพตัดขวางแสดงใหเห็นถึงการใชงานใตถุนบานเหมือนบานไทยโบราณ Figure 3.37 Section shows the use of ground floor to be cock feed area

46

Page 48: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Preliminary Design ภาพประกอบที่ 3.39 ภาพของรานขายของของชุมชน และการวางกลุมโดยคํานึงถึงการ

ระบายน้ําตรงกลาง Figure 3.39 Image of shop design that easy to drainage into the middle of group.

ภาพประกอบที่ 3.40 ทางเขาดานใต ที่ตองปรับปรุง และเปดโลงเพื่อนํานักทองเที่ยวเขามา Figure 3.40 Entrance at South gate near little cannel

ภาพประกอบที่ 3.41 ภาพภายในรานขายของที่มีที่สําหรับแสดงการทํากรงนก และจัดวางของขาย Figure 3.41 Example of birdcage shop design, birdcage show in the ceiling and display at the ground floor.

47

Page 49: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Preliminary Design

แบบผังแรกที่วางกลุมบาน โดยเวนระยะจากตนไมทุกตน แลวใชที่วางรอบๆตนไม เชื่อมทางเดินภายในสวน The first try of installing house into the site, we link each trees together and locate houses along that line.

48

Page 50: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

สิ่งกอสรางทางประวัติศาสตร

ประตูทางเขาดานติดกับตัวปอม ถูกดัดแปลงโคงประตูใหสูงขึ้น เพื่อใหรถหลังคาสูงหรือบรรทุกของสามารถผานเขาได ทําใหเกิดผลเสียตอความตอเนื่องของลักษณะกําแพงเดิม จึงควรบูรณะใหมีรูปทรงเดิม และจํากัดความสูงรถเขาออก

การติดตั้งเสาไฟฟา สายไฟฟา และ ไฟสองกําแพงและตัวปอม ปจจุบันมี สายไฟพาดบนตัวกําแพงมากมาย ดูรุงรัง ดังนั้น เพื่อทําใหตัว

กําแพงไดรับการปกปอง และเพื่อประโยชนทางความสวยงาม ควรยายเสาและสายไฟฟาออกจากตัวกําแพง ตลอดแนว หาวิธีวางใหมโดยไมรบกวนตัวโบราณสถาน นอกจากนี้ ไฟสองโบราณสถานไมควรติดลงบนกําแพงโดยตรง แตควรยายไปติดตั้งบนเสาไฟคอนกรีต ที่แยกออกมาจากกําแพงตางหาก ในมุมที่เหมาะสม ไมเกะกะสายตา

Historical building The entrance near fort was adjusted to let the car pass easier. But it interrupts the continuous of the wall. So it should be repair and limited the high of car.

Electricity columns, wire and spotlight on the building There are many wire on the wall, its make the wall looked bad. So it should move to underground or any that is not destroy image of the wall. Spotlight use in the night but it installs into the wall. It should move on to the column that separated from the wall.

ภาพประกอบที่ 3.44อาจออกแบบใหมใหเดินสายใตดิน และตัวเสาเองควรมีรูปลักษณที่ดีดวย Figure 3.44 Suggest to change the electric pole

ภาพประกอบที่ 3.43 สายไฟที่ปจจุบันพาดระเกะระกะ บนกําแพง Figure 3.43 The wire problem damage the wall and image

49

Page 51: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

เพื่อใหสามรถชมทัศนียภาพคลองและ ภูเขาทองไดอยางเต็มที่ จึงควรเปดประตูนี้ในตอนกลางวันเพื่อใหนักทองเที่ยวขึ้นไปสัมผัสกับตัวโบราณสถานได

นอกจากนี้ ยังอาจเพิ่มความนาสนใจใหแกสถานที่ ดวยการประชาสัมพันธ วาใหสามารถเดินตลอดแนวกําแพงดานบนได เพื่อใหสัมผัสกับอดีตไดชัดเจนขึ้น และ ที่สําคัญ ชุมชนที่อยูนอกกําแพง ก็ยังเปนชุมชนเดียวกับเมื่อกวา100ปกอน ซึ่งนั่น จะชวยดึงดูดนักทองเที่ยวได มากกวา ไมมีชุมชนอยู

ภาพประกอบที่ 3.45 บรรยากาศดานบนของกําแพง และทางเทาที่เล็กมาก ดานติดถนนหนาชุมชน Figure 3.45 The wire damage the historical wall

Open during daytime to let the tourist can see Pukaotong indifferent view from below and feel the historical story when stand on top ofold wall like the solider in the past. These can be the points to promote thiscommunity like "you can walk along the wall and see the old village as 100years ago".

ภาพประกอบที่ 3.46ประตูขึ้นปอม Figure 3.46 The gate to Mahakarn fort

50

Page 52: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

สวนทางเขาดานทิศใตก็ ควรออกแบบใหดึงดูดคน ใหเขามาเดินริมกําแพงดานใน หรือเขามาเดินริมน้ํา เพื่อหลีกเลี่ยงทางเทาขนาดเล็กเพียง50-เซนติเมตรดานนอกชุมชน-ซึ่งอันตราย และดูไมนาสนใจเทากับมาเดินใตรมไมในตัวชุมชน

ภาพประกอบที่ 3.47มุมมองทางดานใตของชุมชน Figure 3.47 South access to community

ภาพประกอบที่ 3.48 มุมมองนาสนใจจากฝงตรงขาม Figure 3.48 South access, look from opposite side

The entrance at South should design to get people comeinside because the small walkway outside (50 cm.) is toodangerous and not batter than walk under the shade in thecommunity park.

