pdf created with pdffactory pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/eq.pdfpdf created with...

139
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Upload: others

Post on 25-Dec-2019

88 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 2: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 3: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

อีคิว : ความฉลาดทางอารมณ (ฉบับปรับปรุง)เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ : 974 - 296 - 013 - 5พิมพคร้ังที ่4 : กรกฎาคม 2550จํานวนพิมพ : 1,000 เลมจัดพิมพโดย : สํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

ถนนติวานนท จังหวัดนนทบุรี 11000โทร. 0 2951 1387-8 โทรสาร. 0 2951 1384

ขอมูลบรรณานุกรมอีคิว : ความฉลาดทางอารมณ (ฉบับปรับปรุง)กาญจนา วณิชรมณีย วนิดา ชนินทยุทธวงศ บรรณาธิการพิมพคร้ังที ่4. นนทบุรี : สํานักพัฒนาสุขภาพจิต. 2550.

136 หนา.1. อีคิว 2. ความฉลาดทางอารมณ 3. ฉบับปรับปรุงISBN : 974 - 296 - 013 - 5

สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติหามลอกเลียนแบบสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธ์ิ

ผ ูเรียบเรียง : ผศ.เกียรติคุณ สมทรง สุวรรณเลิศพิมพที่ : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 4: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

จากสภาพปญหาพฤติกรรมของคนในสงัคมไทยทีเ่กดิข้ึนทุกชวงอายุต้ังแตวัยเด็ก เชน เด็กไมมีวินัย ด้ือ เอาแตใจตัวเอง ติดเกมชอบกินขนมไมมีประโยชน พอแมร ูสึกเลี้ยงลูกดวยความยากลําบากเมือ่เขาส ูวยัร ุนกม็ปีญหาการแสดงความรักไมเหมาะสมกบัวยั ไมรับผิดชอบตอการเรียน ตอหนาทีข่องลกูทีดี่ ตอสารเสพติด กาวราว ใชความรุนแรงบางรายมพีฤติกรรม ดังกลาว ตอเนือ่งถึงวยัผ ูใหญ และปญหาสงผลกระทบมากข้ึนทั้งตอตนเอง ครอบครัวและสังคม ซึ่งปญหาพฤติกรรมดังกลาวสวนใหญมีสาเหตุมาจากการขาดการสงเสริมหรือพัฒนาความฉลาดทางอารมณ (EQ) ต้ังแตในวัยเด็ก หรือแมแตเปนวัยร ุนหรือวัยผ ูใหญ(ซึ่งความฉลาดทางอารมณพัฒนาไดทุกชวงวัย) ดังนั้นเร่ืองของการสงเสริมหรือพัฒนาความฉลาดทางอารมณจึงยังเปนที่สนใจของพอแมครู ผ ูบริหารในสถานประกอบการ ในหนวยงานตางๆ อยางตอเนื่องโดยเฉพาะผ ูที่ทํางานเกี่ยวของกับการพัฒนาเด็ก หรือพัฒนาบุคลากร

กรมสุขภาพจิตตระหนักถึงความสําคัญของการสงเสริมความฉลาดทางอารมณของคนทุกวัย จึงไดจัดพิมพหนังสืออีคิว : ความฉลาดทางอารมณ (ฉบับปรับปรุง) ซึ่งเปนการพิมพคร้ังที ่4โดยเพิ่มเติมแบบประเมินความฉลาดทางอารมณและปรับปรุงรูปเลมใหมีความสะดวกในการนําไปใชตอไป

กรมสุขภาพจิต

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 5: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 6: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

หนาแนวคดิพืน้ฐานและโครงสรางของความฉลาดทางอารมณ

1 ความฉลาดทางอารมณคืออะไรและมีความสําคัญอยางไร................ 92 ประวัติ ความหมายและโครงสรางของความฉลาดทางอารมณ.......... 143 ความสําคัญและหนาที่ของอารมณ............................................... 234 ความสามารถทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณ............. 265 เจตโกศลหรือปรีชาเชิงอารมณ......................................................356 สุขภาพจิต ความสามารถทางเชาวนปญญา

และความฉลาดทางอารมณ........................................................ 387 ความฉลาดทางอารมณตามคํานิยามของกรมสุขภาพจิต.................. 41

8 สถานภาพการวัดความฉลาดทางอารมณ...................................... 43 9 การสรางแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ

และแนวทางการศึกษาวิจัย......................................................... 48พฒันาการทางอารมณและความฉลาดทางอารมณ

: พัฒนาการทางอารมณ.............................................................. 53: ความสําคัญของการอบรมเลี้ยงดูตอพัฒนาการทางอารมณของเด็ก.... 60

ความฉลาดทางอารมณกับความสําเร็จดานตาง ๆ: การใชความฉลาดทางอารมณกับตนเอง............................................65: ความฉลาดทางอารมณกับการทํางาน ............................................ 66: ความฉลาดทางอารมณกับความสําเร็จในการทํางาน........................ 68: ความฉลาดทางอารมณกับครอบครัว............................................. 69: ความฉลาดทางอารมณกับการศึกษา.............................................. 70

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ: ปรัชญาของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ............................... 73: การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ............................................... 75: แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสถานที่ทํางาน........... 78: แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในครอบครัว.................. 83: แนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสถานศึกษา............... 86

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 7: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ .......................................................... 99: แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก): แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง): แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู): แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง): แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับวัยร ุน (อายุ 12-17 ป): แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับผ ูใหญ (อายุ 18-60 ป)

เอกสารอางอิง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 8: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 9: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 10: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ประวัติความเปนมา

ในระยะแรกที่นกัจติวทิยาคิดและเขียนเกีย่วกบัเชาวนปญญา สวนใหญจะใหความสนใจกับความสามารถดานการฉลาดร ูของเชาวนปญญา (Cognitive) เชน ความจําและการแกปญหาแตก็มีนักจิตวิทยาหลายคนที่เร่ิมเห็นความสําคัญของความฉลาดร ูที่ไมเกี่ยวของกับเชาวนปญญา (non-cognitiveaspects) เชน เดวิด เวคสเลอร ไดใหคําจํากัดความของเชาวนปญญาวา “เปนความสามารถหลาย ๆดานรวมกนัของบคุคลในการกระทาํอยางมจีดุม ุงหมาย คดิอยางมเีหตุผลและจดัการกบัสิง่แวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ” นอกจากนี ้เวคสเลอรยังไดอธิบายเพิ่มเติมวาความฉลาดร ูที่ไมเกี่ยวของกับเชาวนปญญามีองคประกอบ 3 ดาน คือ อารมณ บุคคลและสังคม และแบบทดสอบเชาวนปญญาที่ไมรวมองคประกอบทั้ง 3 ดานนี้จะเปนแบบทดสอบที่ไมสมบูรณ นอกจากเวคสเลอรแลว นักจิตวิทยาอีกคนหนึ่งคือโรเบิรท ทอนไดค ซึ่งใหความสนใจดานเชาวนปญญาดานสังคม แตเปนที่นาเสียดายที่แนวคิดเหลานี้ไดถูก ละเลยในชวง ป 1937 เปนตนมา จนกระทั่งถึง ค.ศ.1983 เมื่อ การดเนอร เร่ิมเสนอแนวคิดวาความสามารถภายในของบุคคล (intrapersonal intelligence) และความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับบคุคลอ่ืน (interper sonal intelligence) มคีวามสําคญัทีค่วรทดสอบหรือประเมนิไดเชนเดียวกบัการทดสอบเชาวนปญญา (IQ) และการทดสอบชนิดอ่ืน ๆ

ตอมาไดมีขอมูลจากการศึกษาวิจัยจํานวนมากที่แสดงวาการเขาใจและยอมรับเปนคุณสมบัติที่สําคัญของการเปนผ ูนําที่มีความสามารถ โดยเฉพาะอยางย่ิงขอมูลจากการวิจัยชี้บงวาผ ูนําที่สามารถสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน ความนับถือและการสรางสัมพันธภาพที่อบอ ุนกับผ ูรวมงานจะเปนผ ูนําที่มีประสิทธิภาพ ไดมีองคกรหลายแหงที่ไดพัฒนาวิธีการประเมินหรือทดสอบความสามารถทางสังคมและอารมณ เชน การสื่อความหมาย ความไวในการรับร ู ความคิดริเร่ิมและทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบคุคล ดังนั้น เร่ิมต้ังแต ค.ศ.1990 เปนตนมา ไดมีการทําการศึกษาวิจัยกันอยางกวางขวางในเร่ืองบทบาทของความฉลาดร ูทีไ่มเกีย่วของกบัเชาวนปญญา (non-cognitive factors) ทีช่วยใหบคุคลประสบ ความสําเร็จในชีวิตและการทํางานซึ่งเปนพื้นฐานความร ูที่มีอิทธิพลตองานดานความฉลาดทางอารมณในระยะเวลาตอมา

ความสนใจยุคปจจุบันในเรื่องความฉลาดทางอารมณ

เมื่อซาโลเวยและเมเยอรเร่ิมใชคําวาความฉลาดทางอารมณใน ค.ศ.1990 ก็ไดใหความสนใจกับแนวคิดเกี่ยวกับความฉลาดร ูที่ไมเกี่ยวของกับเชาวนปญญา (non-cognitive aspects)ที่มีมากอนหนานี้ ซาโลเวยและเมเยอรไดอธิบายถึงความฉลาดทางอารมณวา “เปนรูปแบบหนึ่งของ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 11: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ความฉลาดทางสังคมที่ประกอบดวยความสามารถในการร ูอารมณและความร ูสึกของตนเองและผ ูอ่ืนสามารถแยกความแตกตางของอารมณที่เกิดข้ึนและใชขอมูลนี้เปนเคร่ืองชี้นําในการคิดและกระทําสิ่งตางๆ” ซาโลเวยและเมเยอรยังไดริเร่ิมโครงการศึกษาวิจัยเพื่อจะนําไปพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณที่มีความแมนตรงและศึกษาคนควาความสําคัญของความฉลาดทางอารมณดวย ดังตัวอยางการศึกษาวิจัยโดยใหคนกล ุมหนึ่งดูภาพยนตรที่ทําใหเกิดอารมณโกรธ เขาพบวาผ ูที่ไดคะแนนสูงในดานอารมณ ซึ่งเปนความสามารถที่จะบอกลักษณะอารมณและความร ูสึกที่ตนมีอย ูจะคืนส ูสภาพปกติไดเร็วกวา ในการศกึษาวจิยัอีกเร่ืองหนึง่พบวาผ ูที่ไดคะแนนสงูในความสามารถรับร ูอยางถูกตอง เขาใจและประเมินอารมณของบุคคลอ่ืน จะมีความยืดหย ุนมากกวาในการเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดลอมและสามารถสรางเครือขายที่ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันทางสังคม

