pmdis ร่วมกับ spacer ระหว่างชนิดpiyarat pridiyanon...

85
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยา และ ความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ป่ วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer หรือ DIY (Do-It-Yourself) spacer กับ AeroChamber บทนํา: ผู้ป่วยเด็กที่ต้องใช้ยาพ่นประเภท PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs) ควรใช้ร่วมกับ Spacer เพื่อให้พ่นยาได้ง่ายขึ ้น และเพิ่มปริมาณยาการตกสะสมของยา แต่ spacer ชนิดที่มีลิ้นและ หน้ากากที่แนบหน้ามีราคาค่อนข้างสูง จึงได้มีการผลิต spacer ขึ ้นมาเองเรียกว่า TU Spacer (DIY Spacer) ที่สามารถทําเองได้และราคาถูกกว่า 30 เท่า ซึ ่งได้รับรางวัลจากการประกวดประเภท นวัตกรรมทั ้งใน และต่างประเทศ แต่ยังไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบถึงประสิทธิผลของ spacer วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาถึงระดับการควบคุมโรคของผู้ป ่ วยโรคหืด ความร่วมมือในการใช้ยา และ ความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIsร่วมกับ Spacer โดยเปรียบเทียบ ระหว่างกลุ่มผู้ใช้ DIY Spacer กับกลุ่มผู้ใช้ AeroChamber วิธีการศึกษา: วิจัยเชิงทดลองแบบข้าม (Cross Over Experimental Study)ใช้กลุ่มวิจัยเดียวกันจํานวน 30 คน แต่แบ่งเป็นช่วงที่ใช้ยาร ่วมกับ DIY Spacer และช่วงที่ใช้ยาร ่วมกับ AeroChamber กลุ่มวิจัย เป็นผู้ป่วยเด็กโรคหืด อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ6 ปี ที่รับการรักษาที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ด้วย ยากลุ่ม ICS หรือICS+LABA ประเภท (pMDIs) ใช้ร่วมกับ spacer ชนิด โดยตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยสุ่มกลุ่มละ 15 คน กลุ่มแรกใช้ AeroChamber ก่อน แล้วสลับมาใช้ DIY Spacer กลุ่มสองจะใช้ DIY Spacer ก่อน แล้วสลับมาใช้ AeroChamberโดยใช้ spacer ทั ้ง 2 ชนิดเป็นเวลา 2 เดือน ทั ้งหมด ถูกประเมินผลทุก 1 เดือน ผลการศึกษา: ระดับการควบคุมโรคของผู้ป่วยโรคหืด ระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้กระบอกกักยา DIY Spacer กับ Aerochamber ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที0.05 (วิเคราะห์ด้วยสถิติ McNemar Test ระหว่างผู้ป่วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ควบคุมได้ (กลุ่มที่ควบคุมได้ + กลุ่มที่ควบคุมได้ บางส่วน) และกลุ่มที่ควบคุมไม่ได้ ดังภาพต่อไปนี ภาพแสดง ระดับการควบคุมโรคระหว่าง 2 กลุ ่มติดตาม 2 ครั ้งทุก 1 เดือน

Upload: others

Post on 01-Feb-2021

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • โครงการวจัิย เร่ือง การศึกษาเปรียบเทยีบประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยา และความพงึพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIs ร่วมกบั Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer หรือ DIY (Do-It-Yourself) spacer กบั AeroChamber บทนํา: ผูป่้วยเด็กท่ีตอ้งใชย้าพ่นประเภท PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs) ควรใชร่้วมกบั Spacer เพื่อใหพ้่นยาไดง่้ายข้ึน และเพิ่มปริมาณยาการตกสะสมของยา แต่ spacer ชนิดท่ีมีล้ินและหนา้กากท่ีแนบหนา้มีราคาค่อนขา้งสูง จึงไดมี้การผลิต spacer ข้ึนมาเองเรียกว่า TU Spacer (DIY Spacer) ท่ีสามารถทาํเองไดแ้ละราคาถูกกว่า 30 เท่า ซ่ึงไดรั้บรางวลัจากการประกวดประเภทนวตักรรมทั้งใน และต่างประเทศ แต่ยงัไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบถึงประสิทธิผลของ spacer วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาถึงระดบัการควบคุมโรคของผูป่้วยโรคหืด ความร่วมมือในการใชย้า และความพึงพอใจของผูดู้แลผูป่้วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIsร่วมกบั Spacer โดยเปรียบเทียบระหวา่งกลุ่มผูใ้ช ้DIY Spacer กบักลุ่มผูใ้ช ้AeroChamber วิธีการศึกษา: วิจยัเชิงทดลองแบบขา้ม (Cross Over Experimental Study)ใชก้ลุ่มวิจยัเดียวกนัจาํนวน 30 คน แต่แบ่งเป็นช่วงท่ีใชย้าร่วมกบั DIY Spacer และช่วงท่ีใชย้าร่วมกบั AeroChamber กลุ่มวิจยัเป็นผูป่้วยเด็กโรคหืด อายุนอ้ยกว่าหรือเท่ากบั6 ปีท่ีรับการรักษาท่ีโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ดว้ยยากลุ่ม ICS หรือICS+LABA ประเภท (pMDIs) ใชร่้วมกบั spacer ชนิด โดยตวัอยา่งแบ่งเป็น 2 กลุ่มโดยสุ่มกลุ่มละ 15 คน กลุ่มแรกใช ้AeroChamber ก่อน แลว้สลบัมาใช ้DIY Spacer กลุ่มสองจะใช ้DIY Spacer ก่อน แลว้สลบัมาใช ้ AeroChamberโดยใช ้ spacer ทั้ง 2 ชนิดเป็นเวลา 2 เดือน ทั้งหมดถูกประเมินผลทุก 1 เดือน ผลการศึกษา: ระดบัการควบคุมโรคของผูป่้วยโรคหืด ระหว่างกลุ่มผูป่้วยท่ีใชก้ระบอกกกัยา DIY Spacer กบั Aerochamber ไม่แตกต่างกนัอย่างมีนัยสาํคญัทางสถิติท่ี 0.05 (วิเคราะห์ดว้ยสถิติ McNemar Test ระหว่างผูป่้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มท่ีควบคุมได ้(กลุ่มท่ีควบคุมได ้+ กลุ่มท่ีควบคุมได้บางส่วน) และกลุ่มท่ีควบคุมไม่ได ้ดงัภาพต่อไปน้ี ภาพแสดง ระดับการควบคุมโรคระหว่าง 2 กลุ่มติดตาม 2 คร้ังทุก 1 เดือน

  • ความร่วมมือในการใชย้าตาม ของผูป่้วยเด็กโรคหืด ระหว่างกลุ่มผูป่้วยท่ีใชก้ระบอกกกัยา DIY Spacer กบั Aerochamber ไม่แตกต่างกนัอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ี 0.05 (วิเคราะห์ดว้ยสถิติ Wilcoxon signed ranks Test) ดงัภาพต่อไปน้ี

    ภาพแสดง ค่าเฉลีย่คะแนนความร่วมมือในการใช้ยาระหว่าง 2 กลุ่ม ติดตาม 2 คร้ังทุก 1 เดือน

    ความถูกต้องของเทคนิคการสูดพ่นยา ของผูป่้วยเด็กโรคหืด ระหว่างกลุ่มผูป่้วยท่ีใช้กระบอกกกัยา DIY Spacer กบั Aerochamber ไม่แตกต่างกนัอย่างมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ี 0.05 (วิเคราะห์ดว้ยสถิติ Wilcoxon signed ranks Test) ดงัภาพต่อไปน้ี ภาพแสดง ค่าเฉลีย่คะแนนความถูกต้องเทคนิคการสูดพ่นยา ระหว่าง 2 กลุ่ม ติดตาม 2 คร้ังทุก 1 เดือน