51

Page 53: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การบูรณะอาคารทาเรือเกา อาคารริมทาเรือเปน อาคารที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร เพราะในอดีตก็เปนทาเรือมากอนและ เคยใชเปนที่ประทับของพระราชวงศในอดีต กอนเสด็จดําเนินทางชลมารถ ปจจุบันอาคารนี้จึงมีความหมายยิ่ง ในแงของความเปนประตูสูเกาะรัตนโกสินทร

สําหรับผูโดยสารทางเรือ อาคารนี้ ควรออกแบบใหเปน ศูนยนักทองเที่ยว เกี่ยวกับการเดินทาง ทางน้ํา และควรออกแบบใหทาเรือสามารถมองเห็นไดจากประตูหลักของกําแพงใกลตัวปอม เพื่อใหนักทองเที่ยวเห็นเสนทางและจุดสนใจไดโดยงาย

Restore historical building at pier It is the building that has meaning of water transportation from the past. It used to be Royal building to change vehicle to boat. So it should design to be the gate to Rattanakosin Island such as tourist information of water transportation and easy to see from the entrance near fort.

52

ภาพประกอบที่ 3.50 บูรณะสะพาน แลวเอาทอออกไปเสีย เพราะบดบัง ทัศนียภาพจากบนสะพานมองมายังสวน ทั้งมีอันตรายตอการเดินเรือ และยายทาเรือให มองเห็นไดโดยงายจากทางเขา Figure 3.50 Move pipe off, it may cause of accident in water transportation

ภาพประกอบที่ 3.49 อาคารเกาของกษัตริย อนุรักษ 100ป ควรทําชองทางเขาตรงกลางใหโดดเดนขึ้น Figure 3.49The royal historical building Restore the gate at the middle and make it more obviously

Page 54: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.6 การออกแบบสวน และชุมชน จากการวิเคราะหในเรื่องของสวน( องคประกอบทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร หนา..) ชี้ใหเห็นวา แนวทางและรูปแบบของสวนควรไปในแนวทางของการสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร และจากตัวชุมชนเองก็มีศักยภาพในการสงเสริมกิจกรรมในสวนใหสอดคลองตามแนวคิดของการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษอยางแทจริง จากการที่ผูที่ใชสวนมี 2ประเภท คือนักทองเที่ยว และคนที่เดินผาน

เสนทางการเดินของนักทองเที่ยว Tourist circulation diagram

รูป ก. รูป ข.

รูป ค.

รูป ง. รูป จ. รูป ช.

3.6 Design of park and community From the analysis path, Mahakarn community has ability enoughto be the historical tourist place. User of park is tow group. One is touristand one is people who use to pass to pier.

53

Page 55: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

รูป ข.

รูป ค.

รูป ก. มุมมองจากทางเขาหลักบริเวณลานอเนกประสงค เปดทัศนียภาพ สูภูเขาทอง ตึกเการิมน้ํา และทาเรือ View from main entrance near fort

บรรยากาศบริเวณรานคา ขายของที่ทําเองในชุมชน Preservation shop

ทางเขาดานหลัง มีสะพานขามน้ําไปสูภูเขาทองเปดมุมมองบรรยากาศของความเปนชุมชน South entrance that open to welcome tourist to walk in the site.

รูป ช. รูป จ. บรรยากาศจากคลองโองอาง เปดใหเห็นทัศนียภาพของตึกเกาซึงเปลี่ยนการใชงานมาเปนพิพิธภัณฑ และศนยขอมูลนักทองเที่ยว และปอมมหากาฬ ที่เปนประวัติศาสตรอันยาวนานของพื้นที่นี ้View from bridge that you can see old building and community

54

Page 56: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ลานแสดงไกชน แทรกอยูในชุมชน เปดทัศนียภาพใหสูความเปนชุมชนเกาแก และภูเขาทอง เชื่อมไปสูทางเดินริมน้ํา Cockfight area in the middle of community

รูป ง.

ภาพประกอบที่ 3.54 รายละเอียดรานคา ไดแก กรงนก เครื่องปนดินเผา ขนมไทย มีทั้งสวนแสดงและสวนขายของ Figure 3.54 Shop plan and elevation, there are space for display and by goods

55

ภาพประกอบที่3.53 บรรยากาศจากทางเขาใหมสูสวนยอย บริเวณกลางพิ้นที่สวน Figure 3.53 The new access from waterfront to the pocket park at the middle of mark

Page 57: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

N

56

Page 58: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

คําแนะนํา Recommendation

ภาพประกอบที่ 3.56 ภาพตัดตามยาว Figure 3.56 Long section north to south

ภาพประกอบที่ 3.55 ภาพตัดตามขวางFigure 3.55 Cross section

ควรมีการแกปญหาเรื่องสายไฟ Wire problem of the existing electric pole so should change the electric pole .ground the wire underneath

57

Page 59: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

การออกแบบบาน บานขนาด 4-เมตรคูณ-6เมตร-มีสองชั้น-โดยที่หองน้ําและหองครัว จะอยูชั้นลาง สวนชั้นสอง เปดโลงสําหรับจัดแบงพื้นที่ใชสอยเปนหองนอน รอบๆบาน พยายามจัดใหมีหนาตาง เทาที่จะทําได เพื่อเปนชองแสง และการระบายอากาศที่ดี วัสดุคือไม เพื่อใหเขากับบรรยากาศเดิมๆ และเพื่อเปนการลดตนทุน จึงควรคัดเลือกเอาไมเกาที่รื้อจากบานเดิม ซึ่งนาจะมีปริมาณมาก มาใชในบานใหมนี้ดวย

House design The 2-storey building that area each floor is 6x4m. Kitchen and toilet are on the ground floor. On first floor is divided to be bedroom. Around the house are windows as much as we can to be light source and ventilation. Material is wood; it helps to get the old feeling of community and if use the old from existing house can reduce the cost.