ในตน ค.ศ.1990 ดาเนียล โกลแมน ไดใหความสนใจงานของซาโลเวยและเมเยอร ซึ่งเปนที่มาของการเขียนหนังสือเร่ืองความฉลาดทางอารมณ (Emotional Intelligence) โกลแมนเปนนักเขียนที่ใชหลักวิทยาศาสตรใหกบัหนงัสอืนิวยอรคไทมซึง่สาระที่เขียนจะเกีย่วของกบัการศกึษาวจิยัดานสมองและพฤติกรรม เขาไดรับการฝกอบรมเปนนักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยฮาวารดและไดทํางานรวมกับเดวดิ แมคคลแีลนด ซึง่เปนนกัวจิยัผ ูหนึง่ทีม่คีวามหวงใยเกีย่วกบัแบบทดสอบเชาวนปญญาแบบเกาทีท่ํานายความสําเร็จในชีวิตไดนอยมาก

เปนที่ทราบกันดีวา IQ ไมไดเปนขอมูลที่ดีในการอธิบายความสามารถในการทํางานฮันเตอรและฮันเตอร ไดประมาณวา IQ มีสวนเกี่ยวของเพียง 25% เทานั้น แตสเตอรนเบอรกแยงวาผลการศึกษาวิจัยจะแตกตางกันไปและอาจสรุปวา IQ มีสวนเพียง 10 % จะเปนการคาดคะเนที่ถูกตองมากกวา นอกจากนี ้ยังมกีารศกึษาวจิยัทีแ่สดงวา IQ มสีวนตอความสําเร็จนอยมากหรือประมาณ 4% เทานัน้

ตัวอยางการวิจัยอีกเร่ืองหนึ่งเกี่ยวกับขอจํากัดของ IQ ในการทํานายความสําเร็จ เปนโครงการ Sommerville Study ซึ่งเปนการศึกษาติดตามระยะยาวถึง 40 ป โดยศึกษาเด็ก 450 คนที่เติบโตและมีชีวิตอย ูใน Sommerville, Massachusetts. สองในสามของเด็กกล ุมนี้มาจากครอบครัวที่อย ูในโครงการสวัสดิการสังคมสงเคราะห และหนึ่งในสามม ี IQ ตํ่ากวา 90 อยางไรก็ตาม IQ มีความสมัพันธเพียงเล็กนอยกับความสามารถในการทํางานไดดีหรือกับการดําเนินชีวิตตอมาของเด็กกล ุมนี้ แตสิ่งที่แตกตางอยางมากคือความสามารถในวยัเด็ก เชน ความสามารถในการจดัการกบัความผิดหวงั การควบคมุอารมณและการเขากบับคุคลอ่ืนไดดี จะทาํนายความสําเร็จในดานตางๆ ไดดีกวา

ตัวอยางการวิจัยที่ ดีอีกเร่ืองหนึ่งคือการศึกษาผ ูที่ จบปริญญาเอกทางวิทยาศาสตร80 คน ทีไ่ดรับการทดสอบบคุลกิภาพ การทดสอบเชาวนปญญาและการสมัภาษณในชวงป 1950 เมือ่บคุคลเหลานี้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเบอรคเลย 40 ปตอมา เมื่อกล ุมตัวอยางนี้มีอายุเขาวัย 70 ตอนตนก็ไดรับการติดตามและประเมินความสําเร็จจากประวัติยอ การประเมินโดยผ ูเชี่ยวชาญตามสาขาวิชาและแหลงขอมูลเชน American Men and Women in Science จากการศกึษาติดตามผลนีพ้บวาความสามารถดานสังคมและอารมณมีความสําคัญเปน 4 เทาของ IQ ในการทําใหเกดิความสาํเร็จทางวชิาชีพและการไดรับการยกยองในความมีชื่อเสียง

ในปจจุบันดูจะเปนการไมถูกตองนักที่จะเสนอวาความฉลาดร ูดานเชาวนปญญาไมมีความสัมพันธกับความสําเร็จดานวิทยาศาสตรเลย แตความสามารถดานวิทยาศาสตรมีสวนพอสมควรที่ทําใหนักศึกษาผานการยอมรับใหเขาศึกษาระดับหลังปริญญาดานวิทยาศาสตรในมหาวิทยาลัยเบอรคเลย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 12: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

แตเมื่อไดเขาไปศึกษาแลว การเปรียบเทียบความสําเร็จขณะอย ูมหาวิทยาลัยกับเพื่อน ๆ มีความสัมพันธนอยมากกับความแตกตางของระดับ IQ แตจะมีความสัมพันธมากกวากับความสามารถทางสังคมและอารมณ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาในการเปนนักวิทยาศาสตรไดก็ควรจะม ีIQ 120 หรือสูงกวานี้เพื่อที่จะจบการศึกษาระดับปริญญาเอกและประสบความสําเร็จในการทํางานได แตสิ่งที่สําคัญมากกวานั้นคือความสามารถในการไมยอทอตอความลําบาก การเขากบัเพือ่นรวมงานและผ ูทีตํ่าแหนงตํ่ากวาแทนการที่จะม ีIQเพิ่มข้ึน 10 หรือ 15 คะแนน ความเปนจริงขอนี้พบเชนเดียวกับในวิชาชีพอ่ืน

อยางไรกต็าม เราควรระลกึไววาความฉลาดร ูทีเ่กีย่วของและไมเกีย่วของกบัเชาวนปญญามีความสัมพันธกันอยางมาก โดยความเปนจริงแลว มผีลการศกึษาวจิยัทีช่ีบ้งวาทกัษะทางอารมณและสงัคมมสีวนชวยใหความฉลาดร ูทางเชาวนปญญาทําหนาทีไ่ดดีข้ึน เชนในการวจิยัทีม่ีชือ่เสยีง คอื “Marshmallowstudies” ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด โดยทดลองในกล ุมเด็กอายุ 4 ป ซึ่งปลอยใหอย ูในหองตามลําพังกับขนมที่หวานและน ุมนวลที่เด็ก ๆ ชอบ โดยบอกเด็กวาเขาสามารถกินขนมในหองนี้ไดคนละ 1 ชิ้น แตถาเขาสามารถคอยจนกวานักวิจัยจะกลับมาโดยไมกินขนมเสียกอน เขาจะไดขนมเพิ่มอีก 1 ชิ้น 10 ปตอมานักวิจัยไดติดตามศึกษาเด็กทีเ่ขารวมโครงการวจิยักล ุมนี ้ ผลการวจิยัแสดงวาเด็กกล ุมทีส่ามารถอดกลัน้ตอความย่ัวยวนไดคะแนนจากแบบทดสอบทางสังคมมากกวาเด็กที่ไมสามารถรอคอยถึง 210 คะแนน

จากการยอมรับที่วาความฉลาดร ูทางเชาวนปญญามีบทบาทนอยมากในการชี้บงวาเหตุใดคนบางคนจึงประสบความสําเร็จมากกวาบุคคลอ่ืน จึงมีคําถามวามีขอมูลอะไรที่ชี้บงถึงความสาํคัญขององคประกอบของอารมณและสังคม โกลแมน (1995) ไดทําการศึกษาวิจัยเพื่อเขียนหนังสือเลมแรกซึ่งเขามีความค ุนเคยมากอนกับการศึกษาวิจัยจํานวนมากซึ่งชี้บงวาความสามารถทางอารมณและสังคมมีบทบาทสําคัญตอความสําเร็จของบคุคล งานวจิยัของโกลแมนมาจากการศกึษาบคุลกิภาพ จติวิทยาทางสังคมและบางสวนมาจากความร ูใหม ๆ ดานจิตประสาทวิทยา

คุณคาของความฉลาดทางอารมณกับการทํางาน

มารติน เซลิกแมน ไดพัฒนาโครงสรางที่เรียกวา “การเรียนร ูการมองโลกในแงดี” ซึ่งหมายถึงบุคคลที่มีคุณลักษณะเปนคนเขาใจเหตุผลเมือ่ตองเผชิญกับความลมเหลวหรือเมื่อเกิดความยอทอในการวิจัยที่ Met Life เซลิกแมนและผ ูรวมวิจัยพบวาพนักงานขายที่เขาใหม ซึ่งเปนคนมองโลกในแงดีสามารถทาํยอดขายประกนัภยัไดมากกวาพนกังานผ ูมองโลกในแงรายถึง 37 % ในชวง 2 ปแรก เมื่อบริษทัไดตกลงจางบุคคลกล ุมพิเศษที่ไดคะแนนสงูดานการมองโลกในแงดี แตคะแนนไมผานในการ คัดเลอืกตามปกติ คนกล ุมนี้สามารถทํายอดขายไดมากกวาพวกมองโลกในแงราย 21% ในการทํางานปแรก และ 57%ในปที่ 2 และทํายอดขายโดยเฉลี่ยได 27%

ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการมองโลกในแงดีอีกเร่ืองหนึ่ง เซลิกแมนไดทดสอบนักศึกษาปแรก 500 คน ทีม่หาวทิยาลยัเพนซลิเวเนยี เขาพบวาคะแนนจากแบบทดสอบการมองโลกในแงดีสามารถทํานายความสาํเร็จในการเรียนไดดีกวาผลการทดสอบทางสงัคมหรือคะแนนทีไ่ดรับในระดับมธัยมปลาย

ความสามารถในการจัดการกับความร ูสึกและความเครียดเปนคุณสมบัติอีกประการหนึ่ งของความฉลาดทางอารมณที่ มีความสําคัญมากตอความสําเร็จ จากการศึกษาในผ ูจั ดการคลังสินคาขายปลีกพบวาความสามารถในการจัดการกับความเครียดสามารถทํานายยอดขายทั้งหมดและ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 13: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ยอดขายตอลูกจางแตละคน รวมทั้งผลจากการลงทุนไดความฉลาดทางอารมณมีสวนเกี่ยวของอยางมากกับการร ูว าจะแสดงอารมณที่มีอย ู