  • ความพึงพอใจต่อกระบอกกกัยา (Spacer) ทั้งสองแตกต่างกนัอย่างมีนัยสําคญัทางสถิติท่ี0.05 (P=0.000) โดยท่ีความพึงพอใจของ AeroChamber มีค่ามากกว่า และเม่ือเปรียบเทียบความพึงพอใจระหว่าง TU Spacer (DIY Spacer) กบั AeroChamberในแต่ละดา้นพบว่า TU Spacer (DIY Spacer) มีค่าเฉล่ียความพึงพอใจของผูดู้แลนอ้ยท่ีสุดเม่ือเทียบกบั AeroChamber ในดา้นวสัดุอุปกรณ์ท่ีผลิตมีความคงทน ดงัภาพต่อไปน้ี

    ภาพแสดง แผนภูมิแสดงค่าเฉลีย่ความพงึพอใจของผู้ดูแล ต่อประเภทกระบอกกกัยารายด้าน สรุป: การบริหารยาสูดพน่ประเภท pMDIร่วมกบั TU Spacer (DIY Spacer) ในการรักษาผูป่้วยเดก็โรคหืดอายนุอ้ยกวา่หรือเท่ากบั 6 ปีพบวา่มีประสิทธิผลเทียบเท่ากบักระบอกกกัยา AreoChamberในแง่ระดบัการควบคุมโรคของผูป่้วยโรคหืดและความร่วมมือในการใชย้าตามสัง่ และควรเนน้การปรับปรุงวสัดุอุปกรณ์ท่ีผลิตใหมี้ความคงทนมากข้ึน

  • โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกยีรต ิ

    Thammasat University Hospital

    หน่วยงาน ชมรมผู้ ป่วยโรคหืด

    Unit TU Asthma club

    ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

    Fiscal Year 2013

    ปิยรัตน์ ปรีดียานนท์

    Piyarat Pridiyanon

    อรพรรณ โพชนุกูล

    Orapan Poachanukoon

    การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยา และ

    ความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ

    Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer กับ AeroChamber

    Study of the Treatment Effectiveness and the Caregiver’s Drug Compliance and

    the Satisfaction of the pMDI Drug Administration Using the Valved Holding

    Chamber with Mask by Comparing the TU Spacer

    and the AeroChamber

  • โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

    Thammasat University Hospital

    โครงการวิจัยเพือพัฒนางานของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

    Thammasat University Hospital Research Project for Performance Development

    ของ

    Of

    ปิยรัตน์ ปรีดียานนท์

    อรพรรณ โพชนุกูล

    เรือง

    Subject

    การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยา และ

    ความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ Spacer

    ระหว่างชนิด TU Spacer กับ AeroChamber

    Study of the Treatment Effectiveness and the Caregiver’s Drug Compliance and the Satisfaction of the

    pMDI Drug Administration Using the Valved Holding Chamber with Mask by Comparing the TU Spacer

    and the AeroChamber

    ได้ผ่านการตรวจสอบและอนุมัติทุนสนับสนุนจาก

    โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

    Be verified and approved by the Thammasat University Hospital

    ปีงบประมาณ 2556

    Fiscal Year 2013

    เมือวันที 15 ก.พ. 2556

    Date 15th Febuary 2013

    ประธานกรรมการโครงการ Chair of Committee ( )

    ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย มิงมาลัยรักษ์

    ผู ้อํานวยการ Director ( )

    รองศาสตราจารย ์นายแพทยจิ์ตตินัดด ์ หะวานนท ์

  • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยา และ

    ความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ Spacer

    ระหว่างชนิด TU Spacer กับ AeroChamber

    บทนํา: ผู้ป่วยเด็กทีต้องใช้ยาพ่นประเภท PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs) ควรใช้

    ร่วมกับ Spacer เพือให้พ่นยาไดง่้ายขึ นและเพิมปริมาณยาการตกสะสมของยา แต่ spacer ชนิดทีมีลิน

    และหน้ากากทีแนบหน้ามีราคาค่อนข้างสูง จึงได้มีการผลิต spacer ขึ นมาเองเรียกว่า DIY (Do-It-

    Yourself) spacer ทีสามารถทําเองได้และราคาถูกกว่า 30 เท่า แต่ย ังไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบถึง

    ประสิทธิผลของ spacer ทั งสองชนิด

    วัตถุประสงค์: เพือศึกษาถึงระดับการควบคุมโรคของผู ้ป่วยโรคหืด ความร่วมมือในการใช้ยา และ

    ความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ ป่วยเด็กโรคหืด ในการบริหารยา pMDIsร่วมกับ Spacer โดยเปรียบเทียบ

    ระหว่างกลุ่มผู ้ใช้ DIY Spacer กับกลุ่มผู ้ใช้ AeroChamber

    วิธกีารศึกษา: วิจัยเชิงทดลองแบบข้าม (Cross Over Experimental Study)ใช้กลุ่มวิจัยเดียวกันจํานวน

    30 คน แต่แบ่งเป็นช่วงทีใช้ยาร่วมกับ DIY Spacer และช่วงทีใช้ยาร่วมกับ AeroChamber กลุ่มวิจัย

    เป็นผู ้ ป่วยเด็กโรคหืด อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ6 ปีทีรับการรักษาทีโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ ด้วย

    ยากลุ่มICS หรือICS+LABA ประเภท (pMDIs) ใช้ร่วมกับ spacer ชนิด โดยตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม

    โดยสุ่มกลุ่มละ 15 คน กลุ่มแรกใช้ AeroChamberก่อน แล้วสลับมาใช้ DIY Spacer กลุ่มสองจะใช้

    DIY Spacer ก่อน แล้วสลับมาใช้ AeroChamberโดยใช ้spacer ทั ง 2 ชนิดเป็นเวลา 2 เดือน ทั งหมด

    ถูกประเมินผลทุก 1 เดือน

    ผลการศึกษา: ระดับการควบคุมโรคของผู ้ป่วยโรคหืดและ ความร่วมมือในการใช้ยาตามสั งของ

    ผู ้ ป่วยเด็กโรคหืด ระหว่างกลุ่มผู ้ ป่วยทีใช้กระบอกกักยา DIY Spacer กับ AeroChamberไม่แตกต่าง

    กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที 0.05ส่วนความพึงพอใจต่อกระบอกกักยา (Spacer) ทั งสองแตกต่าง

    กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที0.05 (P=0.000) โดยทีความพึงพอใจของAeroChamberมีค่ามากกว่า

    สรุป: การบริหารยาสูดพ่นประเภท pMDIร่วมกับ TU Spacer (DIY Spacer) ในการรักษาผู ้ป่วยเด็ก

    โรคหืดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ6 ปีพบว่ามีประสิทธิผลเทียบเท่ากับกระบอกกักยา AreoChamberใน

    แง่ระดับการควบคุมโรคของผู ้ ป่วยโรคหืดและความร่วมมือในการใช้ยาตามสั ง

    คําสําคัญ: กระบอกกักยา(Spacer) ชนิดทีมีลิ นและหน้ากากทีแนบหน้า, โรคหืด, ยาสูดพ่น

    pressurized metereddose inhaler, TU Spacer, DIY Spacer, กระบอกกักยาทีประดิษฐ์ด้วยตนเอง

  • Study of the Treatment Effectiveness and the Caregiver’s Drug Compliance and the

    Satisfactionof the pMDIDrug Administration Using the Valved Holding Chamber with

    Mask by Comparing the TU Spacer and the AeroChamber.

    Introduction: A pressurized metered-dose inhaler (pMDI) attachedto a valved holding chamber with

    mask has been widely used for delivering pressurized drug aerosol for asthma treatment in young

    children. Although many commercial valved holding chambers with mask are available in the market

    but they are quite expensive or unavailable in some developing countries. TU Spacer (DIY Spacer) is

    a low-cost, do-it-yourself (DIY) plastic bottle with syphon pump which can be used as an alternative

    to the commercial valved holding chamber with mask. The main advantage of TU Spacer (DIY

    Spacer) is that it can be made easily with simple and inexpensive materials found around the house.

    However, there is no scientific study to evaluate its treatment effectiveness.

    Objective: The aim of this study to compare the treatment effectiveness and the caregiver’s drug

    compliance and the satisfaction of the pMDI drug administration between the TU Spacer (DIY

    Spacer) and the AeroChamber.