ชั้น 2 Second floor

ผังชั้นที่1 First floor plan

ผังชั้นที่ 2 Second floor plan

58

Page 60: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ในการวางผังชุมชนใหม มีความจําเปนที่จะตองใหนักทองเที่ยวเขามาสัมผัส กับชีวิตชาวบาน ดังนั้น จึงอาจทําใหสูญเสียความเปนสวนตัวไดงาย จึงมีการจัดบานเปนกลุมๆกอน แลวคอยนําไปจัดวางผังในภายหลัง

กลุมบานนี้มีประมาณ5หลังตอหนึ่งกลุม ซึ่งจัดวางใหตัวบานโอบลอมกันแบบบานไทยโบราณ ใหเกิดที่วางตรงกลาง ซึ่งที่วางนี้มีความเปนสวนตัวมากขึ้น แมทางเดินสาธารณะจะอยูใกลๆ ก็ตาม และจะมีรั้วเล็กๆคั่นกลางกอนจะเขามายังลานบาน เปนการบอกคนขางนอกวา นี่คือพื้นที่สวนตัว มิใชสวน นอกจากนี้ ในรายละเอียดของการวางตัวบาน การเยื้องเล็กนอยระหวางบานแตละหลัง ชวยใหภาพที่ออกมาดูนาสนใจ และ เปนการเพิ่มชองแสงใหกับพื้นที่ภายในบาน ที่ถึงแมวาจะเล็กนอย แตใหผลที่คุมคากับความรูสึกของผูอยูอาศัย

Grouping In the new planning, tourist can come in the community to learn theold life style. So it can effect to privacy. We solve that problem by groupedthe house to have some interior space before use these group onto themaster plan. The interior space is like old Siam house style, it increase privacyspace for community. Before go in the space, there is a small wall to warnother knows this is not the public space. The plan of each house in the group zigzags a little bit to makesome gap between houses. It let light come in and make the image of groupmore interesting.

การจัดกลุมบาน

ภาพประกอบที่ 3.57 ลักษณะตัวอยางของการจัดกลุมบาน Figure 3.57 House Grouping

59

Page 61: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

3. แผนชุมชน (COMMUNITY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

3.7 ความเปนไปไดของโครงการ

ทั้งในแงของเศรษฐกิจและสังคมการพยายามเก็บความเปนชุมชนเดิมไดมากเทาไร ยิ่งจะสรางประสิทธิภาพใหกับโครงการไดมากยิ่งขึ้น ซึ่งดีกวาการทําใหมทั้งหมด โดยนาจะทําใหบรรลุความตองการไดดวยขอเสนอแนะดังตอไปนี้ การใชวัสดุเดิมที่มีอยู ซึ่งปจจุบับบานสวนใหญทําดวยไมซึ่งเราสามารถนํากลับมาใชไดอีกครั้ง เพราะนอกจากจะประหยัดทุนแลวยังสามารถเก็บความเปนไมเกา ชุมชนเกาและสัดสวนเกิมไว ซึ่งยอมใหบรรยากาศที่ดีกวาการใชไมใหมและทางน้ํายาเคลือบเงาใหม แรงงานชาวบาน ไมเปนวัสดุที่กอสรางไดหลากหลายวิธีและงายกวาการใชวัสดุ อีกทั้งชาวบานมีความชํานาญทางการใชอยูแลว ทําใหลดราคาคาจางแรงงานไดสมัยใหมที่ตองการความรูความเขาใจในตัววัสดุ และมี เทคโนโลยีของมันเอง การทําเปนชวง คงเปนเรื่องยากที่จะยายชุมชนทั้งหมดออกเพื่อการกอสราง ดังนั้นสามารถแยกทําเปนสวนๆแลวยายชาวบานมาอยูดวยกันตรงสวนที่ยังไมไดทํา

3.7 The Possibility and Phrasing of Project Keep existing buildings as much as we can; it would help both economic issue and efficiency to the project. Use existing materials: most of existing house is wood so it can reuse in the new house and give batter look than the new wood with lacquer. Worker is people in community: most of villager has skill of using wood; it can reduce the labor cost. Build path by path: It hard to build all in the same time. So they can build in some path and move people to the other path until finish.

60

Page 62: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

4.เรื่องที่เกี่ยวของ IMPLICATION

61

Page 63: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

4.เรื่องที่เกี่ยวของ (IMPLICATIONS)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

2. IMPLICATIONS [I will expand on each of these points with a couple of sentences of description for each] There are a number of issues I see here:

• conflicting views of history (is it artefacts alone or people) – the fact that this conflict between the city administration and the community arose is, in part, a testament to the conflicting views of what we mean by history. For the city administration it would appear to be more focussed on buildings or physical infrastructure. For the community it is more focussed on the life of the people in the city and its continuity. The building are, in that case, a backdrop or stage set for the living history. As mentioned earlier, it is this sense of history that makes Venice so vibrant. Our approach to the design favours the people over the buildings.

• conflicting views of the process of development (how decisions are made and who makes them) – one of the reasons this conflict came about stems from development methodology. Similar problems occurred in most Western cities in the late 50s and early 60s with top-down planning. The rise of advocacy planning and community planning has begun to reduce those conflicts in a longer but more sensitive process of development.

• conflicting views about the beneficiaries of development (are we doing this simply for tourism?) – It would appear that both the city administration and the community are in favour of improvements to tourism. However, it is not tourism that should drive the design. It is the people who make use of the space everyday. Here, I mean not only the community but all the residents of Bangkok. As an additional benefit, this design is far more satisfying for tourists as well.