เมื่อใด อยางไร โดยมีการควบคุมที่ ดี เชน ในการศึกษาทดลองที่มหาวิทยาลัยเยลของซิกดัลบารเซด (1998,1998) เขาไดใหอาสาสมัครสมมุติตนเองเปนผ ูจัดการที่มารวมกล ุมกันเพื่อจัดสรรเงินปนผลใหแกผ ูทํางานในระดับตํ่ากวา มีนักแสดงที่ไดรับการฝกมากอนรวมอย ูในกล ุมนี้ดวย เขาพบวานกัแสดงมกัจะพดูเปนคนแรกเสมอ นกัแสดงกล ุมหนึง่มคีวามร ูสกึกระตือรือรน อีกกล ุมหนึง่มีความผอนคลายทีเ่หลอืมีลกัษณะซมึเศรา เชือ่งชาและยังมบีางกล ุมทีม่คีวามหงดุหงดิ ไมเปนมติร ผลการวจิยัชีบ้งวานกัแสดงสามารถโนมนาวกล ุมดวยอารมณและความร ูสกึทีดี่ซึง่นาํไปส ูความรวมมอืซึง่กนัและกนั ความยุติธรรมและการทํางานของกล ุมโดยรวม ผลการวิจัยยังชี้บงดวยวากล ุมที่มีอารมณร่ืนเริงมีความสามารถดีกวาในการจัดสรรเงินปนผลไดอยางยุติธรรมและเปนผลดีแกองคกรนั้น ๆ ผลการศึกษาที่คลายคลึงกันของบาคแมน(1988) มีขอมูลที่แสดงวาหัวหนาหนวยนาวีของสหรัฐอเมริกาที่มีความสามารถนั้นมีลักษณะเปนคนที่อบอ ุน มีการแสดงออกทางอารมณที่เหมาะสม ไมเก็บตัวและมีทักษะทางสังคมดี

ตัวอยางการวิจัยอีกเร่ืองหนึ่งเปนเร่ืองที่แสดงวาการเขาใจและยอมรับความร ูสึกของผ ูอ่ืนมีความสําคัญเปนพิเศษตอความฉลาดทางอารมณ และนักวิจัยทั้งหลายก็ไดยอมรับกันมานานปแลววาคุณสมบติันีม้ีสวนสงเสริมใหบคุคลประสบความสําเร็จในการประกอบอาชพี โรเซนทาล (1977) และเพือ่นรวมงานจากมหาวิทยาลัยฮาวารดไดคนพบในชวง 2 ทศวรรษที่ผานมาวาบุคคลที่สามารถรับร ูและเขาใจความร ูสึกของผ ูอ่ืนไดอยางดี เปนบุคคลที่ประสบความสําเร็จทั้งในดานการทํางานและชีวิตดานสังคมเมื่อไมนานมานี้มีการสํารวจกล ุมผ ูซือ้ปลกีทีใ่หความสาํคญัอันดับแรกกบัความสามารถรับร ูและเขาใจความร ูสกึของผ ูอ่ืนซึง่ไดรายงานวาสิง่ทีเ่ขาตองการมากทีส่ดุคอืผ ูขายทีเ่ปนผ ูรับฟงทีดี่และเขาใจอยางแทจริงวาเขาตองการและมีความสนใจเร่ืองอะไร

ผ ูเ สนอบทความนี้ ไดสรุปผลตัวอยางการวิจัยจํานวนมากที่แสดงวาความฉลาดทางอารมณมีความสําคัญตอความสําเร็จในการงานและการดําเนินชีวิต อยางไรก็ตาม ขอมูลเหลานี้ก็คอนขางธรรมดาไมใชสิ่งแปลกใหมและอาจทําใหเกิดความเขาใจผิดไดเชนกัน ทั้งโกลแมนและเมเยอรกับซาโลเวยและคารูโซก็ไดมีการโตแยงกันวาความฉลาดทางอารมณตามลําพังอาจไมสามารถทํานายไดเต็มที่เกี่ยวกับการทํางาน แตความฉลาดทางอารมณจะปูพื้นฐานไปส ูความมีประสิทธิภาพในการทํางานมากกวาโกลแมนไดพยายามเสนอแนวคิดนี้โดยพยายามแยกความแตกตางระหวางความฉลาดทางอารมณ(emotional intelligence) และประสทิธิภาพทางอารมณ (emotional competence) ความฉลาดทางอารมณหมายถึงทักษะดานบุคคลและสังคมที่นําไปส ูการกระทําที่มีคุณภาพเหนือกวาในโลกของการทํางาน สวนประสิทธิภาพทางอารมณมีความสัมพันธและมีรากฐานมาจากความฉลาดทางอารมณ ความฉลาดทางอารมณเปนสิ่งจําเปนในการเรียนร ูที่จะใชความสามารถทางอารมณอยางเหมาะสม เชน ความสามารถในการรับร ูไดอยางถูกตองวาผ ูอ่ืนกําลังร ูสึกอยางไร จะชวยใหบุคคลนั้นพัฒนาความสามารถพิเศษ เชนการมีอิทธิพลเหนือผ ูอ่ืนได ในทํานองเดียวกนับคุคลทีส่ามารถจดัการกบัอารมณไดดีกวาจะร ูสกึวาเปนการง ายสําหรับเขาที่ จะพัฒนาความสามารถในการใชอารมณที่ นําไปส ูก ารมีความคิด ริ เ ร่ิมหรือการมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิ ความฉลาดทางอารมณเหลานี้เปนสิ่งที่เราตองหาวิธีประเมินเพื่อใหทราบไดแนชัดและวิธีการวัดควรจะตองมีคุณสมบัติในการทํานายการกระทําไดอยางแมนตรงดวย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 14: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

k k k k k

บทสรุป

มีคําถามวามีอะไรแปลกใหมเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณบาง คําตอบก็คือในแงมุมหนึง่ความฉลาดทางอารมณไมใชเปนเร่ืองใหมแนนอน แตโดยขอเทจ็จริงแลวเปนเร่ืองทีม่รีากฐานจากประวตั ิอันยาวนานของการศกึษาวจิยัและทฤษฎทีางบคุลกิภาพและสงัคม เชนเดียวกบัจติวิทยาดานการทดสอบเชาวนปญญา (IQ) ย่ิงไปกวานั้น โกลแมน ก็ไมเคยอวดอางอะไรที่นอกเหนือไปจากนี ้ และโดยความเปนจริงแลวประเด็นหนึง่ทีโ่กลแมนใหความสนใจคอืความสามารถที่มคีวามสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณไดรับการนาํไปศกึษาวจิยัโดยนักจติวทิยาเปนเวลาหลายป และยังมกีารศกึษาวจิยัใหม ๆ เพิม่ข้ึน ซึง่แสดงวาความสามารถเหลานี้มีความสําคัญตอความสําเร็จหลายดานในชีวิต

อยางไรก็ตาม ผ ูเขียนบทความเชือ่วาแทนทีจ่ะมาถกเถียงกนัวาความฉลาดทางอารมณเปนเร่ืองแปลกใหมหรือไม จะเปนการมีประโยชนมากกวาทีจ่ะใหความสนใจในการพจิารณาวาความฉลาดทางอารมณมีความสําคัญตอการทํางานที่มีประสิทธิภาพอยางไร แมวาผ ูเขียนจะไมไดรายงาน ครอบคลุมมากนักในเร่ืองดังกลาว กไ็ดชี้ใหเห็นวาในปจจบุนัมีการศกึษาวจิยัจาํนวนมากที่ชี้บงวาความสามารถของบุคคลในการรับร ูจากการเห็น การระบุไดชัดเจนถูกตอง และการจัดการกับอารมณไดอยางเหมาะสมเปนพื้นฐานสําหรับความมปีระสิทธิภาพดานสังคมและอารมณที่มีความสําคัญตอความสําเร็จไมวาในงานใด ๆย่ิงกวานัน้ขณะที่มีการเปลีย่นแปลงอยางรวดเร็วเพิม่ข้ึนและโลกของการทาํงานกจ็ะทวคีวามตองการเพิม่ข้ึนสําหรับบุคคลที่มีความฉลาดทางเชาวนปญญา อารมณและความสมบูรณทางรางกาย เนื่องจากความสามารถเหลานี้จะมีความสําคัญเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ และเปนขาวดีของนักจิตวิทยาดาน IQ เพราะบุคคลเหลานี้จะเปนผ ูที่ชวยใหผ ูรับบริการไดความฉลาดทางอารมณเพื่อปรับปรุงทัง้ผลผลติและความร ูสึกดีทางจติใจในการอย ูในที่ทํางานในภายหนา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 15: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

ความฉลาดทางอารมณ หมายถึง การรับร ู เขาใจและปรับอารมณไดเหมาะสมเพื่อเปนแหลงพลังงานของบุคคล การร ูขอมูล ความไววางใจ ความคิดสรางสรรคและอิทธิพลของความฉลาดทางอารมณ

Bar-On ไดประสบการณจากการทาํงานทางคลนิกิซึง่เร่ิมต้ังคําถามวาเหตุใดคนบางคนจึงมีสภาพอารมณที่มั่นคงมากกวาคนอ่ืน และเหตุใดคนบางคนจึงประสบความสําเร็จในชีวิตมากกวาคนอ่ืน

ไดมีการทบทวนความร ูเกีย่วกบัองคประกอบ ความสามารถ ทกัษะและสมรรถภาพทีน่ําไปส ูความสําเร็จโดยทั่วไป ความสําเร็จในการมีและคงไวซึง่สขุภาพอารมณที่ดีและเปนที่ชัดเจนวากญุแจสําคัญในการทักทายความสําเร็จไมไดหรือไมเกีย่วของกบัความฉลาดดานเชาวนปญญา เพราะคนทีฉ่ลาดบางคนไมประสบความสําเร็จในชีวิต

นักจิตวิทยาพยายามใหคําจํากัดความของ “เชาวนปญญา” มาเกือบศตวรรษและคาเชาวนปญญายังไมปรากฏกอนป 1900 และไมปรากฏใน Dictionary of Philosophy และ Psychologyของ Baldwin ใน 1902

ตอมาจนถึงป 1927 ก็ยังไมมีการพูดถึงเชาวนปญญาเนื่องจากความลําบากในการใหคําจาํกดัความของเชาวนปญญา แตมกีารสรางแบบทดสอบเชาวนปญญาข้ึนเปนจาํนวนมาก จงึดูเหมอืนวาเปนการงายที่จะวัดเชาวนปญญามากกวาใหความหมายของเชาวนปญญา

คําจํากัดความของ David Wechsler ดูจะคอนขางมีประโยชนและมีความหมายทีเ่กีย่วพันกับความสามารถอ่ืน ๆ นอกเหนือจากการรับร ูดานเชาวนปญญา (Cognitive inlelligence)