    Material and methods: A randomized, two-consecutive-month, two-sequence crossover study was

    conducted on 30 child patients with uncontrolled asthma aged less than or equal 6 years who

    received an inhaled therapy using a pMDI attached to a valved holding chamber with mask for the

    first time. The patients were randomly assigned to receive treatment using the pMDI with either a TU

    Spacer (DIY Spacer) or an AeroChamber (15 patients each) as a first spacer for two-consecutive

    months. Afterwards, a crossover treatment was employed in which the patients switched to use

    another spacer for the next two-consecutive months. As a result, each patient would administer each

    spacer for two-consecutive months. The level of control and the caregiver’s drug compliance were

    evaluated every month during the treatments, whereas, the satisfaction of the pMDI drug

    administration was evaluated after each treatment.

    Results: Thecomparing results of the level of control and the caregiver's drug compliance between

    the TU Spacer (DIY Spacer) and AeroChamber were not significantly different (p>0.05). However,

    there were significantly different (p

  • กิตติกรรมประกาศ

    ผู ้วิจัยขอขอบพระคุณ ผู ้อ ํานวยการโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ทีอนุญาต

    ให้เข้าทําการวิจัยในครั งนี ขอขอบคุณแพทย์ และพยาบาลประจําคลินิกโรคภูมิแพ ้และโรคหืด

    หน่วยตรวจกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ, เภสัชกรงานบริการเภสัชกรรมผู ้ป่วยนอก

    กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ, คุณนพวรรณ รืนแสง นักวิจัยหน่วยวิเคราะห์แผน

    งบประมาณและวิจัยสถาบัน รวมทั งเจ้าหน้าทีและผู ้ทีเกียวข้องทุกท่าน ทีทําให้งานวิจัยนี สําเร็จ

    ลุล่วงได้ด้วยดีการ วิจัยครั งนี ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโรงพยาบาลธรรมศาสตร์

    เฉลิมพระเกียรติ ปีงบประมาณ 2556

    ปิยรัตน์ ปรีดียานนท ์

    อรพรรณ โพชนุกูล

  • สารบัญ หน้า

    บทคัดย่อภาษาไทย (Abstract Thai) ................................................................................................ ก

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (Abstract English)...................................................................................... ข

    กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgments) ......................................................................................... ค

    สารบัญ (Table of Content) ..............................................................................................................ง

    สารบัญตาราง (List of Tables) ......................................................................................................... จ

    สารบัญภาพ (List of Figures) .......................................................................................................... ฉ

    บทท ี1 บทนํา (Introduction) ............................................................................................................1

    1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา .........................................................................1

    1.2 ว ัตถุประสงค์ของการวิจัย ................................................................................................3

    1.3 ขอบเขตของการวิจัย .......................................................................................................4

    1.4 ทฤษฎีและแนวคิด...........................................................................................................4

    1.5 สมมุติฐานงานวิจัย ..........................................................................................................7

    1.6 ค ําสําคัญของการวิจัย ......................................................................................................8

    1.7 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ ...........................................................................................10

    บทท ี2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง (Literature Review) .........................................................11

    2.1 ทฤษฎีทีเกียวข้อง ..........................................................................................................11

    2.2 งานวิจัยทีเกียวข้อง ........................................................................................................18

    บทท ี3 วิธีการดําเนินงานวิจัย (Materials and Methods) ...............................................................22

    3.1 วิธีการศึกษา ..................................................................................................................22

    3.2 ลักษณะตัวอย่างของหรือประชากรทีทําการศึกษา ........................................................23

    3.3 การแบ่งกลุ่มเพือทําการศึกษา .......................................................................................25

    3.4 กรรมวิธีการศึกษาหรือการดําเนินงานการวิจัย ..............................................................27

    3.5 การวัดผลการวิจัย ..........................................................................................................27

  • 3.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล ..................................................................................................28

    3.7 การวิเคราะห์ผลการวิจัยขั นตอนการวิเคราะห์...............................................................31

    3.8 การแปลผลของระดับความพึงพอใจ .............................................................................32

    3.9 จริยธรรมในการวิจัย .....................................................................................................33

    บทท ี4 ผลการวิจัยและอภิปราย (Resultsand Discussion)..............................................................34

    4.1 ข้อมูลทั วไปของผู ้ ป่วยเด็ก.............................................................................................34

    4.2 ข้อมูลทั วไปของผู ้ดูแล ..................................................................................................37

    4.3 ระดับการควบคุมโรคและ เหตุการณ์จากการเกิดอาการกําเริบของโรคหืด ...................39

    4.4 คะแนนความร่วมมือในการใช้ยาตามสั งของผู ้ดูแลผู ้ ป่วยเด็ก .......................................42

    4.5 คะแนนความถูกต้องของเทคนิคการสูดพ่นยาของผูป่้วยเด็ก ........................................43

    4.6 คะแนนความพึงพอใจของการใช้กระบอกกักยา(Spacer)ของผู ้ดูแลผู ้ ป่วยเด็ก ..............44

    4.7 ผลลัพธ์ทีต้องการศึกษา:ปัญหาในการใช้อุปกรณ์และข้อเสนอแนะ .............................47

    บทท ี5 สรุปและข้อเสนอแนะ (Conclusion and Suggestion) .........................................................48

    5.1 สรุปผลการวิจัย .............................................................................................................48

    5.2 ข้อเสนอแนะในการทําวิจัยต่อไป ..................................................................................49

    บรรณานุกรม (Bibliography) .........................................................................................................50

    ภาคผนวก (Appendices) .................................................................................................................53

    ภาคผนวก ก (Appendix A) ................................................................................................54

    ภาคผนวก ข (Appendix B) ................................................................................................57

    ภาคผนวก ค (Appendix C) ................................................................................................60

    ภาคผนวก ง (Appendix D) ................................................................................................62

    ภาคผนวก จ (Appendix E) ................................................................................................64

    ภาคผนวก ฉ (Appendix F) ................................................................................................66

    ประวัตินักวิจัย (Curriculum Vitae)……………...………..………………..……………...……..73

  • สารบัญตาราง

    หน้า

    ตารางท ี

    1 การประเมินระดับการควบคุมโรคหืด (ใช้ประวัติภายใน4 สัปดาห์ทีผ่านมา) ...............................13

    2 รูปแบบทีเหมาะสมในการใช้ยาพ่นในเด็ก ....................................................................................14

    3 แสดงการกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากตารางของ Krejcie and Morgan..............................24

    4 แสดงวิธีการให้คะแนนวัดระดับความพึงพอใจ.............................................................................30

    5 การแบ่งกลุ่มและจํานวนครั งของการเก็บข้อมูล ............................................................................31

    6 การกําหนดช่วงการแปลผลค่าเฉลียของคะแนนความพึงพอใจ .....................................................32

    7 ข้อมูลพืนฐานของผู ้ ป่วย ................................................................................................................35

    8 ข้อมูลพืนฐานของผู ้ดูแล ................................................................................................................37

    9 ระดับการควบคุมโรค GINA 2011 (ประเมินโดยแพทย์ผู ้ วิจัย) ......................................................40

    10 เปรียบเทียบการเกิดเหตุการณ์อาการกําเริบของโรคหืด (Asthma exacerbation) .........................41

    11 ความร่วมมือในการใช้ยาตามสั งของผู ้ดูแลผู ้ ป่วยเด็กโรคหืด ......................................................43

    12 ความถูกต้องของเทคนิคการสูดพ่นยาของผู ้ ป่วยเด็ก ...................................................................44

    13 คะแนนความพึงพอใจของผู ้ดูแลต่อประเภทกระบอกกักยา (Spacer)..........................................45

    14 ความพึงพอใจของผู ้ดูแลต่อประเภทกระบอกกักยา (Spacer) รายด้าน ........................................46

    15 ระดับความพึงพอใจของผู ้ดูแลต่อประเภทกระบอกกักยา (Spacer) รายด้าน ...............................46

  • สารบัญภาพ

    หน้า

    ภาพที

    1 แสดงส่วนประกอบของของ Siphon Pump .....................................................................................5

    2 แสดงทิศทางการไหลของละอองยาขณะทําการหายใจเข้า ..............................................................5

    3 แสดงทิศทางการไหลของละอองยาขณะทําการหายใจออกโดยไซฟ่อนปัม ...................................5