• conflicting views about parks and how they work (pre- and post-Jane Jacobs) – one of the difficulties faced by any park proposal in this site is that it is obscured by the wall. How does anyone find it? Jacobs, in her study of parks, pointed out the importance of diversity. There must be more happening than just the open space itself. Certainly the pier is one element, but what we suggest is that the commercial activity (the selling of crafts in this case) improves the use of the park. Because this other activity brings in people, there is a far greater opportunity of the park’s success.

• the more basic conflict between green and brown issues - parks or housing? Must it be that kind of choice? – We believe that this conflict is critical. It must be resolved. That is to say, it is not an either/or choice. It must be a both/and choice. More and more we see the untenability of choosing one over the other. This project can provide a vehicle for rethinking how we can resolve this conflict.

• how we understand the concept of sustainability – the resolution of these green/brown conflicts is one of the central issues of sustainability. However, it is not the only one. There is an opportunity here to see the relationship between preservation, economic development, tourism and sustainability.

• how we understand human rights and the right to the city – we believe that the poor have an equal right to access to the services and economic benefits of urban life. How can these rights be honoured? This community has offered some useful answers to that question.

• the opportunity to provide an example for appropriate development.- all of the above issues, if considered meaningfully, can lead us to a far more appropriate approach to development. In training future planners/developers/designers this can be an important pedagogical tool as well.

62

Page 64: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

5.บทสรุป CONCLUSION

63

Page 65: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 Mahakarn Fort Community 5. บทสรุป (CONCLUSION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

เราเชื่อวาแบบและแนวความคิดที่นําเสนอนี้ไดคํานึงถึงประเด็นตางๆมากมายดังที่เห็นโครงสรางของรายงานนี้ ประเด็นที่สําคัญที่เราเล็งเห็นก็ คือ 1. ตัวชุมชนปอมมหากาฬเปนชุมชนเกาแกที่มีความสําคัญและเปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรของเกาะรัตนโกสินทร ซึ่งดวยตัวชุมชนเองก็มีศักยภาพในการดึงดูดนักทองเที่ยว 2. สิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งในการเปดมุมมองจากสวนและที่โลงตางๆไปสูภูเขาทอง ใหเกิดความหลากหลายและนาสนใจ 3. ตัวกําแพงและปอมเองก็มีความสําคัญทางประวัติศาสตรและบอกเลาเรื่อราวมากมาย ดังนั้นทางดานทิศใตของกําแพงที่มองเห็นเปน อิฐควรเก็บเอาไวบอกเลาเรื่องราวในอดีต จากการศึกษาแนวทางในการพัฒนาสวนในแนวทางใหม เพื่อที่จะรองรับทั้งความตองการของรัฐบาลตามแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 ที่มุงเนนการสงเสริมใหชุมชนอยูไดอยางเขมแข็งแลว ยังคํานึงถึงความตองการของชุมชนเองดวย ทั้งนี้เพื่อใหชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและยังประโยชนแกสวนรวม เพราะชุมชนสามารถอยูรวมกับสวนได เพื่อนําเสนอแนวความคิดใหมนี้แก กรุงเทพมหานคร. ในการขอแบงปนที่ดินแกชุมชน ซึ่งตามประกาศการรื้อถอนโดยกรุงเทพมหานครจะมีขึ้นหลังจากวันที่ 24 มกราคม 2546 เปนตนไป คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดเขามาใหการชวยเหลือชุมชนโดยเปนตัวกลางในการตกลงระหวางชุมชนและ กทม.โดยจัดการประชุมทั้งหมด 2 ครั้ง คือ การประชุมครั้งที่ 10/2546 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2546 และครั้งที่ 12/2546วันที่ 4 มีนาคม 2546 ซึ่งครั้งนี้คณะนักศึกษาไดเขารวมการประชุมเพื่อเสนอแนวทางในเชิงวิชาการ ความรวมมือจากสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ อนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ อันเปนองคกรอิสระ จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย 2540 มาตรา199 และ200 มีหนาที่หลักในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเวนการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเสนอมาตรการการแกไขที่เหมาะสมกับบุคคลและหนวยงานที่เกี่ยวของ จาก

There are many issues that this report mentions about. The interesting point that we can conclude that are as following, 1.Pommahakarn Community is the historical community. It’s a part of Rathanakosin life. Beside that this community also have a potential to support the tourism. 2. The important thing that can create more interesting visual to the golden mountain is the variation of view from community and another open space to the Golden mountain 3.the wall and battlement are very important to the historical element that can tell many stories from the history to the present which we should to keep as it always be. From the study for the new concept of community and park that have the objective to compromise between BMA and community need. According to the national economic and social policy 9th which have a objective to concentrate on the developing that encourage the local and community economic stability. That support the idea that Community can live with the park. The eviction date was order by court on 24th January 2003 So the National Human right Commission Of Thailand come to help community on process of negotiation with BMA byy arrange ht econferenceOn 20th Feburary 2003 and the second time on 4th March 2003 which is the conference between Governor, Human right commission, Educator, Community reader, NGO, and the press The Office of The National Human rights Commission of Thailand The committee of The Office of The National Human rights Commission of Thailand is and independent organization establish according to the constitution of Thailand 2540. The responsibility of this organization are inspect and report the action which violate the human right of another also purpose the appropriate method to solve the problem between personal or organization According to the clause 56 community have right to participate with development so The committee of The Office of The National Human rights Commission of Thailand ask for BMA to extent the eviction date until the Government pronounce the agreement.