Wechsler 1958 ไดใหคําจาํกดัความของเชาวนปญญาวาเปนความสามารถหลาย ๆ ดานรวมกนัของบคุคลในการกระทําอยางมจีดุม ุงหมาย คิดอยางมีเหตุผล และใชความสามารถในการจัดการกับสิ่งแวดลอมอยางไดผล

Wechsler กลาววาคําจาํกดัความทีร่วมความสามารถในการปรับตอตัวสถานการณและมคีวามสาํเร็จในการเผชญิกบัเหตุการณทีเ่กดิข้ึนในชวีติในความหมายนี ้ เปนไปไดทีจ่ะรวม non-cognitiveintelligence (emotional, personal and social) ควบค ูไปกับ Cognitive intelligence

ที่จริงแลว Wechsler ไดเคยอภปิรายเกี่ยวกบั non – intellective factors of intelligenceมาต้ังแตตอนตนป 1940 แมวาจะเนนความสนใจในดาน Cognitive intelligence มากอน

ความสามารถดานเชาวนปญญาที่วัดเปน IQ ชี้บงถึงความสามารถในการเขาใจเรียนร ู จดจํา คิดอยางมีเหตุผล แกปญหาและใหประสบการณจากการเรียนร ู

สวน non - cognitive intelligence ซึง่วดัเปน EQ ใหความหมายทีล่กึซึง้กวา มคีวามหมายกวาง ๆ เกี่ยวของกับ personal , emotional social+survival dimension of intelligence และมีความสาํคญัตอการดําเนนิชวีติประจาํวนัมากกวา cognitive intelligence พวก non – cognitive intelligence

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 16: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

มคีวามหมายเกีย่วของกบัความสามารถในการเขาใจตนเองและผ ูอ่ืน การติดตอสมัพนัธกบับคุคล การปรับตัวจหรือเผชิญกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น การวัดคุณภาพอารมณก็คือการวัดความสามารถของบุคคลในการจดัการกบัสิง่แวดลอมไดอยางมปีระสทิธิภาพและดําเนนิชวีิตไดอยางสอดคลองกบัโลกภายนอกความหมาย ของ non - cognitive intelligence ดังกลาวแลวเปนทีม่าของการพฒันาแบบวดัคณุภาพอารมณ

Goleman 1995 ไดพัฒนาหนังสือชื่อ Emotional Intelligence ทําให non - cognitiveintelligence เปนที่ร ูจักกันแพรหลาย Goleman ไดปรับปรุงรูปแบบที่เนนวา non - cognitive intelligenceมีการเปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต ทักษะทางอารมณและสังคมสามารถเพิ่มความสามารถของบุคคลในการกระทําไดดีข้ึนและประสบความสําเร็จในชีวิต

เชนเดียวกับ Bar–On Goleman ไดอางถึงแนวคิดของ Wechsler เกี่ยวกับ non -intelligence aspects ของ general intelligence ดังขอเขียนของ Wechsler ที่วา

“non - intelligence aspect มคีวามสาํคญั เปนความสามารถดานอารมณและความร ูสกึเปนองคประกอบจําเปนทีม่อิีทธิพลตอพฤติกรรมที่จดัวาเปนความฉลาด” และถาขอคดิเห็นดังกลาวเปนจริงเราก็ไมสามารถหวังที่จะวัดเชาวนปญญาทั้งหมดไดครบถวนนอกจากจะรวมการวัด non - intelligencefactors เขาไปดวย (Wechsler 1940)

Wechsler เสนอแนะวาแบบวดัเชาวนปญญาทีท่ําข้ึนคร้ังแรกใน 1939 เปนความพยายามที่จะวัด Cognitive รวมทั้ง non - cognitive aspects of intelligence ซึ่ง Wechsler ไดพูดถึงขอทดสอบยอย Picture Arrangement และ Comprehension ซึ่งทดสอบความสามารถทางสังคม

Doll (1935, 1953) เปนอีกคนหนึง่ทีพ่ยายามจะวดั non - cognitive aspects ของเชาวนปญญา โดยสราง Vineland Social Maturity scale เพื่อวัดความสามารถดานสังคมซึ่งเปนแบบวัดที่ใหผลเปน SQ หรือ Social Quotient จากกราฟของ Wechsler & Doll ทําใหเห็นวาบคุคลทัง้สองพยายามที่ศึกษาเร่ือง non - cognitive intelligence ซึ่งเร่ิมมาต้ังแตป 1930

Leeper 1948 ไดเสนอวาความคดิดานอารมณเปนสวนหนึง่และมสีวนเสริมการคิดอยางมีเหตุผลและเชาวนปญญาโดยทั่วไป

Howard Gardner 1983 ไดขยายความคดิทีม่ีกอนหนานีแ้ละเสนอวาเชาวนปญญา เปนที่รวมขององคประกอบหลายดาน มีทั้ง Cognitive และ non - cognitive intelligence หรือตามที ่ Gardnerเรียกวา personal intelligence และองคประกอบสําคัญ 2 ดานที่รวมอย ูในความหมายของเชาวนปญญาโดยรวม คือ intrapsychic และ capacities skill

มีการวิจัยที ่ UCLA ซึ่งแสดงวา 7 % ของความสําเร็จในการเปนผ ูนํามสีวนเกีย่วของกับความฉลาดร ู และ 93% เปนผลจากคุณสมบัติอ่ืนไดแก ความไววางใจ ความสมดุล การรับร ูความเปนจริงความซื่อสัตย ความเปนอย ู และการมีอํานาจเหนือ คุณสมบัติดานเชาวนปญญาเหลานี้ เปนความหมายที่มาของ EQ

การวิจัยทางวิทยาศาสตรแสดงใหเห็นวา EQ ไมใช IQ หรือความสามารถทางสมองแตเพียงอยางเดียวที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจที่ดีที่สุดและเปนสวนที่นําไปส ูความสาํเร็จในชวีิต

นอกจากนี้ยังมีการวิจัยจํานวนมากที่ยืนยันวา EQ มีสวนผลักดันใหเกิดผลผลิตเพิ่มข้ึนมีการคิดคนสิ่งใหม ๆ รวมทั้งความสําเร็จของทีมและองคกรและของบุคคล คนที่มี EQ สูงจะเพิ่มโอกาสและความสามารถในการใชพลังเพื่อใหไดผลที่ดีกวา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 17: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

อารมณเปนสวนประกอบในธรรมชาติของมนุษย จากพื้นฐานดานอารมณเราโตตอบตอเหตุการณในชีวิตไดหลายวิธี เชน ความโกรธ ความสุข ความกลัว ความรัก ความเงียบเหงาวาเหว

อารมณมีอิทธิพลตอความคิดและการกระทําของเรา มีอิทธิพลตอความตองการ มีผลตอรางกายและสัมพันธภาพของเรากับบุคคลอ่ืน อารมณไมใชสิ่งที่ควรปฏิเสธหรือเก็บกดไว แตถารับร ูอยางเขาใจและมีเปาหมายกจ็ะกลายเปนผ ูชวยทีดี่หรือเปนเคร่ืองมอืปองกันในทางดี ความสามารถในการจัดการกับอารมณในทางบวกจะเปนองคประกอบสาํคญัของสขุภาพทีดี่ เปนพืน้ฐานของความสขุ ความกระตือรือรนในชีวิตและความสามารถในการรักผ ูอ่ืน

ความฉลาดทางอารมณตามแนวคิดของนักจิตวิทยา

Howard Gardner นักจิตวิทยาจาก Howard School of Education จําแนกความฉลาดทางอารมณใน 2 ลักษณะ

1. Interpersonal intelligence- การรับร ูและตอบสนองตออารมณและความตองการของผ ูอ่ืนอยางเหมาะสม

2. Intrapersonal intelligence- การรับร ูอารมณของตนเองและสามารถแยกแยะ ตลอดจนจัดการกับอารมณของตนเองซึ่งนําไปส ูพฤติกรรมที่เหมาะสม

Peter Salovey แบงความฉลาดทางอารมณเปน 5 ประเด็น1. การร ูจักอารมณตนเอง หรือการตระหนักร ูในตนเอง เขาใจความร ูสึกที่เกิดข้ึน

สามารถแสดงอารมณไดอยางเหมาะสมในสถานการณตาง ๆ ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่นําไปส ูการเขาใจตนเองในดานจิตใจ

2. การจัดการกับอารมณ เปนความสามารถในการควบคมุความวติกกงัวล ความโกรธความเศราหมองและเขาใจถึงผลของความลมเหลวทีท่ําใหขาดทกัษะทางอารมณ บคุคลทีไ่มสามารถจดัการกับอารมณของตนเองจะเต็มไปดวยความร ูสึกเศรา หมดหวัง ในขณะที่คนซึ่งมีความฉลาดทางอารมณสูงจะสามารถเอาชนะปญหาตาง ๆ และแกไขตนเหตุที่ทําใหเกิดอารมณไมปกติได

3. การมีแรงจูงใจในตนเอง เปนความสามารถในการใชอารมณใหเปนแรงจูงใจในการทําสิ่งตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมาย และเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหบุคคลมีความสนใจสิ่งตาง ๆ มีแรงจูงใจและความคิดสรางสรรค คนที่มีความสามารถสูงในดานนี้มักเปนคนที่มีการต่ืนตัวและประสบความสําเร็จเสมอไมวาในการกระทําสิ่งใด

4. การร ูจักและเขาใจอารมณของบุคคลอื่น ความสามารถดานนี้เปนพื้นฐานของความสัมพันธระหวางบุคคล คนที่ร ูจักและเขาใจอารมณของผ ูอ่ืนจะมีความร ูสึกไวและละเอียดออนในการเขาใจวาผ ูอ่ืนตองการอะไรซึ่งเปนคุณสมบัติที่ดีของวิชาชีพที่เกี่ยวของกับการใหความชวยเหลือเอ้ืออาทรบุคคลอ่ืน เชน จิตแพทย นักจิตวิทยา และครู เปนตน

5. ความสามารถในการจัดการดานความสัมพันธระหวางบคุคล เปนความสามารถและทักษะในการจัดการกับอารมณของผ ูอ่ืนในทางที่เหมาะสมทําใหตนเปนที่ยอมรับของบุคคลอ่ืนเปนผ ูนํา ที่ มีความสามารถ บุคคลที่ มีความสามารถสู งในดานนี้ จะประสบความสําเร็จในเร่ืองตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเสริมสัมพันธภาพที่ราบร่ืนและเปนที่ชื่นชอบของบุคคลอ่ืน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 18: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