    4 แสดงวิธีการทํา TU Spacer ( DIY Spacer) ตอนที 1 .......................................................................6

    5 แสดงวิธีการทํา TU Spacer ( DIY Spacer) ตอนที 2 .......................................................................7

    6 รูปอุปกรณ์ยาพ่นสูดชนิด PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs) ..........................................8

    7 รูปอุปกรณ์กระบอกช่วยกักยาTU Spacer (DIY Spacer) .................................................................8

    8 รูปอุปกรณ์กระบอกช่วยกักยา AeroChamber plus Flow-Vu (aVHC) .............................................9

    9 การรักษาโรคเพือให้สามารถควบคุมอาการได้ (Treating to achieve control) ...............................15

    10 การปฏิบัติตนของผู ้ ป่วยในภาวะทีเกิด asthma exacerbations ทีบ้าน ..........................................17

    11 แสดงขั นตอนการแบ่งกลุ่มและการเก็บข้อมูลข้อมูลศึกษาวิจัย ...................................................26

    12 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจของผู ้ดูแลต่อประเภทกระบอกกักยา (Spacer) รายด้าน ..................47

  • บทท ี1

    บทนํา

    1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา

    โรคหืดเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดหนึงทีมีการอักเสบเรือรังของทางเดินหายใจและหลอดลม มี

    ผลทําให้หลอดลมมีการตอบสนองไวเกิน (Bronchialhyper responsiveness) เมือผู ้ป่วยได้รับสิงกระตุ้น

    จะทําให้เกิดการผ ันผวนของการอุดกั นของหลอดลมทั วทั งปอด (variable airflow obstruction) ผู้ป่วยจะ

    มีอาการไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบเหนือย หายใจเสียงดังหวีด (wheeze) ซึงมักเกิดในเวลากลางคืน

    หรือใกล้รุ่งและอาการอาจหายไปไดเ้องหรือเมือได้รับยาขยายหลอดลม(ชลีรัตน์ ดิเรกวัฒนชัย,

    2555, น.100-107)

    จากการศึกษาด้านระบาดวิทยาพบอุบัติการณ์ของภาวะนี เพิมขึ นทั วโลกรวมทั งประเทศ

    โดยพบอัตราการกระจายของโรคหืดในเด็กสูงถึงร้อยละ 10 – 15 (Asher et al., 2006, pp. 733-743)

    จากการสํารวจอุบติัการณ์ของโรคหืดในเด็กอายุระหว่าง6 – 7 ปีและ 13 – 14 ปี ในปี พ.ศ. 2538 ใน

    เขตกรุงเทพมหานครโดยปกิตและคณะพบอุบัติการณ์โรคนี ร้อยละ 11 และ 13.5 ตามลําดับ

    (Vichyanond, Jirapongsananuruk, Visitsuntorn, &Tuchinda, 1998, pp. 175-184) จากการศึกษาใน

    ปีเดียวกันโดยมุทิตาในเขตจังหวัดเชียงใหม่พบอุบัติการณ์โรคนี ในเด็กเล็กและเด็กโตร้อยละ 5.5

    และ 12.6 ตามลําดับ(Trakultivakorn, 1999, pp. 243-248)การศึกษาต่อมาในทั งสองจังหวัดในปี

    พ.ศ. 2544 พบอุบัติการณ์โรคหืดเพิมขึ นในเด็กอายุ 6 – 7 ปี ทีกรุงเทพและเชียงใหม่ร้อยละ 15 และ

    7.8 ตามลําดับ (Trakultivakorn, Sangsupawanich, &Vichyanond, 2007, pp. 609-611) เห็นได้ว่า

    โรคนี เป็นโรคเรือรังทีพบบ่อยในเด็ก และเป็นปัญหาสาธารณสุขทีสําคัญของประเทศไทยและ

    ประเทศต่างๆทั วโลก

    การรักษาโรคหืดมีเป้าหมายคือ สามารถควบคุมอาการของโรคหืด ให้ปลอดจากอาการหืด

    กําเริบ, สามารถร่วมกิจกรรมประจําว ันได้ตามปกติ รวมถึงการออกกําลังกาย, มีสมรรถภาพการ

    ทํางานของปอดปกติหรือใกล้เคียงปกติ, หลีกเลียงผลข้างเคียงจากยา และป้องกันการเสียชีวิตจาก

    โรคหืด

    ยารักษาโรคหืดทีนิยมใช้ในปัจจุบันนี ส่วนใหญ่ใช้ยาพ่นสูด เนืองจากยาเข้าสู่ต ําแหน่งทีมี

    พยาธิสภาพในทางเดินหายใจโดยตรง ทําใหเ้พิมประสิทธิผลเฉพาะทีและก่อให้เกิดผลข้างเคียงน้อย

    นอกจากนี ระยะเวลาในการออกฤทธิ ของยาก็เร็วกว่าการบริหารยาโดยวิธีอืน

    ยาสูดพ่นมีหลายชนิด และหลายรูปแบบ พิจารณาเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับสภาวะ

    โรค , อาย,ุ สิทธิการรักษาและ เศรษฐานะของผู ้ ป่วย อุปกรณ์พ่นยาทีนิยมใช้ในการรักษาโรคหืดคือ

  • 2

    ยาสูดพ่นประเภท Pressurized Metered Dose Inhalers (pMDIs) ปัญหาของการใช้ยาสูดพ่นประเภท

    pMDIคือต้องอาศัยการประสานกันระหว่างการกดยา และการสูดยา ( hand-lung coordination) โดย

    ผู ้ ป่วยต้องสูดยาเข้าทางปากให้สัมพันธ์กับการกดยา และต้องมีการกลั นหายใจ ซึงทําได้ยากในผู้ ป่วย

    เด็ก นอกจากนี ย ังพบว่าอาจทําให้เกิด “cold-freon effect” ซึงก็คือการทีผู ้ป่วยหยุดหายใจชั วขณะ

    เนืองจากการทีละอองยากระทบเพดานอ่อนด้วยความเร็วสูง

    ในปัจจุบันมีการพัฒนาอุปกรณ์ช่วยในการพ่นยาประเภท pMDI คือ กระบอกกักยาหรือที

    เรียกว่า สเปเซอร์ (Spacer) โดยนํามาใช้ร่วมกับยาสูดพ่นประเภท pMDIเป็นกระบอกกักยาซึงเป็น

    ท่อรูปทรงคล้ายกรวยแล้วนํามาครอบทีจมูกและปากของเด็ก อีกด้านทีแคบกว่าต่อกับยาพ่น ซึงจะ

    ช่วยลดการไม่ประสาน (incoordination) กันระหว่างการกดยากับการสูดยา ช่วยลดขนาดละอองยา

    ทําใหเ้พิมปริมาณของยาเข้าทีปอด ลดการสะสมของยาทีคอหอยส่วนปาก ทําให้ลดผลข้างเคียงของ

    ยาสูดชนิด steroid และลดความเร็วของละอองลอยทําให้ลดการทีผู ้ ป่วยหยุดหายใจชั วขณะเนืองจาก

    การทีละอองยากระทบเพดานอ่อนด้วยความเร็วสูง (cold-freon effect) ดังนั นการใช้ pMDI ร่วมกับ

    spacer ช่วยลดปัญหาการพ่นยาในเด็กได ้(อรพรรณ โพชนุกูล, 2553, น. 160-179)

    แต่ก็มีปัญหาว่าการใช้กระบอกกักยารูปกรวยทีไม่มีวาล์วควบคุมการหายใจ ทําให้เวลาเด็ก

    หายใจออกมา ลมหายใจก็ไปผสมกับตัวยาอยู่ในกรวย เมือสูดหายใจกลับเข้าไปก็ได้ปริมาณยาที

    น้อยลง ต่อมาจึงมีการพัฒนาเป็นกระบอกกักยาทีมีลิ นวาล์วเปิดปิด (Chamber with one-way valve)

    หรือ (Valved holding chamber) ทีกักอนุภาคยาไว้ข้างในกระเปาะจนกระทั งผู ้ป่วยหายใจเข้าวาล์ว