ภาพประกอบที่5.1 นักศึกษาสถาปตยกรรมนําเสนอแนวคิดใหมที่สวนกับชุมชนสามารถอยู รวมกันได Figure5.1 Architecture students and team of Kmutt present the new

ภาพประกอบที่ 5.2 ผูสื่อขาวและหนวยงานอิสระ เขารวมประชุม Figure 5.2 The Press and Ngo come to the conference

64

Page 66: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 Mahakarn Fort Community 5. บทสรุป (CONCLUSION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

เหตุการณความเดือดรอนที่ชาวบานชาวชุมชนปอมมหากาฬไดรับจากการที่ กรุงเทพมหานคร จะปรับปรุงพื้นที่เปนสวนสาธารณะ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติไดจัดประชุมเพื่อรับฟงขอเท็จจริง และหาแนวทางการแกปญหาอยางสันติวิธี บนพื้นฐานของการเคารพศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลยอมไดรับการคุมครอง มาตรา 46 บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากการใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมบูรณและยั่งยืน และมาตรา 56 กระบวนการมีสวนรวมของชุมชนที่เกี่ยวของกับโครงการอยางแทจริง ดังนั้นจากการประชุมคณะอนุกรรมการฯ เห็นควรเสนอแนวทางการแกปญหาที่อยูอาศัยชาวปอมมหากาฬ เพื่อขอมติจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เนื่องจาก ทางกรุงเทพมหานครไมสามารถตัดสินใจไดเพราะเปนเรื่องของนโยบาย กรุงเทพมหานครสามารถดําเนินการไดในเรื่องของกฎหมายเทานั้น ดังนั้นการเสนอแนวทางการแบงสันที่ดิน(Land

Sharing) ตองเสนอเขาคระรัฐมนตรีเปนผูพิจารณาและแกไขที่ตัวนโยบาย ดังนั้น คณะอนุกรรมการฯ จึงขอความกรุณาจากทางกรุงเทพมหานครใหชะลอการรื้อยายชุมชนไประยะหนึ่งกอน จนกวาจะมีมติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีในเรื่องดังกลาว ซึ่งคณะกรรมการฯจะเปนฝายดําเนินการในสวนของการยื่นหนังสือกับรัฐบาลและประสานงานตอไป ในการประชุมเรื่องการไกลเกลี่ยกรณีพิพาทการรื้อยายชุมชนปอมมหากาฬ เขตมหานคร กรุงเทพฯ โดยสํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เมื่อวันอังคารที่ 4 มีนาคม 2546 เวลา 13.00-16.00 น. มีหลายหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของและใหความสนใจเขารวมประชุมเพื่อหาแนวทางการแกไขรวมกัน ดังนี้ ผูประชุม 1 นายวสันต พานิช ประธานคณะอนุกรรมการ 2 นางสาวอาภร วงสังข อนุกรรมการ 3.นางสาวลดาพร เผาเหลืองทอง อนุกรรมการและเลขานุการ 4.นายพิทักษ เกิดหอม อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ 5.นายเอกชัย ปนแกว อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ

The list of Parties in conference The National Human rights Commission Mr.Wasan Panich committee Ms.Arporn Wongsong committee Ms.Ladaporn Paolearngpan committee Mr.Anuruk Krinhom committee Mr.Eakachai Pinkaew committee Mr.Panom Patkun officer Ms.Nalinee Srikasikun Secretary

Pommahakarn Fort Community NGO The representative from communities The Representative from community union The Human right of resident union Thai foundation CODI The Ministry of Social Develop and the Secure of Human Mr.Jarupong Reangsuwan Vise deputy BMA Mr.Winai Limsakuntong Director of civil engineer

Department. Mr.Sukchai Boonma Officer Mr.chumpon Limtrakun Officer Ms.Sukarnya Boonprasert Director of coordinate and Develop section Mr.Sutichai Werawong Community Developer NHA (National Housing Association) Mr.Somsuk Chaipanukiet Vise director of community

Sectors Mr. Sinchai Boonpak Architect Ms.Chalermluk Pichetkorn Officer Ms.Suchanya Kutchaptan Developer Educator and Institution Mr.Puchong Senanooch Huacheal University Mr.Graeme Bristol Chairman of School of

Architecture and design, Kmutt Mr.Pongput Aursungkomset Architecture student Kmutt Mr.Krisana Kunvaja Architecture student Kmutt Ms.Veereeya Wanneevechasilp Architecture student Kmutt Mr.Marut Nirutiruk Architecture student Kmutt Press Mr.Pongpol Sarnsamark Reporter Mr.Chartip Suwantong Reporter Bangkok bussiness

ภาพประกอบที่ 5.3 เจาหนาที่กรุงเทพมหานครในการประชุม ยืยยัยการยายออกของชุมชนFigure 5.3 BMA Officer in Conference persist that Community must

move out

65

Page 67: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 Mahakarn Fort Community 5. บทสรุป (CONCLUSION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

ผูเขารวมประชุม สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 1. นายพนม แพทยคุณ เจาหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน 2 นางสาวนาลินี ศรีกสิกุล เลขานุการกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดัวแทนชุมชนปอมมหากาฬ นายธวัชชัย วรมหาคุณ กรรมการชุมชน และคณะฯ ผูแทนเครือขายชุมชนเมือง คณะทํางานเครือขายสิทธิที่อยูอาศัย 1.นางประจวบ แซสง 2.นางสําลี ศรีระพุก นางสุปราณี แกวเกตุ นางสมศรี สายทอง เครือขายพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดสอมคูคลอง นายสมชาย นาคเทียม มูลนิธิชุมชนไท นายนิพนธ กลิ่นวิชิต สถาปนิกอาวุโส นางประดา คงแปน เลขาธิการ ผูแทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย นายจารุพงษ เรืองสุวรรณ รองปลัดประทรวงฯ ผูแทนกรุงเทพมหานคร นายวินัย ลิ่มสกุล ผูอํานวยการกองรังวัดและจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน

สํานักการโยธา กทม. นายศักดิ์ชัย บุญมา หัวหนาฝายจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน นายชุมพล ลิ่มตระกูล เจาหนาที่ดิน 4 กองรังวัดฯ นางสาวสุกัญญา บุญประเสริฐ หัวหนาฝายประสานและพัฒนา สํานักการ

โยธา กทม. นายสุทธิวุฒิ วีระวงศ นักพัฒนาชุมชน สํานักการโยธา กรุงเทพฯ ผูแทนสํานักงานเขตพระนคร นายโกสิน เทศวงศ ผูอํานวยการเขตพระนคร ผูแทนการเคหะแหงชาต ินายโกศล ทองนวคุณ พนักงานจัดการทรัพยสิน 7

The conclusion of each organization to respond after the conference 1.The Office of National Human Right Commission of Thailand -Report to BMA for extension of time for community eviction -Report the opinion to the Government 2.BMA BMA will back to have a conference again for answer 3.The Pommahakarn Community The Pommahakarn Community prepare the community development proposal 4.The Ministry of Social Develop and the Secure of Human 1. “Ban Munkong” Project by CODI support the foundation for poor community for develops own community by land sharing encourage the community to have a participation in new development. 2. “Ban Eua R torn” Project by NHA purpose a new land for community which must be the highrese resident if community want to live near the old place which not appropriate with the activity of this community because their occupation need the horizontal space such as make a birdcage 5.NGO Purpose Pommahakarn in the new project of Tradionak and cultural community develop There is a great opportunity here to develop new ways of dealing with the development of the city. We see a trend in that direction, certainly with the Humanize Bangkok report. However, although the Humanize Bangkok report talks about inclusion of all residents in the process of development, it does not really talk about the process itself. We believe this too is important. Here, I think, educational institutions must put their efforts forward to work with city officials in expanding these opportunities. We see this design process as a tentative start in that direction – one that offers benefits to all sides in the development process.

66

Page 68: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 Mahakarn Fort Community 5. บทสรุป (CONCLUSION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

นายสมศักดิ์ ชัยพานุเกียรติ รองผูอํานวยการกองสงเสริมความมั่นคงการ

อยูอาศัย นายสินธุชัย บุญปกษ สถาปนิก นางสาวเฉลิมรัก พิเชษฐกร เจาหนาที่บริหารงานพัฒนาชุมชน นางสาวสุชัญญา กัจฉัปทันทน นักพัฒนาชุมชน 5 ผูแทนสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) นางสาวกนิษฐา ปรีชาพีชคุปต เจาหนาที่บริหารอาวุโส ผูแทนนักวิชาการ นักวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน นายภุชงค เสนานุช อาจารยมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ Mr.Graeme Bristol อาจารยคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) นายพงศภัทร เอื้อสังคมเศรษฐ นักศึกษา มจธ. นายกฤษณะ คุณวาจา นักศึกษา มจธ. นางสาววีรียา วรรณีเวชศิลป นักศึกษา มจธ. นายมารุต นิรุติรักษ นักศึกษา มจธ. สื่อมวลชน นายปองพล สารสมัคร หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ นายชาธิป สุวรรณทอง หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ(จุดประกาย) จากการประชุมไดขอสรุปจากหนวยงานตางๆเกี่ยวกับภารกิจที่จะตองดําเนินการตอไปดังนี้ 1.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ(The committee of The Office of The National Human rights Commission of Thailand) -ทําหนังสือเสนอความเห็นในแนวทางการแกไขปญหาที่อยูอาศัยเพื่อเสนอยังคณะนายกรัฐมนตรี -แจงผลรายงานการประชุมไปยังสวนที่เกี่ยวของ รวมถึงทําหนังสือขอชะลอการรื้อยายชุมชนปอมมหาหาฬไปชั่วคราวจนกวาจะมีมติของคณะรัฐมนตรีเรื่องการจัดทําโครงการ “บานมั่นคง”

67

Page 69: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค.46/ 29march03 Mahakarn Fort Community 5. บทสรุป (CONCLUSION)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi

2.กรุงเทพมหานคร (BMA) ผูแทน กทม.จะเสนอเรื่องขอชะลอการรื้อยายกับผูบริหารของกรุงเทพมหานคร ซึ่งผูมีอํานาจในการตัดสินใจ คือ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ประธานสภากรุงเทพมหานคร และปลัดกรุงเทพมหานคร 3.ชาวชุมชนปอมมหากาฬ (The Pommahakarn Community) -ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาชุมชนโดยยึดหลักเบื้องตนในการขอแบงปนที่ดินในการอยูอาศัย ทั้งนี้หากคณะรัฐมนตรีมีมติตามขอเสนอ หนวยงานตางๆไดเสนอแนวทางในการแกปญหา ดังนี้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย 1.โครงการ “บานมั่นคง” โดย สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) จะสนับสนุนการจัดเตรียมความพรอมของชุมชนในการขอใชสินเชื่อสําหรับคนจนเมือง ในการพัฒนาที่อยูอาศัย โดยชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาในที่ดินเมทุกขั้นตอน โดยยึดหลักเบื้องตนขอแบงปนที่อยูอาศัย (Land Sharing) 2. โครงการบานเอื้ออาทร โดยการเคหะแหงชาติ ใหขอเสนอการเลือกที่อยูในพื้นที่ใหม ซึ่งหากเปนพื้นที่ใกลแหลงอาชีพเดิม จะเปนการอาศัยในอาคารสูงซึ่งมีผลกระทบกับวิถีชีวิตของชุมชนดั้งเดิม ที่มีความจําเปนตองใชพื้นที่ในแนวราบ เชน การเลี้ยงไก ทํากรงนก หรือทําเครื่องปนดินเผา มูลนิธิชุมชนไท ใหขอเสนอในการจัดทําโครงการการอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม โดยมีสวนรวมขององคกรชุมชนตนแบบ การอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมโดยความรวมมือของDANIDAประเทศเดนมารก สํานักงานนโยบายและแผยพัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดลอม(สผ.) สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน และมูลนิธิชุมชนไท นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนการทํางานจากสถาปนิกชุมชน โดยอาจารยและนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ในดานวิชาการ ซึ่งหลังจากการประชุมในวาระนี้ ชาวบานชุมชนปอมไดทําการประชุมวางแผนในการรับมือกับ กทม. ในเรื่องการรื้อยายชุมชน เนื่องจาก กทม.ยังคงไมใหคําตอบที่เปนทางการวาจะทําการชะลอวันรื้อถอนใหกับชุมชน ซึ่งชาวบานเตรียมตัวในการเปดเวทีประชาวิจารณเพื่อใหสาธารณะชนรับรูถึงปญหา และยังอยูในระหวางการดําเนินการ

อยู โดยไดรับความชวยเหลือจากเครือขายชุมชนปริมนฑล และชุมชนสี่ภาค และยังคงรอมติของรัฐบาลอยู

68

Page 70: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

6.ดรรชนี APPENDIX

70

Page 71: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Occupations

Sex

Schools โรงเรียนที่เด็กเรียน

Graphs show the static of community แผนภูมิแสดงขอมูลชุมชนปอมมหากาฬ

คาขาย

รับจาง

นักเรียน

รับราชการ

วางงาน

อื่นๆ

ชาย

หญิง

เทศบาลสตรีวิทยาศุภมาศวิทยาคมวัดปรินายกวัดบวรนิเวศวัดราชนัดดาวัดมุงกุฏกษัตยารามวัดพลับพลาชัยวัดโสมนัสสวนดุสิตราชภัฏบานสมเด็จรัตนโกสินทรสมโภชพ.ต.พเทคโนโชติเวชภารดาวิทยาลัยกรุงเทพการบัญชีสวนสุนันทารามคําแหงอื่นๆ

อาชีพ

เพศ

Merchant

freelance

Students

Officer

No job

Various

From chart : student 25% Freelance 25% Merchant 20% No job 23% Officer 7% and Various 10%

From the chart show ratio between gender (male 55% female 45%)

Male

Female

71

Page 72: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

INCOME & Expenses รายรับรายจาย

Religious

พุทธ

อิสลาม

คริสต

รายรับชุมชน

คาน้ํา

คาไฟฟา

คาใชจาย

ศาสนา

income

Water supply

Electrical

Various

72

Page 73: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Conference at CODI (First meeting)

-Morning conference-

Organization: CODI There are 30 province from all of part of Thailand joint in this project. The Governor of each province has a position as a leader of project. CODI will only the backer to cooperate the project. The problem CODI face is many of organization try to develop in their own strategies so confusion occurs. The president of conference suggests that activity and participation between community and officer is very important but now the process of work lack of the group who action in participation and activity. The problem CODI focus on - Right of land ownership. - Squalid.

- Quality of Health.

-Interview with group of architect- The project has 2 kind as following,

1.) Project which corporate with NGO 2.) Project without NGO 1.) NGO give a project to architect to design a new planning of community. This kind have a high

possibility to be the real project 2.) No NGO so architect observe the community by themselves then make a decision to choose

community to develop. The criteria that they use are -choose the community that have most problem especially the fire.

-The community that effect to the policy. -The communities that need help from architect and ready to change their community.

The budget that use in project have 2 organization -NHA respond for a planning and facility -CODI respond in project of saving asset and give a fund 100,000 Bath for each community.

The strategies they used are participating with people in community. Let's them to participate in

design and mapping.

The new way to solving slum problems. The community and local are the center of management. 1. Community and their network is the owner of project and working with local office. 2. Change the way of doing project from organization working becomes the local community

working.(Demand driven) 3. Let's community manage their financial by (fund from each house limitation x number of house) and use

that money to develop by themselves. 4. Let's community can learn to manage their village by let them join along the development process. 5. Community can create the plan and choose the organization that they want to be backer. 6. Link the sustainable planning into the community plan. 7. Use the urban development to use the land and environment to the max benefit. 8. Set the national committee consists of community agents and related organizations to make policy

directed work and consider the projects.

Summary of meeting at the National Human Rights Commission. Attending:

Representatives of the Bangkok Metropolitan Administration Important positions: • Chairman of the BMA • Permanent Secretary of the BMA • Rights-of-way & Land Acquisition

Division • Director of Public Works Department • Phra Nakhon District Office Director

173 Thanon Dinso Phranakhon District Bangkok 10200 www.bma.go.th tel: 02-221-2149

Representative of the Governor of Bangkok (Mr. Samak Sundararej)

Same address

Representative of the National Housing Authority

905 Nawamin Rd.\ Kholong Chan Bangkapi Bangkok 10240

Members of the Pommahakan community KMUTT architecture students and faculty CODI members

73

Page 74: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

CODI : How to finding fund.