โดยทั่วไปบุคคลจะมีความแตกตางและความมากนอยไมเทากันในความสามารถแตละดาน การขาดทักษะและความฉลาดทางอารมณเปนสิ่งที่แกไขและพัฒนาใหดีข้ึนได เพราะความสามารถทั้ง 5 ดาน ดังกลาวแลวแสดงถึงลักษณะนิสัยและปฏิกิริยาในการโตตอบซึ่งไดจากการอบรมเลี้ยงดูมาต้ังแตวัยเด็ก ซึ่งถาไดรับการเรียนร ูใหมที่ ถูกตองและเหมาะสมก็จะชวยใหแตละบุคคลมีความฉลาดทางอารมณที่สูงข้ึนได

Wagner & Sternberg 1985กิจกรรมของผ ูฉลาดดาน practical intelligence จะเอ้ือความสําเร็จในวิชาชีพและ

การบริหารชีวิต แบงเปน 3 ดาน1. การครองตน (Managing self )

- บริหารจัดการตนเองใหไดผลผลิตสูงสุด- กระต ุนและชี้นําตนเองใหม ุงส ูผลสัมฤทธ์ิ

2. การครองคน (Managing others)- ทักษะการบริหารผ ูใตบังคับบัญชาและสัมพันธภาพทางสังคม

3. การครองงาน (Managing career)- สรางผลกระทบที่ดีตอสังคม องคกร ประเทศชาติ

Salovey & Mayer 1994ความฉลาดทางอารมณ เปนทักษะการปรับตัว 3 แบบ1. ข้ันร ูตน

- ประเมินภาวะอารมณไดถูกตอง- รับร ู ระบุ จําแนกอารมณที่เกิดข้ึนกับตนเองและนําไปส ูการปรับตัวที่แสดงออกทางอารมณ

2. ข้ันควบคุมอารมณ- กํากับดูแลภาวะอารมณของตนเองและผ ูอ่ืนอยางถูกตอง เหมาะสมกับโอกาส

3. ข้ันใชความฉลาดทางอารมณ - มีความคิดสรางสรรค- คิดอยางมีเหตุผล

Mayer & Salovey 1977แสดงรูปแบบในการปรับปรุงความฉลาดทางอารมณที่ประกอบดวย 4 ดาน1. การรับร ูและประเมินการแสดงออกของอารมณ2. การเกื้อหนุนการคิดของอารมณ3. การเขาใจวิเคราะหและการใชความร ูสึกเกี่ยวกับอารมณ

- ใครครวญ ควบคุมตนเอง เพื่อพัฒนาตอไป

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 19: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

1.1 ตระหนักร ูความร ูสึก ความตองการและความหวงใยของผ ูอ่ืน

1.2 มีจติใจม ุงบริการ รับร ู ตอบสนองความตองการของ ผ ูอ่ืน1.3 พัฒนาผ ูอ่ืน ทราบความตองการและสงเสริม1.4 สรางโอกาสในความหลากหลาย1.5 ตระหนักร ูทัศนะและความคิดเห็นของกล ุม

มีความคลองแคลวในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงคจากความรวมมือของผ ูอ่ืน2.1 โนมนาวไดผล2.2 สื่อสารชัดเจน นาเชื่อถือ2.3 เปนผ ูนําโนมนาวกล ุม2.4 กระต ุนใหเปลี่ยนแปลง2.5 บริหารความขัดแยง เจรจา แกไข2.6 สรางสายสัมพันธ เสริมสรางความรวมมือ2.7 รวมมือรวมใจกับผ ูอ่ืนเพื่อม ุงส ูเปาหมาย2.8 สมรรถนะของทมี มัน่ใจในความสามารถและคณุคา

ของตน

3.1 ร ูเทาทันอารมณตน สาเหตุ ผล3.2 ประเมินตนตามความเปนจริง3.3 มั่นใจในความสามารถและคุณคาของตน

4.1 ควบคุมและจัดการกับสภาวะอารมณได4.2 ไววางใจได รักษาความซื่อสัตยและคุณความดี4.3 ใชสติปญญา ความรับผิดชอบ4.4 สามารถปรับตัว ยืดหย ุน จดัการกบัความเปลีย่นแปลง4.5 สรางสิ่งใหม เปดใจกวางกับแนวคิดขอมูลใหม

5.1 แรงจงูใจใฝสมัฤทธ์ิ พยายามปรับปรุงใหไดมาตรฐาน ดีเลิศ5.2 จงรักภักดี ยึดมั่นเปาหมายของกล ุม5.3 ความคิดริเร่ิม พรอมปฏิบัติตามโอกาส5.4 มองโลกในแงดี แมมีอุปสรรคไมยอทอ

Goleman 1998มีกรอบแนวคิดเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณดังนี้

ก. สมรรถนะทางสังคมการสรางและรักษาสัมพันธภาพ

1. เอาใจเขาใสใจเรา

2. ทักษะทางสังคม

ข. สมรรถนะสวนบุคคลบริหารจัดการตนเองอยางไร

3. การตระหนักร ูตนเอง

4. การควบคุมตนเอง

5. การสรางแรงจงูใจและแนวโนมของอารมณที่เกื้อหนุนการม ุงส ูเปาหมาย

ความหมายองคประกอบยอยหมวด/องคประกอบ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 20: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

Cooper and Sawaf 1997เสนอรูปแบบของความฉลาดทางอารมณ ซึ่งประกอบดวย 4 ดานที่สําคัญ

1. ความรอบร ูทางอารมณ ร ูเทาทันอารมณตนเอง ความซือ่สัตยทางอารมณ อารมณที่มีพลัง การรับทราบผล

2. ความเหมาะสมทางอารมณ สามารถหย่ังร ูตามความเปนจริง การแผความไวเนือ้เชือ่ใจ การแสดงความไมพอใจในเชงิสรางสรรค ปรับ ยืดหย ุน ร ูกาละเทศะ กลบัคนืส ูสภาพปกติทางอารมณและการเดินหนา

3. ความลึกซึ้งทางอารมณ - การผูกพัน รับผิดชอบ มีสติ- มีเปาหมาย ศักยภาพโดดเดน- พูดกับทําตรงกันดวยคุณธรรม- โนมนาวโดยไมใชสิทธ์ิ อํานาจ

4. ความไปกันไดทางอารมณ- ใชอารมณทีน่ําไปส ูความคิดสรางสรรค- การแสดงหย่ังร ู คิดใครครวญได เล็งเห็นโอกาส สรางอนาคต

โครงสรางความฉลาดทางอารมณ ของ Bar - On

การจัดองคประกอบของ Bar-On EQ-i แบบ Systematic View1. Intrapersonal

1. Emotional self - awareness2. Assertiveness3. Self – Regards4. Self – actualization5. Independence

2. Interpersonal6. Empathy7. Social responsibility8. Interpersonal relationship

3. Adaptability9. Reality testing10. Flexibility11. Problem solving

4. Stress management12. Stress tolerance13. Impulse control

5. General Mood14. Optimism15. Happiness

]PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 21: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การจัดองคประกอบของ Bar-On EQ-i แบบ Topographical Approach

องคประกอบหลัก (Core Factors)1. Emotional Self – Awareness2. Assertiveness3. Empathy4. Reality Testing5. Impulse Control

องคประกอบเสริม (Supporting Factors)6. Self – Regard7. Independence8. Social Responsibility9. Optimism10. Flexibility11. Stress Tolerance

องคประกอบผลลัพธ (Resultant Factors)12. Problem Solving13. Interpersonal Relationship14. Self-Actualization15. Happiness

องคประกอบท่ีจัดวา สําคัญท่ีสุด ของ Non-Cognitive Intelligence Bar-On EQ-i

องคประกอบหลัก (Core Factors)1. Emotional – Self Awareness2. Assertiveness3. Empathy

องคประกอบเสริม (Additional Core Factors)4. Reality Testing5. Impulse Control

องคประกอบผลลัพธ (Resultant Factors)6. Interpersonal Relationship7. Self-Actualization8. Happiness

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 22: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

- “ฉันร ูสึกทนไมได” VS “นี่เปนเร่ืองเหลวไหล”

- “ฉันร ูสึกขมข่ืน เสียใจ” VS “คุณเปนคนไมไดเร่ือง

อยางมาก ๆ”

- “ฉันร ูสึกกลัว” VS “คุณขับรถเร็วราวกับคนโง”

ความคดิ “ฉันร ูสึกคลายกับวา….” “ฉันร ูสึกราวกับ

วา…..” “ฉันร ูสึกวา…….”

ความร ูสึก “ฉันร ูสึก……”

“ฉันร ูสึกอิจฉา” VS “คุณทําใหฉันร ูสึกอิจฉา”

“ฉันจะร ูสึกอยางไรถาทําสิ่งนี”้ VS

“ฉันจะร ูสึกอยางไรถาฉันไมทํา”

ใชการถามวา “คุณร ูสึกอยางไรถาฉันทําสิ่งนี”้

VS “คุณจะร ูสึกอยางไรถาฉันไมทําสิ่งนี”้

ใชสิ่งที่คนอ่ืนเรียกวา “ความโกรธ” เพื่อชวยใหตนเองมี

พลังในการกระทําในทางสรางสรรค

แสดงความเห็นอกเห็นใจ เขาใจและยอมรับความ

ร ูสึกของผ ูอ่ืน

มักถามตนเองวา “ฉันร ูสึกอยางไร” “อะไรจะทําใหฉันร ู

สึกดีข้ึน”

มีความเขาใจดีวาผ ูไดรับการกระทําดังกลาวจะร ูสึกไมดี

และพยายามหลีกเลี่ยงการกระทําเหลานั้น

เลอืกในการเกีย่วของกบัคนอ่ืนทีม่คีวามฉลาดทางอารมณ

สงู ใหมากทีส่ดุเทาทีจ่ะทาํได

1. รับร ูอารมณของตนเองมากกวาโทษ

ผ ูอ่ืนหรือสถานการณ

2. สามารถแยกแยะระหวางความคิด

และความร ูสึก

3. มคีวามรับผิดชอบตอความร ูสกึของตนเอง

4. ใชความร ูสึกเพือ่ชวยการตัดสินใจ

5. แสดงความนบัถือในความร ูสกึของผ ูอ่ืน

6. ร ูสึกวาถูกกระต ุนแตไมโกรธ

7. เขาใจความร ูสึกของผ ูอ่ืน

8. ฝกการหาคุณคาในทางบวกจาก

อารมณในทางลบ

9. ไมแนะนํา สัง่ ควบคุม วพิากษวิจารณ

ตัดสินหรือสั่งสอนผ ูอ่ืน

10.หลีกเลี่ยงบุคคลที่ไมยอมรับหรือไม

เคารพความร ูสึกของบุคคลอ่ืน

ลักษณะนิสัย 10 ประการของผ ูมีระดับความฉลาดทางอารมณสูง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 23: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