    จึงจะเปิดให้ยาเข้า

    วาล์วมีลักษณะเหมือนไดอะแฟรม เป็นแผ่นบางๆ พอหายใจเข้าออกมันก็จะเปิดปิดตาม

    ทําให้ลมหายใจทีปล่อยออกมาไม่ไปรวมกับตัวยา ดังนั นกระบอกกักยา (Spacer) ทีมีลินวาล์วปิดเปิด

    จะมีประสิทธิภาพในการนําส่งยาไปทีปอดมากกว่าซึงมีประโยชนโ์ดยเฉพาะอย่างยิงในเด็กเล็กทีย ัง

    ไม่สามารถกลั นหายใจได้ แต่กระบอกกักยา (Spacer) ประเภทนึ มีราคาค่อนข้างแพง ประมาณ

    1,200-1,300 บาท และไม่มีจ ําหน่ายโดยทั วไป โดยมีชือการค้าว่า Aerochamber

    ได้มีการประดิษฐ์กระบอกกักยา (Spacer) ทําใช้เองในหลายรูปแบบทั งในและต่างประเทศ

    เช่น การประดิษฐ์กระบอกกักยา (Spacer) จากขวดพลาสติกขนาด 200ml., 500ml. แก้วนํ าพลาสติก

    ขนาด 200ml. ดัดแปลงเป็นกระบอกกักยา (Spacer) รูปหน้ากากสําหรับเด็กเล็ก และด้านล่างของ

    ถ้วยถูกเจาะรูสําหรับต่อกับยาพ่น อีกทั งมีการประดิษฐ์ใช้แผ่นพลาสติกม้วนเป็นรูปกรวย แล้วนํามา

    ครอบทีจมูกและปากของเด็ก จากนั นพ่นยาเข้าทีปากกรวยด้านทีแคบกว่า แต่ก็ย ังไม่มีการประดิษฐ์

    spacer ทําใช้เองในแบบมีลินวาล์วควบคุมทางเดินอากาศ

  • 3

    เพือพัฒนาอุปกรณ์ช่วยพ่นยากระบอกกักยา (Spacer) ด้วยฝีมือคนไทยเพือคนไทยในราคา

    ไม่แพง รศ.พญ.อรพรรณ โพชนุกูล ได้ร่วมกับทีมนักวิจัยจากห้องปฏิบัติการอุปกรณ์ทางการแพทย์

    หน่วยวิจยัวิศวกรรมชีวการแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) สํานักงานพัฒนา

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นําทีมโดยคุณปริญญา จันทร์หุณีย์ คิดค้นและสร้าง

    ผลงานทีชือว่า TU Spacer (DIY SPACER) อุปกรณ์ช่วยพ่นยาแบบมี ลิ นวาล์วควบคุมทางเดิน

    อากาศสําหรับการรักษาโรคหืดสําหรับเด็ก และผู ้ สูงอายุ

    TU Spacer (DIY SPACER) สามารถทําเองได้จากวัสดุทีหาได้ตามท้องตลาด ซึงเป็นภูมิ

    ปัญญาพืนบ้านและอุปกรณ์ครัวเรือน ทําให้ได้รับรางวัลจากประกวดประเภทนวัตกรรมเพือการ

    พึงพาตนเองของชุมชนระดับดีเด่นในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปี 2555

    และรางวัลในระดับนานาชาติเหรียญเงินในงาน Seoul International Invention Fair 2012 ประเทศ

    เกาหลี ได้รับเหรียญทอง เกียรติยศจากงาน International Exhibition of Inventions of Geneva

    ประเทศสวิสแลนด์ ในวันที 10 – 14 เมษายน 2556 รวมทั งได้รับ special Award จาก Taiwan

    Invention Association ในสาขาเกียวกับสิงประดิษฐ์ทีช่วยเพิมคุณภาพชีวิตของผู ้ป่วยและครอบครัว

    และล่าสุดได้รับรางวัลชนะเลิศของบริการภาครัฐแห่งชาติปี 2557 ประเภทรางวัลนวัตกรรมการ

    บริการทีเป็นเลิศ

    ปัจจุบันแม้ว่า TU Spacer ได้ถูกมาใช้อย่างแพร่หลายในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์และ

    โรงพยาบาล จังหวัดต่างๆ โดยแจกจ่ายฟรีให้แก่ผู ้ ป่วยประมาณกว่า 2,000 คนทั วประเทศ แต่ย ังขาด

    งานวิจัยเพือสนับสนุนประสิทธิผลของการรักษา ความร่วมมือการใช้ยาตามสั ง และความพึงพอใจ

    ของผู ้ใช้ ดังนั นผู ้วิจัยจึงเสนอ การวิจัยนี โดยตั งสมมุติฐานการวิจัยว่า การใช้ TU Spacer (DIY

    SPACER) กับ AeroChamber ในการดูแลรักษาโรคหืดมีผลไม่แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบ

    ประสิทธิผลในการรักษาความร่วมมือการใช้ยาตามสั ง และความพึงพอใจแก่ผู ้ดูแลผู ้ป่วย และ

    ผลการวิจัยนี จะสนับสนุนว่าการใช้ TU Spacer (DIY SPACER) คุ ้มค่ากว่าเพราะราคาต่อหน่วยทีถูก

    กว่า AeroChamber

    1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

    - เพือเปรียบเทียบระดับการควบคุมโรคของการรักษาผู ้ป่วยโรคหืดในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer (DIY SPACER) กับ AeroChamber

    - เพือเปรียบเทียบความร่วมมือในการใช้ยาตามสั งของผู ้ป่วยโรคหืดและผู ้ดูแลในการบริหารยา pMDIs ร่วมกับ Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer (DIY SPACER) กับ

    AeroChamber

  • 4

    - เพือเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ป่วยเด็กโรคหืดในการบริหารยา pMDIsร่วมกับ Spacer ระหว่างชนิด TU Spacer (DIY SPACER) กับ AeroChamber

    1.3 ขอบเขตของการวิจัย

    ผู้ ป่วยเด็กโรคหืด หรือโรคหืดร่วมกับโรคร่วมอืนๆ ทีมารับการรักษาทีคลินิกภูมิแพ้และ

    โรคหืด หน่วยตรวจกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติได้รับการ วินิฉัยว่าเป็น

    โรคหืด หรือโรคหืดร่วมกับโรคร่วมอืนๆ ซึงอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 6 ปี และได้รับการรักษาด้วย

    ยา ICS หรือ ICS+LABA และ/หรือSABAประเภท pMDIsโดยบริหารยาร่วมกับ spacer ชนิด

    หน้ากากเป็นครั งแรกจํานวน 30 คน

    1.4 ทฤษฎีและแนวคิด

    TU Spacer หรือ DIY (Do-It-Yourself) Spacer คือ อุปกรณ์ช่วยพ่นยาแบบมีลิ นวาลว์

    ควบคุมทางเดินอากาศ ใช้ร่วมกับยาสูดพ่นประเภท Pressurized Metered Dose Inhalers (pMDI)

    สําหรับการรักษาโรคหืดในเด็ก และผู ้ สูงอายุ เพือให้ผู ้ป่วยโรคหืดได้รับยาพ่นอย่างมีประสิทธิภาพ

    โดยผู ้ป่วยหรือสมาชิกภายในบ้านสามารถทําใช้เองได้ ด้วยอุปกรณ์ทีสามารถหาได้ง่ายทวัไป

    มาประดิษฐ์ให้มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับอุปกรณ์ช่วยพ่นยาทีถูกนําเข้าจากต่างประเทศอุปกรณ์นี

    ได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตร เลขที 5479 เรือง “อุปกรณ์ช่วยในการพ่นยา” เมือวันที 23 มิ.ย.