The way to present the project

Commu

Commu

Commu

Commu

Network

NHA

CODI

Local

Other government organization

NGOs

Individual

Give

Present thedevelopment plan

Board govern

(5% to the office) Choice 1

74

Page 75: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Choice 2

NHA

CODI

Local

Other government organization

NGOs

Individual

Board govern

Networ

Local d l

Municipali

Technician

Profession

Commu

Commu CommuCommu

Do by themselves Hire some contractor Hire organization

Present thedevelopment plan

Give budget

75

Page 76: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

กฎหมายที่เกี่ยวของในการออกแบบ (Law and Regulation) การควบคุมตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 414 (2542) ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง เรื่องการเวนระยะยนจากบริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยาและริมคูคลอง ตามแนวขนานริมฝงคลอง -ใหมีที่วางตามแนวขนานริมฝงคลองไมนอยกวา 6 ม. เวนแตเปนการสรางเพื่อการคมนาคมทางน้ํา การสาธารณูปโภค ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง กฎหมายควบคุมอาคาร 2544 -ขอ 47 บานแถวที่ไมอยูริมทางสาธารณะ ตองมีดานหนาใชรวมกันกวางไมนอยกวา 6 ม. สิ่งปลูกสราง 7ชนิดที่สามารถรุกล้ํานานน้ําได (โดยกรมเจาทาฯ) 1.ทาเทียบเรือ 2.สะพานปรับระดับหรือโปะ 3.สะพาน 4.ทอ สายเคเบิล 5.เขื่อนกั้นน้ํา 6.คานเรือ 7.โรงสูบน้ํา

Law and Regulation According to the City planning law and regulation clause. 414 (2000) About setback from riverside and canal The area along the canal -Must setback from the canal not less than 6 m. BMA code 2544 -Clause 47 row of house that not attach to the public must have a sharing space between each row not less than 6 m. Types of building and river intruded structure that can be acceptable (Habour authority) 1. Port 2. Pier 3. Bridge 4. Pipe or cable 5. Embankment 6. Boat beam 7. Water supply station

76

Page 77: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ขาว NEWS

ภาพประกอบที่ 5.1 ภาพขาวที่ลงหนังสือพิมพคมชัดลึก กทม.ยังยืนยันใหชุมชนยายออก Figure 5.1 news on newspaper 24July02 :BMA Persist the park project and community must move out

ภาพประกอบที่ 5.2 ชุมชนปอมฯของแบงปนที่ดิน 1ซ3 ของสวนแต กทมปฏิเสธขอเสนอ Figure5.2 Pommahakarn community present the land sharing 1:3

of park area ro BMA but BMA refuse. (30 Aug.02)

ภาพประกอบที่5.3 ชาวปอมฯ ของ แบงปนที่ดินเพราะที่อยูใหมที่ กทม. เสนอไกลจากแหลงทํากินมาก Figure 5.3 Community face to the problem with the new land, which BMA propose to them. They claim that the new land lack of facility job. So they ask BMA for land sharing. (25Aug.03)

ภาพประกอบที่ 5.4 กทม.ทุมงบ18ลานบาทเพื่อพัฒนาสวนสาธารณะ แตชุมชนไมยอมยายออก Figure 5.4 BMA Estimate 18 Million Baht for develop the park but The community refuse to move out.

77

Page 78: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03

Mahakarn Fort Community 6. ดรรชนี APPENDIX

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

ขาว ไอทีวี ITV News แกอากาศเมื่อ :20 มกราคม 46 On Air : 20 Jan 03

หัวหนาชุมชนกลาวถึงแผนการขอบแบงปนที่ดินกับ กทม. Community leader talk about land sharing

ไอทีวี นําเสนอบทสัมภาษณความรูสึกของชาวบานในชุมชนปอมที่ถูกคําสั่งรื้อถอน ITV. interview people in community about their feeling after BMA give a Eviction order from the court

เธออาศัยมา 70 ปแลว ไมรูวาจะไปอยูที่ไหน เพราะคาขายอยูแถวนี้ดวย ไมมีเงินหาที่อยูใหม She live here for 70 years. She have no money to move out and she work 70 year on this area.

เธอไมรูวายายไปแลวจะหาเงินจากไหนสงเสียหลานที่เรียนอยูแถวนี้ เพราะอาชีพอยูแถวนี้เชนกัน She still have know idea how to earn family because she work here and her children study at school opposite this community.

เธอไมอยากยายออกเพราะที่นี้เหมือนบานที่อยูมานาน อาชีพและอนาคตฝากไวกับที่นี่ She don’t want to move from her home and her community will break apart.

ภาพสถาปตยกรรมในชุมชนที่ชางถายภาพมองเห็นถึงคุณคาและความนาสนใจจึงถายทอดผานมาทางภาพ Architectural detail that camera man notice of it value and present through VDO

78

Page 79: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

7.บรรณานุกรม BIBLIOGRAPHY

79

Page 80: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

7. บรรณานุกรม(BIBLOGRAPHY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Bangkok Metropolitan Administration (BMA). Humanize Bangkok Report. Bangkok: BMA, 1998. JACOBS, Jane. The Death and Life of the Great American City. New York: Vintage Books, 1961. www.pps.org/gps/ Landscape : New Concept in Architecture & Design (p.69) By Shunsaky Miyagi 1996 Meisei Publilcation Contemporary Trends in Landscape Architecture (p.51) By Steven L. Cantor 1997 ITP publication

80

Page 81: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

7. บรรณานุกรม(BIBLOGRAPHY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi

Page 82: Pom Mahakan-Student Report

ชุมชนปอมมหากาฬ 29 มี.ค. 46/29March 03 Mahakarn Fort Community

7. บรรณานุกรม(BIBLOGRAPHY)

คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

School of Architecture & Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi Thonburi