Daniel Goleman กลาววาคนที่ความฉลาดทางอารมณสูงควรมีคุณสมบัติ ดังนี้- มีวุฒิภาวะทางอารมณ- มีการตัดสินใจที่ดี- ควบคุมอารมณตนเองได- มีความอดกลั้น- ไมหุนหันพลันแลน- ทนความผิดหวงัได- เขาใจจิตใจผ ูอ่ืน- เขาใจสถานการณทางสังคม- ไมยอทอหรือยอมแพงาย- สามารถส ูปญหาชีวิตได- ไมปลอยใหความเครียดทวมทนจนทําอะไรไมถูก

]k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 24: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เราคงจะเคยไดยินมาวาการกระทําของบคุคลบางคนมาจากหัวใจมากกวาสมอง เชนแมที่เสี่ยงภัยชวยชีวิตลูกใหปลอดภัยในอุบัติเหตุโดยไมนึกถึงอันตรายใด ๆ หัวใจในที่นี้ก็คืออารมณที่ผลักดันบุคคลใหเผชิญกับสถานการณที่สําคัญ ๆ เกินกวาที่ความฉลาดทางเชาวนปญญาจะคิดแกไขได

อารมณแตละรูปแบบทําหนาที่พรอมที่จะนําไปส ูการกระทําและชี้นําทิศทางที่ไดผลในการใหบคุคลจดัการกบัสถานการณตางๆ ทีเ่กดิข้ึน ขณะทีส่ถานการณเหลานัน้เกดิข้ึนซ้ําแลวซ้ําอีก การกระทําซึ่งเปนผลจากการชี้นําของอารมณก็จะถูกบันทึกไวซ้ํา ๆ เชนเดียวกับในระบบประสาทจนกลายเปนปฏิกิริยาอัตโนมัติที่ทําใหบุคคลทําสิ่งตางๆ ตามความปรารถนาของหัวใจ

เราร ูว าในประสบการณหลากหลายที่ทําใหบุคคลตองมีการตัดสินใจและนําไปส ูการกระทํา ความร ูสึกจะเขามามีสวนมากกวาความคิดในทุกๆเร่ือง การพิจารณาธรรมชาติของมนุษยโดยละเลยอิทธิพลของอารมณ เปนการมองแบบเดียวกับคนสายตาสั้นที่มองสิ่งตาง ๆ ไดไมชัดเจน เพราะโดยแทจริงแลวไมวาในเหตุการณดีหรือรายที่เกดิข้ึน ความฉลาดหรือเชาวนปญญาจะไมมีความหมายเลยถาขาดอารมณเขามามีสวนดวย

คําวา “อารมณ” หรือในภาษาอังกฤษวา Emotion มาจากคําภาษาลาตินวา‘motere” เปนคํากริยาทีแ่ปลวา “เคลือ่นไหว” (To move) เมือ่เติม e นําหนา กห็มายถึง “เคลือ่นไหวจาก”ซึ่งแสดงถึงคุณสมบัติของอารมณ และมีสวนรวมอย ูเสมอในการกระต ุนใหเกิดการกระทําสิ่งตาง ๆ

จากการศึกษาหนาที่ของสมองพบวาอารมณทําหนาที่เตรียมสภาพรางกายใหมีปฏิกริยาโตตอบในลักษณะตาง ๆ เชน เมื่อโกรธก็จะมีการไหลเวียนของโลหิตมาที่มือทําใหงายตอการหยิบจับอาวุธหรือตอยค ูตอส ู การเตนของหัวใจจะดีข้ึน มีการหลั่งสารแอดรีนาลินที่นําไปส ูการมีพละกําลังที่แข็งแรงพอที่จะกระทําการใด ๆ ที่ตองมีการตอส ูอยางรุนแรง

ในบรรดาการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ๆ ทางสรีระหรือรางกายของบุคคล อารมณสุขจะเพิ่มการทาํงานของศนูยกลางในสมองทีส่กดักัน้ความร ูสกึทางลบไมใหเกดิข้ึนและจะเพิม่พลงังานในการกําจัดความคิดวิตกกังวลใหหมดไปโดยไมมีปฏิกิริยาทางรางกายอยางอ่ืนนอกจากความสงบและพึงพอใจซึ่งทําใหรางกายฟนจากสิ่งกระต ุนทางรางกายไดเร็วกวาเมื่อมีอารมณโกรธ

บุคคลที่พูดวาตนไมเสียใจหรือสนใจวาอะไรจะเกิดข้ึน แตขณะที่พูดก็มีน้ําตาคลอแสดงถึงการมสีภาวะทางจติใจสองอยางในเวลาเดียวกนั ไดแก สวนทีเ่ปนความคดิและสวนทีเ่ปนความร ูสึก ทั้งความร ูสึกและความคดิจะทาํงานรวมกนัอยางสอดคลองเปนสวนใหญ ขณะเดียวกนักม็คีวามเปนอิสระจากกนัรวมอย ูดวยและสมองจะทําหนาทีใ่หเกดิการเชือ่มโยงระหวางอารมณและความคิดเขาดวยกนั

บุคคลที่มีความฉลาดทางอารมณสูงหรือมีทักษะทางอารมณที่ไดรับการพัฒนามาเปนอยางดีจะเปนบุคคลที่ รับร ู เขาใจและจัดการกับความร ูสึกของตนเองไดดี รวมทั้งเขาใจความร ูสึกของผ ูอ่ืนมกัประสบความสาํเร็จและความพงึพอใจในชวีิต สามารถสรางสรรคงานใหมๆ ตรงขามกบับคุคลทีไ่มสามารถควบคมุอารมณจะเปนคนทีเ่ต็มไปดวยความขัดแยงภายในจติใจ ทําใหหมดสมาธิในการทํางานและมีความคิดที่ไมปลอดโปรง

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 25: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

Weisinger 1998 ใหแนวทางชวยเสริมสรางความฉลาดทางอารมณ วา- ใหโอกาสไดรับร ู ตีความหมายและแสดงอารมณไดถูกตอง- ใหใชอารมณนั้น ๆ กับตนเองและผ ูอ่ืน- ใหเขาใจอารมณและความร ูสึกที่ไดรับ- ควบคุมอารมณและเอาชนะ สรางพฤติกรรมในทางบวก

การเลี้ยงดูเด็กเด็กมีแนวโนมที่จะมีลักษณะอารมณ การรับร ูและสนองตอบทางอารมณเฉพาะมาแลว

ต้ังแตตนโดยการเลี้ยงดูและสิ่งแวดลอมจะมีสวนทําใหลักษณะอารมณของเด็กมีรูปแบบชัดเจนเมื่อโตข้ึน

แนวคิดทางประสาทวิทยา

การศึกษากลไกทางสมองเพื่ออธิบายที่มาของอารมณJoseph Ledoux ประสาทแพทยจากมหาวิทยาลัยนิวยอรคพบวาสมองสวน Lymbic

จะมีวงจรและเปนสมองทีเ่กีย่วของกบัอารมณโดยเฉพาะ มีวงจรชัดเจน สวน Hippocampus เปนตัวสําคญัในการรับร ูทางอารมณ ทําใหรางกายตอบสนองในรูปแบบตาง ๆ

สมองสวน Lymbic มวีงจรประสานกบั Neocortex ซึง่พบในสตัวชัน้สงูเทานัน้ ทําหนาที่ในการเรียนร ู วางแผนและจดจํา ถา Lymbic ทํางานอยางเดียว เชน เจอง-ูหนี ไมพอใจ-ตอย แตถามีneocortex ดวยจะใชเหตุผลประกอบและตอบสนองอยางเหมาะสม

แนวคิดทางจิตวิทยา

คนเราตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ โดย emotion และ cognition ประสานกันเสมอนกัจติวทิยาใหคําอธิบายวา มนษุยทกุคนมจีติใจ 2 ลกัษณะ คอื อารมณ (emotional mind)

กบัเหตุผล (rational mind) ถาทัง้สองอยางทํางานอยางสมดุล คนจะมคีวามสขุ ถาไมสมดุลกจ็ะมคีวามทกุขและเกิดปญหา

ความฉลาดทางอารมณข้ึนกับอะไร สามารถเปลี่ยนแปลงไดหรือไม- เปนความฉลาดและความสามารถทางสมองอยางหนึ่ง- จะดีหรือไมข้ึนอย ูกับพันธุกรรม พื้นอารมณ สิ่งแวดลอมและการเลี้ยงดู- ไดรับการสอนและเปลี่ยนแปลงได

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 26: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

การสอนความฉลาดทางอารมณ

พอแม - ใหเด็กรับร ูตนเอง- สอนใหเด็กจัดการกับอารมณตนเอง- สอนใหร ูจักรอคอย มีวินัย ร ูจักตนเอง- ร ูจักเขาใจคนอ่ืน เห็นอกเห็นใจคนอ่ืน- ใหร ูจักสรางสัมพันธภาพและผูกมิตรกับผ ูอ่ืน

โรงเรียน - จําลองประสบการณดานตาง ๆ- กิจกรรมกล ุม- สรุปเปนการเรียนร ูและเกิดทักษะทางอารมณ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 27: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เดิมเขาใจกันวาเชาวนปญญา หรือ IQ สามารถทํานายความสําเร็จของบคุคลได แตโดยแทจริงแลว IQ มีสวนเกีย่วของ 20 % เทานั้นในการชีบ้งถึงความสาํเร็จในชวีติ

ความร ุงเรืองของการทดสอบเชาวนปญญา เร่ิมตนระหวางสงครามโลกคร้ังที่หนึ่ง เมื่อคนอเมริกันถูกคัดเลือกใหเปนทหารโดยใชแบบทดสอบ IQ ซึ่งเปนการใหเขียนตอบในกระดาษ (paper &pencil) ผ ูที่คิดแบบทดสอบคือ Lewis Terman นักจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยแสตนฟอรด ในระยะเวลานั้นคนสวนใหญจะสนใจกันแตวาคนเกงหรือไมเกง ฉลาดหรือโง และมีความเห็นตรงกันวาเชาวนปญญานั้นไดมาจากพันธุกรรมไมสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขได

ความฉลาดทางอารมณเปนแนวคิดใหม เมื่อเทียบกับ IQ ซึ่งเปนที่ร ูจักกันมากวา 100 ปไมมใีครบอกไดแนนอนวาความฉลาดทางอารมณมบีทบาทแตกตาง กันมากนอยเพียงใดในการดําเนินชวีิตของแตละบุคคล แตมีขอมูลที่แสดงวาความฉลาดทางอารมณมีอํานาจหรือความสําคัญมากกวา IQ และในขณะทีม่ีการกลาววา IQ ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได แตความฉลาดทางอารมณสามารถเรียนร ูและพฒันาไดต้ังแตวยัเด็ก

โกลแมน (Goleman) เปนคนแรกที่ใหความสนใจกับความฉลาดทางอารมณ (EmotionalIntelligence) โดยอธิบายวาเปนความสามารถในการสรางแรงจูงใจตนเอง ไมยอทอตอการเผชิญความผิดหวังหรือความไมสมปรารถนา สามารถควบคุมความตองการที่รุนแรงไมใหแสดงออกโดยขาดการยับย้ังปรับความร ูสึ กเศราหมองที่เปนอุปสรรคตอความสามารถในการคิดใหหมดไปและชวยใหเกิดความเห็นอกเห็นใจและความหวัง

กอนหนานี ้ไดมีนกัจติวิทยาหลายคนที่เสนอแนวความคิดเกีย่วกบัเชาวนปญญาวาไมนาจะมีแตเฉพาะความสามารถในการรับร ู มีไหวพริบ การเขาใจปญหาที่เปนนามธรรมและการคิดอยางมีเหตุผลเทานั้น เชนการดเนอร (Gardner) มีความเห็นวาเชาวน ปญญาจะรวมความสามารถดานบคุคล (PersonalIntelligence) ซึง่มอีงคประกอบทีส่าํคญั คอื

1. ความสามารถดานความสมัพนัธระหวางบคุคล (Interpersonal Intelligence) เปนความสามารถในการเขาใจบุคคลอ่ืน ร ูวาอะไรที่กระต ุนบุคคลเหลานั้นใหทํางานและแสดงการกระทําตางๆสามารถทีจ่ะทาํงานรวมกบับคุลอ่ืนไดอยางราบร่ืน หัวใจสาํคัญของความสามารถดานความสัมพันธระหวางบุคคลจะรวมถึงความสามารถใน การแสดงออกหรือมีปฏิกริยาโตตอบที่เหมาะสมตออารมณ ความร ูสึกแรงกระต ุนและความปรารถนาของบุคคลอ่ืน

2. ความสามารถภายในของบุคคล (Intrapersonal Intelligence) ซึ่ง เปนความสามารถในการร ูจกัตนเองในดานความร ูสกึและการแสดงออกอยางเหมาะสม มีภาพพจนตอตนเองในทางดี ตระหนกัในศักยภาพของตนเอง ใชศักยภาพในทางสรางสรรคและการมีเปาหมายในการดําเนินชีวิต

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 28: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

อยางไรก็ตาม การดเนอรก็ยังไมไดอธิบายอยางกวางขวางในอีกแงมุมหนึ่งคือเร่ืองบทบาทและความสําคัญของอารมณและความร ูสึกที่เปนเร่ืองของจิตใจ แตจะใหความสนใจดานการรับร ูและเขาใจ ( cognition ) ซึ่งทําใหความหมายเดิมของ IQ เปลี่ยนแปลงไป และมีการสรางแบบทดสอบที่ประเมินความฉลาดทางอารมณที่ใหผลเปน EQ (Emotional Quotient ) ซึ่งเปนที่ร ูจักกันอยางแพรหลายในปจจบุนั

ความสามารถท่ีแตกตางกันของบุคคลท่ีมี IQ และ EQ สูงหรือตํ่า

ในความเปนจริงแลว IQ และ EQ ไมใชความสามารถที่ตรงกันขามเลยทีเดียว แตจะมีความแตกตางกันอย ูบาง IQ และ EQ จะมีความสัมพันธหรือคลายคลงึกนัในบางดาน แมวาจะไมสามารถชีบ้งใหชัดเจนไปไดกต็าม

ตอไปนี้เปนขอแตกตางของบุคคลที่ม ีIQ และ EQ สูง ทั้งในเพศชายและหญิงชายท่ีม ี IQ สูง จะมีความสามารถหลายดานไดแก ความสามารถในการสรางสรรค

ผลงาน มีความมุมานะพยายาม เชื่อถือได ไมมีความลําบากในการตองคอยหวงใยตนเอง มักชอบการวิพากษวิจารณ คอนขางจะเก็บกด ไมแสดงออกและไมมีความผูกพันทางอารมณที่ลึกซึ้งกับผ ูอ่ืนหรือดูเปนคนเย็นชา

ชายท่ีม ี EQ สูง จะเปนคนที่มีทักษะในการเขาสังคม เปดเผย และอารมณร่ืนเริง มักไมใครหมกม ุนอย ูกับความกลวัหรือวติกกงัวล มคีวามสามารถสงูในการทาํความตกลงกบับคุคลอ่ืน มคีวามรับผิดชอบและมีหลักการ เปนคนมีความเขาใจและเห็นใจบุคคลอ่ืน มีความพอใจทั้งในตนเองและผ ูอ่ืนมีทัศนะที่ดีตอสังคมสิ่งแวดลอมที่ตนมีชีวิตอย ู

หญิงท่ีมี IQ สูง เปนคนที่เชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง สามารถแสดงความคดิเห็นไดรวดเร็ว สนใจและใหคณุคากบัเร่ืองเกีย่วของกบัความฉลาด ความสวยงาม แตมกัมแีนวโนมทีจ่ะคดิเกีย่วกบัตนเอง หมกม ุนกบัความวติกกงัวลและความร ูสกึผิดไดงาย มคีวามลงัเลทีจ่ะแสดงอารมณโกรธอยางเปดเผย แมจะแสดงออกในบางคร้ังก็เปนการแสดงออกทางออมและไมตรงไปตรงมา

หญงิท่ีม ีEQ สูง มีแนวโนมที่จะเปนคนมีความเชื่อมั่น สามารถแสดงความร ูสึกไดอยางตรงไปตรงมา มีทัศนะที่ดีเกี่ยวกับตนเองและชีวิต และเชนเดียวกับบุคคล EQ สูงเพศชาย บุคคล EQ สูงเพศหญิงจะเปนคนชอบเขาสังคม แสดงอารมณไดอยางเหมาะสม แทนการแสดงออกโดยขาดการควบคุมและมาร ูสึกเสียใจในภายหลัง สามารถปรับตัวตอปญหาไดดี มีทักษะในการติดตอกับผ ูอ่ืน มีความพอใจตนเอง มีการแสดงออกที่เปนไปตามธรรมชาติและพรอมในการรับประสบการณใหม ๆ มักไมมีความวิตกกังวลหรือความร ูสึกผิดซึ่งตองทําใหหมกม ุนจนเปนความทุกข

โดยสรุปแลวแตละบุคคลจะมีทั้งความฉลาดทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณ ความสามารถทั้ง 2 ดานนี้จะผสมผสานเขาดวยกัน แตความฉลาดทางอารมณจะเพิ่มคุณภาพที่ทําใหบุคคลเปนมนุษยที่สมบูรณไดมากกวาความฉลาดทางเชาวนปญญา

]

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 29: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในสภาวะปจจุบนัที่มคีวามผันผวนทางสงัคม เศรษฐกจิ ซึง่นาํไปส ูปญหาตาง ๆ ทีบ่คุคลทุกเพศและวัยตองเผชญิอยางหลกีเลีย่งไมได บางคนหรือบางกล ุมกส็ามารถดําเนนิชีวติอย ูไดดวยการปรับตนเองใหเขากับสถานการณในสิ่งแวดลอมและแกปญหาไดบางตามศักยภาพที่มีอย ู แตก็มีคนอีกเปนจํานวนมากที่ร ูสึกทอแท สิ้นหวัง เกิดความเครียดมาก ไมสามารถจัดการกับปญหาที่เกิดข้ึนและอาจหาทางออกทีไ่มถูกตอง เชน การฆาตัวตายเพือ่หนจีากปญหา มคีนเปนจํานวนไมนอยทีโ่ทษสภาวะสิง่แวดลอมภายนอกวาเปนตนเหตุของปญหาทัง้หมดโดยไมพจิารณาความบกพรองของตนเอง คาดหวังวาการแกไขปญหานาจะมาจากบุคคลอ่ืนและควรคลี่คลายสภาวะแวดลอมใหดีข้ึนตามที่ตนตองการซึ่งเปนไปไดยากหรืออาจเปลี่ยนแปลงไมไดเลย อนึ่ง ความเจริญกาวหนาทางการสื่อสารและเทคโนโลย่ีสมัยใหมที่เกิดข้ึนในยุคโลกาภิวัฒนก็เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งซึ่งทําใหบุคคลไดรับขาวสารทั้งที่เปนประโยชนและโทษนอกจากนี้ การพัฒนาทางเทคโนโลย่ียังมีสวนใหคนหันมาสนใจทางดานวัตถุมากกวาความสําคัญดานจติใจ ซึง่โดยแทจริงแลวการมสีภาพจติใจทีเ่ปนสขุจะเปนพลงัสวนหนึง่ทีท่ําใหบคุคลสามารถเผชญิกบัปญหาและหาแนวทางแกไขที่เหมาะสมได

การที่บุคคลมีสภาพจติใจที่เปนสขุหรือเปนผ ูมีสขุภาพจติดีนัน้ มคีวามหมายวาบคุคลนัน้ไมเพียงแตปราศจากอาการโรคจิต โรคประสาทที่เห็นไดชัดเจนเทานั้น แตยังสามารถปรับตัว มีความสุขกบัสงัคมและสิง่แวดลอมไดดี มสีมัพนัธภาพดีงามกบับคุคลอ่ืน มชีวีติอย ูไดดวยความสบาย สมดุล สามารถสนองตอบความตองการของตนในโลกที่เปลี่ยนแปลงนี้ไดโดยไมมีขอขัดแยงภายในตนเอง แนวปรัชญาทางพุทธศาสนาก็ไดใหความหมายของสุขภาพจิตซึ่งเนนการยึดถือปฏิบัติตนตามศีลธรรม บุคคลที่ปฏิบัติไดตามคาํสัง่สอนของพระพทุธเจาจะมจีติใจสงบ เยือกเย็น ยอมรับตนเองและการเปลีย่นแปลงตาง ๆ ปฏิบติัตนอย ูในศลี กาย วาจาและใจ มสีติพจิารณาสิง่ทัง้หลายใหร ูเห็นเทาทนัตามความเปนจริง ไมถูกครอบงําดวยความยินดี ยินรายและมีความเปนมิตรกับคนอ่ืน