    2553

    ทั งนี อุปกรณ์ทีใช้เป็นการนําชินส่วนทีมีอยู่ทั วไปในท้องตลาดมาประกอบ เช่น การนําลิ น

    วาล์วสูบนํ า ไซฟอนปั ม (Siphon pump) ดังภาพที 1 มาใชช่้วยในการบังคับทิศทางการหายใจ การนํา

    ขวดนํ ามาดัดแปลงให้มีลักษณะเป็นกระบอกเพือเก็บละอองของตัวพ่นยา รวมทั งนําขวดนํ าพร้อม

    กับสายยางท่อลมมาตัดแต่งเป็นทีครอบปากให้เหมาะกบัหน้าของผู ้ ป่วย การหมุนเกลียวซึงผลิตจาก

    ไซฟอนปั มเป็นข้อต่อแทนใช้กาวร้อน และมีการทํา Safety filter โดยเย็บจากด้าย เพือป้องกันการ

    หลุดของลินวาล์วปิดเปิด จากการประดิษฐ์อุปกรณ์จากวัสดุหาง่ายทีหาง่าย ทําให้มีต้นทุนการผลิต

    เพียง 50-60 บาทเท่านั น อีกทั งนักวิจยัย ังได้ทําเอกสาร การสอนและสาธิตการประดิษฐ์ให้บุคคล

    ทั วไปนําไปประดิษฐ์ด้วยตนเอง ส่งผลให้เด็กๆ และผู ้ สูงอายุ มีโอกาสเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยพ่นยามาก

    ขึ น

  • 5

    ภาพที 1 แสดงส่วนประกอบของของ Siphon Pump

    1.4.1 หลักในการออกแบบ

    หัวใจสําคัญในการออกแบบ ทีมวิจัยได้นําลินวาล์วในอุปกรณ์สูบนํ าด้วยมือ หรือ ไซฟ่อน

    ปัม มาเป็นตัวควบคุมทิศทางการไหลของลมหายใจให้ไปทางเดียวเมือเวลาเราบีบไซฟ่อนปัมเพือสูบ

    นํ า เวลาเราบีบหัวไซฟ่อนปัมนํ าจะถูกดันไปย ังภาชนะหนึง เมือปล่อยมือจากหัวไซฟ่อนปัมนํ าก็ถูก

    ดูดขึ นมาไว้ทีหัว พอบีบใหม่นํ าทีถูกดูดขึ นมามันจะไม่ไหลกลับไปทางเดิมเป็นเช่นนี ไปเรือย ทําให้

    นํ าไหลไปทางเดียวกันในแต่ละจังหวะการบีบ และคลาย ทีมวิจัยจึงนํามาใช้ทําหน้าทีเหมือนวาล์ว

    ควบคุมทางเดินอากาศ เวลาสูดหายใจเข้า ตัวยาก็จะไหลเข้าปอด เวลาหายใจออก อากาศจะไหลออก

    ทางช่องเปิดด้านบน ไม่ไหล กลับเข้าไปผสมกับยา แสดงดังภาพที 2 และ 3

    ภาพที 2 แสดงทิศทางการไหลของละอองยาขณะสูดยาเข้า

    ภาพที 3 แสดงทิศทางการไหลของละอองยา ขณะหายใจออกโดยไซฟ่อนปัม

  • 6

    นอกจากนี ทีมวิจัยย ังปรับให้ส่วนมีสัมผ ัสกับหน้าของผู ้ ป่วยให้มีความอ่อนนุ่มมากขึ นโดย

    ใช้ท่อลมซิลิโคนหรือสายยางหุ้มให้ผู ้ ป่วยไม่รู้สึกระคายเคือง พร้อมทั งสามารถปรับแต่งขนาดของ

    กรวยให้กระชับกับใบหน้าของผู ้ ป่วยตามขนาดได้ตามความต้องการ

    1.4.2 ขันตอนการผลิตอุปกรณ์

    อุปกรณ์นี สามารถผลิตได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายๆ โดยวัสดุก็สามารถหาได้ทั วไปแสดงดัง

    ภาพข้างล่างทั งตอนที 1 และตอนที 2

    ภาพที 4 แสดงวิธีการทํา TU Spacer (DIY Spacer) ตอนที 1

  • 7

    ภาพที 5 แสดงวิธีการทํา TU Spacer ( DIY Spacer) ตอนที 2

    1.5 สมมุติฐานงานวิจัย

    สมมติฐานการวิจัยคือ ประสิทธิผลการรักษา, ความร่วมมือการใช้ยา และความพึงพอใจ

    ระหว่างอุปกรณ์ TU Spacer และ AeroChamber ไม่แตกต่างกันโดยระบุความน่าจะเป็นในการ

    ยอมรับสมมุติฐานการวิจัยทีระดับความเชือมั น 95% (Level of Confidence) ดังนั นสามารถ

    สังเคราะห์เป็นสมมุติฐานการวิจัยดังนี

    H01: UTU = UAero หมายถึงประสิทธิผลการรักษาผู ้ ป่วยด้วยการใช้ TU Spacer กับ

    AeroChamber เท่ากัน โดยมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที 0.05

    H02: UTU = UAero หมายถึงความร่วมมือในการใช้ยาของผู ้ดูแลทีใช้ TU Spacer กับ

    AeroChamber เท่ากัน โดยมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที 0.05

    H03: UTU = UAero หมายถึงความพึงพอใจของผู ้ดูแลผู ้ ป่วยทีใช้ TU Spacer กับ

    AeroChamber เท่ากัน โดยมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที 0.05

    สําหรับเกณฑ์ในการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานการวิจัยดังกล่าว จะใช้ผลการคํานวณ

    ของโปรแกรม SPSS Version16 โดยใช้ค่าทางสถิติทีค ํานวณได้จากโปรแกรม ซึงเป็นค่าความน่าจะ

    เป็น (Probability) และค่านัยสําคัญทางสถิติ ทีก ําหนดค่าความคลาดเคลือนไว้ที 5%

  • 8

    1.6 คําสําคัญของการวิจยั

    PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs) หมายถึง อุปกรณ์พ่นยาพ่นสูดชนิดทีใช้

    ก๊าซ ใช้สาร HFA เป็นตัวขับเคลือนในกระบอกยา สามารถใช้พ่นเข้าทางปากโดยตรงหรือต่อกับ

    กระบอกพ่นยาในเด็กเล็ก ยาประเภทนี นิยมใช้มากทีสุดในผู้ ป่วยโรคหืด ดังภาพที 6

    ภาพที 6 รูปอุปกรณ์ยาพ่นสูดชนิด PressurizedMetered Dose Inhalers (pMDIs)

    TU Spacer (DIY Spacer) หมายถึงกระบอกช่วยกักยาชนิดหน้ากาก (Spacer with face

    mask) รูปแบบเป็นกระเปาะทีมีลินเปิดปิด (Chamber with one-way valve) ทีกักอนุภาคยาไว้ข้างใน

    กระเปาะจนกระทั งผู ้ ป่วยหายใจเข้าลินจึงจะเปิดให้ยาเข้า ซึงประดิษฐโ์ดยทีมงานชมรมผู้ ป่วยโรคหืด

    ร่วมกบัวิศวกรศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) และสามารถทําขึ นมาเองอย่างง่ายๆ

    และราคาถกู ดังภาพที 7

    ภาพที 7 รูปอุปกรณ์กระบอกช่วยกักยา TU Spacer (DIY Spacer)

  • 9

    AeroChamber Plus® with Flow-Vu® Anti-Static Valved Holding Chamber

    (aVHC) หมายถึงกระบอกช่วยกักยาชนิดหน้ากาก (Spacer with face mask) รูปแบบเป็นกระเปาะที

    มีลิ นเปิดปิด (Chamber with one-way valve) ทีกักอนุภาคยาไว้ข้างในกระเปาะจนกระทั งผู ้ป่วย

    หายใจเข้าลินจึงจะเปิดให้ยาเข้าผลิตโดยบริษัทเอกชน จําหน่ายราคาประมาณ 1,200 บาท ดังภาพที 8

    ภาพที 8 รูปอุปกรณ์กระบอกช่วยกักยา AeroChamber plus Flow-Vu (aVHC)

    ระดับการควบคุมโรคหืด (Level of Asthma control) หมายถึงการจําแนกกลุ่มของโรค

    หืดตามระดับการควบคุมโรค (Classification of asthma by level of control) ตามGlobal Initiative

    forAsthma (GINA) guideline Revised 2006 ซึงเชือว่ามีความสัมพันธ์และมีประโยชน์ต่ออการรักษา

    โรค โดยระดับการควบคุมโรคหืด แบ่งตาม GINA guideline ออกเป็น 3 ระดับคือ

    - ผู้ ป่วยทีควบคุมโรคหืดได้ (controlled) - ผู้ ป่วยทีควบคุมโรคหืดได้บางส่วน (partly controlled) - ผู้ ป่วยทีควบคุมโรคหืดไม่ได้ (uncontrolled) เหตุการณ์อันเนืองมาจากการเกิดอาการกําเริบของโรคหืด (Asthma exacerbation)

    ประเมินจาก 2 เหตุการณ์คือ

    - จํานวนครั งทีผู ้ ป่วยเข้ารักษาทีแผนกฉุกเฉินก่อนเข้าร่วมโครงการวิจัย และระหว่างเข้าร่วมโครงการวิจัยและติดตามการรักษา 6 เดือน

    - จํานวนครั งทีผู ้ป่วยเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลก่อนเข้าร่วมโครงการวิจัย และระหว่างเข้าร่วมโครงการวิจัยและติดตามการรักษา 6 เดือน

    ความร่วมมือในการปฏิบัติตามสังของผู ้ป่วย (Patient compliance) หมายถึง การทีผู ้ป่วย

    ยินดีปฏิบัติตัวตามทีบุคคลทางการแพทย์แนะนํา เช่น การมาพบแพทย์ตามนัดการใช้ยาตามแผนการ

    รักษา และ การปรับเปลียนวิถีการดําเนินชีวิตตามแผนการรักษา เบียงเบนไปจากทีบุคคลากร

    ทางการแพทย์แนะนําไว ้ ทั งโดยตั งใจ และไม่ตั งใจ จะเรียกว่าความไม่ร่วมมือในการปฏิบัติตามสั ง

  • 10

    (Patient non-compliance) และหากจะชี เฉพาะถึงเรืองการใช้ยา ก็จะใช้ค ําว่า ความไม่ร่วมมือในการ

    ใช้ยาตามสั ง (Medication non-compliance) การจําแนกประเภทของความไม่ร่วมมือในการใช้ยาตาม

    สั งด้ดังนี

    - การใช้ยามากกว่าทีก ําหนด - การใช้ยาน้อยกว่าทีก ําหนด - การใช้ยาในเวลาไม่เหมาะสม - การใช้ยาผดิวิถีทางหรือผิดเทคนิคของการบริหาร - การใช้ยาผิดว ัตถุประสงค์หรือผิดประเภท - การใช้ยาอืนนอกเหนือจากทีแพทย์สั ง ความพึงพอใจ หมายถึงสภาวะการแสดงออกถึงความรู้สึกในทางบวกของผู ้ดูแลผู ้ป่วยที

    เกิดขึ นจากการประเมินการใช้อุปกรณ์ช่วยกักยา (Spacer) ทีได้ใช้ตรงกับทีผูดู้แลคาดหวังหรือดีกว่า

    ความคาดหวังของผู ้ดูแล

    ICH คือ inhaled corticosteroids ในการศึกษานี หมายถึงยาใดยาหนึ งใน 2 รายการ

    ดังต่อไปนี

    - Budesonide MDI 100 mcg/puff; 200 dose (Budecort 100) - Budesonide MDI 200 mcg/puff; 200 dose (Budecort 200) ICH+LABA คือ inhaled corticosteroid + long acting b2-agonists ในการศึกษานี หมายถึง

    ยาใดยาหนึงใน 2 รายการดังต่อไปนี

    - Salmeterol + Fluticasone MDI 25 + 50 mcg; 120 dose (Seretide25/50) - Salmeterol + Fluticasone MDI 25 + 125mcg; 120 dose (Seretide25/125) RABA คือ rapid acting b2-agonists ยากลุ่มขยายหลอดลมทีออกฤทธิ เร็ว ในการศึกษานี

    หมายถึงยาดังต่อไปนี

    - Salbutamol sulfate MDI 100 mcg/puff ; 200 doses(Ventolin Evohaler)

    1.7 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ

    ผลจากงานวิจัยจะเป็นหลักฐานทางวิชาการทีสนับสนุนถึงประสิทธิผลของการรักษา,

    ความร่วมมือการใช้ยาตามสั ง และความพึงพอใจแก่ผู ้ดูแลผู ้ป่วยในการใช้ TU Spacer(DIY Spacer)

    เปรียบเทียบกับอุปกรณ์ AeroChamberในผู ้ป่วยเด็กโรคหืด ซึงทําให้กล่าวได้ว่า TU Spacer (DIY

    Spacer) เป็นอุปกรณ์ทีมีประสิทธิผลในการรักษาทีคุ้มค่าเพราะราคาถูก และผลิตได้เองโดยชุมชน

    อีกทั งย ังสามารถนําข้อแนะนําของงานวิจัยไปปรับปรุงพัฒนาให้ดียิ งขึ นได้ต่อไปในอนาคต

  • บทท ี2

    เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

    ทฤษฎีทีเกียวข้อง

    2.1.1 คําจํากัดความ

    โรคหืดเป็นโรคทีมีการอักเสบเรื อรังของหลอดลม (airway inflammation) ทําให้

    หลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้และสิงแวดล้อมมากกวา่คนปกติ ทีเรียกว่า

    หลอดลมไว (bronchial hyper responsiveness หรือ bronchial hyper reactivity) ทําให้เกิดการผ ัน

    ผวนของการอุดกั นของหลอดลมทั วทั งปอด (variable airflow obstruction) ส่งผลให้ผู ้ ป่วยมีอาการ

    ไอแน่นหน้าอกหอบเหนือย และหายใจมีเสียงวี ด (wheeze) ซึงอาการดังกล่าวมักเกิดในเวลา

    กลางคืน หรือใกล้รุ่ง และอาจหายไปได้เอง (spontaneous reversible) หรือเมือได้รับยาขยาย

    หลอดลม (reversible from bronchodilator) นอกจากนั นการอักเสบเรืองรังนี อาจทําให้มีการทําลาย

    เยือบุหลอดลม เกิดภาวะ airway remodeling ตามมาได ้(จามรี ธีรตกุลพิศาล, 2554, น. 53-62)

    2.1.2 การรักษาโรคหืด (จามรี ธีรตกุลพิศาล, 2554, น. 53-62)

    โรคหืดเป็นโรคเรือรัง หากไม่รักษาจะมีอาการไปจนโต และหากหลอดลมเกิดภาวะ

    remodeling อาจทําให้โรคเปลียนไปเป็นโรคหลอดลมอุดกันเรือรัง (COPD) ได้ หากให้การรักษาที

    เหมาะสมจนโรคสงบ การอักเสบเรือรังดีขึ นจะสามารถหยุดยาได้โดยทีไม่มีอาการกําเริบอีก

    เนืองจากอาการของโรคไม่เกิดตลอดเวลา อาการจะกําเริบทีเรียกว่า “จับหืด” เป็นๆหายๆ

    เฉพาะเมือไปสัมผ ัสสิงกระตุ้น หากหลีกเลียงสิงกระตุ้นได้ผู ้ ป่วยจะไม่มีอาการใดๆ เช่นเดียวกับคน

    ปกติ ทําให้ในการรักษาในอดีตจึงรักษาเฉพาะเมือมีอาการจับหืด (acute exacerbation) แต่ใน

    ปัจจุบันการรักษาโรคหืดมีเป้าหมายดังนี

    - สามารถควบคุมอาการของโรคหืด ให้ปลอดจากอาการจับหืดกําเริบ

    - สามารถร่วมกิจกรรมประจําว ันได้ตามปกติ รวมถึงการออกกําลังกาย

    - มีสรรถภาพการทํางานของปอดปกติหรือใกล้เคียงปกติ

    - หลีกเลียงผลข้างเคียงจากยา

    - ป้องกันการเสียชีวิตจากโรคหืด

  • 12

    การรักษาโรคหืดประกอบด้วย

    1) การให้ความรู้แก่ผู ้ ป่วยและครอบครัว

    เพือสร้างความมีส่วนร่วมในการรักษาโรคหืดผู ้ ป่วยเด็กโรคหืดและครอบครัว ควรได้รับ

    การให้ความรู้เกียวกับโรค สาเหตุ และการป้องกัน และการติดตามการรักษาอย่างต่อเนือง

    การตรวจสอบสมรรถภาพปอด (ในเด็กอายุ >5 ปี) และติดตามการรักษาอย่างต่อเนือง เพือควบคุม

    อาการของโรค เพือสร้างความสัมพันธ์ทีดีให้ผู ้ ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษาตามเป้าหมายการรักษา

    โรคหืด

    2) ค้นหาและหลีกเลียงสารก่อภูมิแพ้ และปัจจัยเสียงต่าง ๆ

    หลีกเลียงสารก่อภูมิแพ้ และสารระคายเคืองต่างๆ เป็นหลักการรักษาทีสําคัญทีสุดในการ

    ดูแลรักษาผู ้ ป่วยเด็กโรคหืด และโรคภูมิแพ้ เพือการควบคุมอาการ และใช้ยาในการรักษาให้น้อย

    ทีสุด ดังนั นทุกครั งทีได้ตรวจผู ้ ป่วยแพทย์จะต้องเน้นให้ผู ้ ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างสมําเสมอ

    3) การประเมินระดับความรุนแรงรักษา ติดตามเและการควบคุมอาการของโรคหืด

    ก่อนเริมการรักษาหรือขณะติดตามผลการรักษา ผู ้ป่วยทุกรายจะต้องได้รับการประเมิน

    ถึงความสามารถในการควบคุมอาการของโรค การใช้ยารักษา และความร่วมมือในการรักษา โดย

    อาศัยเกณฑ์การประเมิน ซึงจ ําแนกระดับการควบคุมโรค ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ Controlled,

    Partly-Controlled และUncontrolled

    - การประเมินความเสียงของโรคในอนาคต ได้แก่ความเสียงต่อการเกิดอาการจับหืด

    เฉียบพลันมีอาการผ ันผวนมีสมรรถภาพปอดลดลงอย่างรวดเร็ว มีอาการข้างเคียงจากการใช้ยา

    - การประเมินระดับการควบคุมโรคหืด โดยใช้ประวัติภายใน 4 สัปดาห์ทีผ่านมา

    ดังแสดงในตารางที 1

  • 13

    ตารางที 1 การประเมินระดับการควบคุมโรคหืด (ใช้ประวั ติภายใน 4 สัปดาห์ทีผ่านมา)

    ลักษณะทางคลินิก

    Controlled

    (ต้องมีทุกข้อไปนี)

    Partly controlled

    (มีอย่างน้อย 1 ข้อ

    ต่อไปนี)

    Uncontrolled

    อาการในช่วงเวลากลางวัน ไม่มี

    (ไม่เกิน 2 ครั งต่อสัปดาห์)

    มากกว่า 2 ครั งต่อสัปดาห์

    มีอาการใน

    หมวด partly

    controlled

    อย่างน้อย 3 ข้อ

    มีข้อจํากัดของการทํากิจกรรม

    ต่างๆและการออกกําลังกาย

    ไม่มี มี

    อาการช่วงกลางคืนจน

    รบกวนการนอนหลับ

    ไม่มี มี

    ต้องใช้ยาขยายหลอดลม

    (reliever /rescue treatment)

    ไม่มี(

  • 14

    การเริมการรักษาด้วยยาควบคุมอาการ (controller)

    ผู้ ป่วยทีเป็น persistent asthma และไม่เคยใช้ยาควบคุมอาการมาก่อน แนะนําให้เริมการ

    รักษาในขั นที 2 คือใช้ ICS ขนาดตํ า (100-200 mcg/ว ัน) ตัวเดียวแบ่งให้พ่นวันละ 2 ครั ง เช้า และ

    ก่อนนอน

    ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงตั งแต่เริมต้นพิจารณาเริมทีขั นที 3 ให้ ICS 200-400 mcg/วัน

    ในกรณีเด็กอายุมากกว่า 4 ปี อาจเลือกใช้ ICS 200-400 mcg + LABA (combination therapy) หรือ

    ICS + LTRA, ICS + theophylline

    ผู้ ป่วยเด็กทุกรายต้องแนะนําวิธีการสูดพ่นยาทีถูกต้อง การใช้อุปกรณ์ช่วยสูดยา (spacer)

    ให้แก่ผู ้ดูแลรวมทั งเด็กเองในกรณีทีสามารถใช้ยาได้เองเสมอ เพือผลดีของการรักษา

    แพทย์ผู ้ รักษาต้องนัดติดตามอาการอย่างสมํ าเสมอในครั งแรก 1 – 3 เดือน เพือปรับเพิม

    การใช้ยา (step up) หากย ังไม่สามารถควบคุมอาการได้ เพือให้ดีขึ นจบบรรลุเกณฑ์ controlled

    และเมือรักษาต่อจนได้เกณฑ์ controlled แล้วอย่างน้อย 3 เดือน สามารถปรับลดการใช้ยา (step

    down) โดยควรให้การรักษาอย่างต่อเนือง ด้วยยาทีเหมาะสมทีสุดในขนาด และจํานวนน้อยทีสุด

    (ขั นทีตํ าทีสุด) ทีสามารถคงเกณฑ์ controlled ไว้ได้ โดยไม่ให้มีผลข้างเคียงหรือมีน้อยทีสุดเท่าที

    จะทําได้ และถ้าผู ้ ป่วยย ังอยู่ในระดับ controlled เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี ให้พิจารณาหยุดการ

    ใช้ยารักษาได้ และให้ค ําแนะนําเน้นเรืองการปฏิบัติตัวเพือป้องกันการกลับเป็นซํ า และการ

    หลีกเลียงสารก่อภูมิแพ้ และสารระคายเคืองต่อไป

    การใช้ยาพ่นในการรักษาโรคหืด

    ยาพ่นทีใช้ในการรักษาโรคหืดมีหลายชนิด และมีหลายรูปแบบ ควรพิจารณาใช้ให้

    เหมาะสมกับเด็กแต่ละอายุ ดังตารางที 2

    ตารางที 2 รูปแบบทีเหมาะสมในการใช้ยาพ่นในเด็ก

    อาย ุ วิธีพ่นยาทีแนะนํา ทางเลือกอืน ๆ

    < 4 ปี MDI plus spacerwith face mark Nebulizer with face mask

    4 – 6 ปี MDI plus spacerwith mouthpiece Nebulizer with mouthpiece

    > 6 ปี DPI หรือ MDI plus spacerwith mouthpiece Nebulizer with mouthpiece

    - การรักษาเพือบรรลุเป้าหมายในการควบคุมโรคหืด (Treating to achieve asthma

    control) ดังภาพที9

  • 15

    ภาพที 9 การรักษาโรคเพือให้สามารถควบคุมอาการได้ (Treating to achieve control)

    5) แนวทางและขั นตอนการรักษา asthma exacerbation ในโรงพยาบาล

    ในห้องฉุกเฉินหรือหอผู้ ป่วยควรมีรายละเอียดของการดูแลรักษา เช่น ขนาดของยา การ

    ประเมินอาการทางคลินิก ข้อบ่งชี ในการรับไว้ในโรงพยาบาลหรือจําหน่ายให้กลับบ้าน

  • 16

    ข้อบ่งชีในการรับไว้ในโรงพยาบาล

    - มีอาการหอบต่อเนืองมานานก่อนทีจะมาพบแพทย์ทีห้องฉุกเฉิน

    - ไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามแนวทางข้างต้นภายใน 1-3 ชั วโมง หรือหลังการรักษามี

    การอุดกั นของหลอดลมเพิมขึ น (PEF < 70% predicted หรือ personal best และ oxygen saturation

    < 95%)

    - มีประวัติปัจจัยเสียงสูง เช่น ป่วยทางจิต, เคยมีอาการจับหืดจนต้องนอนโรงพยาบาล,

    ผู้ ป่วยทีไม่ร่วมมือในการรักษา เป็นต้น

    การเฝ้าติดตาม และประเมินการรักษาการจับหืดในระยะเฉียบพลัน

    - ตรวจร่างกาย บันทึกชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เป็นระยะ ๆ

    - วัด oxygen saturation และหรือ PEF หากทําได ้

    - พิจารณาทํา arterial blood gas ในรายทีมีอาการรุนแรงมาก

    - ตรวจวัดระดับโปแตสเซียมในกรณีทีใช้ยา β2 agonist ติดต่อกันหลายครั งในขนาดสูง - �