จากที่กลาวมาแลวขางตน จะเห็นไดวา การมีสภาพจิตใจที่เปนสุขได มิใชเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ แตตองไดรับการปลูกฝงและพัฒนาตลอดเวลา โดยเฉพาะต้ังแตวัยเด็กเปนตนมาและยังตองข้ึนอย ูกับองคประกอบหลายดานที่เอ้ืออํานวย ไดแก สภาพความสมบูรณของรางกาย ความสามารถทางเชาวนปญญา ความฉลาดทางอารมณและสิ่งแวดลอมทีดี่ ในทีน่ีจ้ะไดขยายความเฉพาะองคประกอบที่สําคัญ 2 ดาน คอื ความสามารถทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณซึ่งในปจจุบันนี้เปนเร่ืองที่อย ูในความสนใจของประชาชนทั่วไป

IQ ความสามารถทางเชาวนปญญา

ในระยะเวลาทีผ่านมาเปนที่เขาใจกันวาเชาวนปญญา (INTELLIGENCE) เปนคุณสมบัติที่พึงประสงคสําหรับทุกคนเพราะเชาวนปญญาจะนําไปส ูความสําเร็จในการเรียนการประกอบอาชีพและความสําเร็จในชีวิต พอแมผ ูปกครองสวนใหญตองการใหลูกเรียนดี ไดเขาเรียนในสถาบันการศึกษาที่มี

IQ EI EQ

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 30: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ชื่อเสียง จนในบางคร้ังก็มีการเรงรัดและต้ังความคาดหวังไวสูงเกินความสามารถที่มีอย ู ซึ่งทําใหเด็กและวยัร ุนเกดิความเครียด ดังมตัีวอยางใหเห็นวาเด็กทีฆ่าตัวตายเพราะเขาสถาบนัการศกึษาทีต่นตองการไมไดหรือถูกตําหนิโดยพอแมผ ูปกครองเมื่อไดคะแนนในการเรียนไมสูงเทาที่ผ ูใหญตองการ

วิธีหนึ่งที่จะบงชี้วาบุคคลมีเชาวนปญญาสูงหรือตํ่าไดจากการทดสอบเชาวนปญญาซึง่แบบทดสอบสวนใหญจะใหผลเปน IQ (INTELLIGENCE QUOTIENT) อยางไรก็ตาม การบอกใหทราบถึงระดับเชาวนปญญานั้น ไมจําเปนตองใชเปน IQ เสมอไป ทั้งนี ้ ข้ึนอย ูกับลักษณะแบบทดสอบและวิธีการคิดคะแนนที่แตกตางกัน รวมทั้งเชาวนปญญาดานตาง ๆ ที่ตองการประเมิน ดังนั้น เมื่อพูดถึง IQกจ็ะตองเขาใจควบค ูไปดวยวาเปนผลจากการทดสอบแบบใด จงึพบไดวาผ ูม ีIQ สงูในแบบทดสอบหนึง่ อาจมีIQ ตํ่าไดในอีกแบบทดสอบหนึ่ง โดยเฉพาะถาเปนแบบทดสอบทีป่ระเมนิความสามารถพเิศษซึง่บคุคลที่รับการประเมินมีความสามารถตํ่า

แบบทดสอบเชาวนปญญาที่ไดรับการพัฒนาข้ึนใชคร้ังแรกเปนของอัลเฟรด บิเนท(ALFRED BINET) นักจิตวิทยาชาวฝร่ังเศส ซึ่งสรางข้ึนในป ค.ศ. 1905 โดยมีวัตถุประสงคในการแยกบุคคลปญญาออนจากคนปกติเพื่อใหการศึกษาไดอยางเหมาะสม แตเดิมนั้น ผลการทดสอบของบิเนทแสดงเปนปและเดือน และเรียกวาอายุสมอง (MENTAL AGE) ซึ่งจะชี้บงวาผ ูไดรับการทดสอบมีอายุสมองหรือความสามารถสมระดับอายุ ตํ่ากวาหรือสูงกวา เมือ่เปรียบเทยีบกบัอายุจริง (CHRONOLOGICALAGE) ซึ่งเปนอายุตามปฏิทิน ตอมาเพื่อใหมีการใชวธีิที่จะอธิบายระดับเชาวนปญญาไดดีย่ิงข้ึน จึงมีการนําอายุสมอง (MA) มาเทียบอัตราสวนกับอายุจริง (CA) แลวคูณดวย 100 เพื่อใหไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มที่ชี้บงระดับเชาวนปญญา หรือ

แตผ ูที่ ใชคํา IQ เพื่ อบอกระดับเชาวนปญญาเปนคร้ังแรกคือวิลเลียม สเตอรนใน ค.ศ. 1911 ตอมาเมื่อไดมกีารพฒันาแบบทดสอบเชาวนปญญาใหมข้ึนเปนจํานวนมาก ก็ไดมีการคดิวธีิในการบอกระดับ IQ แตกตางออกไป แลวแตวิธีการทางสถิติที่ใช เชน การหาคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปนตัวกําหนดระดับเชาวนปญญา นอกจากนี้ แบบทดสอบแตละชนิดอาจมีวิธีแสดงผลการทดสอบที่สอดคลองกับวัตถุประสงคและความสามารถที่ทดสอบ เชน แบบทดสอบพัฒนาการของเกเซลใหผลเปน DQ (DEVELOPMENTAL QUOTIENT) หรือแบบทดสอบ VINELAND SOCIAL MATURITYSCALE ของดอลล ซึ่งวัดความสามารถดานสังคมก็มีผลคือ SQ (SOCIAL QUOTIENT) ดังนั้น ผ ูที่สนใจในเร่ืองการทดสอบเชาวนปญญาควรไดตระหนักถึงขอแตกตางนี้และเขาใจคําวา IQ ไดอยางถูกตอง

แบบทดสอบเชาวนปญญาสวนใหญจะมีขอทดสอบที่ประเมินความสามารถหลาย ๆดานรวมกัน เชน ความสามารถในการเรียนร ูและรับการศึกษาได ความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผลมีไหวพริบในการแกปญญาที่ย ุงยากซับซอน การกระทําอยางมีจุดม ุงหมายไดอยางรวดเร็ว และความสามารถดานความจํา เปนตน แบบทดสอบเชาวนปญญาของเดวดิ เวคสเลอร เปนตัวอยางที่ดีแบบหนึ่งที่ทดสอบความสามารถตาง ๆ ดังกลาวแลว นอกจากจะสนใจทดสอบความสามารถดานเชาวนปญญา(COGNITIVE INTELLIGENCE) แลว เวคสเลอรยังมีความสนใจและใหความสําคัญเกือบจะเทาเทียมกันในการทดสอบเชาวนปญญาคือความสามารถที่เรียกวา NON COGNITIVE INTELLIGENCE ดังจะเห็นไดจากการทีเ่วคสเลอรไดใหความหมายของเชาวนปญญาเมือ่สรางแบบทดสอบข้ึนในป ค.ศ. 1939 และ 1958วา “เชาวนปญญาเปนความสามารถหลาย ๆ ดานรวมกันของบุคคลในการกระทําอยางมีจุดม ุงหมายคิดอยางมีเหตุผล และใชความสามารถในการจัดการกับสิ่งแวดลอมไดอยางเหมาะสม” เวคสเลอรยังมี

IQ = MA 100CA X

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 31: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

ความเห็นวาคําจํากัดความนี้รวมความสามารถในการปรับตัวตอสถานการณและการมีความสําเร็จในการเผชิญกับเหตุการณที่ เกิดข้ึนในชีวิต ในความหมายนี้เปนไปไดที่จะรวม NON COGNITIVEINTELLIGENCE ซึ่งเนนในเร่ืองอารมณ ลักษณะสวนตัวของบุคคลและสังคมควบค ูไปกับการประเมินเชาวนปญญา เนื่องจาก NON COGNITIVE INTELLIGENCE มีสวนสําคัญในการชวยใหบุคคลใชเชาวนปญญาที่มีอย ูไดอยางเต็มที่และเหมาะสม

E I (EMOTIONAL INTELLIGENCE) ความฉลาดทางอารมณ

จากจุดเร่ิมตนที่เวคสเลอรไดใหความสําคัญกับ NON COGNITIVE INTELLIGENCEก็ไดมีนักจิตวิทยาอีกจํานวนมากที่ไดศึกษาในเร่ืองนี้และมีความเห็นสอดคลองกันวา NON COGNITIVEINTELLIGENCE มีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตประจําวันมากกวา COGNITIVE INTELLIGENCEหรือความสามารถทางเชาวนปญญา เนือ่งจากมคีวามเกีย่วของกบัความสามารถในการเขาใจตนเองและผ ูอ่ืนการติดตอสัมพันธกับบุคคล การปรับตัวหรือเผชิญกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง และความสามารถเหลานี้มีความสัมพันธกับความเฉลียวฉลาดและความรอบร ูทางอารมณซึ่ งรวมเรียกวา EMOTIONALINTELLIGENCE ( EI )

ผ ูที่ทําใหคํา EMOTIONAL INTELLIGENCE เปนที่ร ูจักกันแพรหลายจนถึงปจจุบันไดแก ดาเนียล โกลแมน (DANIEL GOLEMAN) ซึ่งไดเขียนบทความลงใน READER’S DIGEST เร่ือง“ What’s Your Emotional IQ ? ” ในป ค.ศ. 1996 และไดเขียนเกี่ยวกับเร่ือง EMOTIONALINTELLIGENCE ใน THE EDUCATION SUNDAY JOURNAL ในป ค.ศ. 1997 ในระยะกอนหนาและใกลเคียงกันนี้ก็ไดมีนักจิตวิทยาอีกหลายทานที่ไดศึกษาเร่ือง EMOTIONAL INTELLIGENCE เชนการดเนอร ไวซิงเกอร เมเยอรและซาโลเวย คูเปอรและสวาฟ บารออน เปนตน บุคคลเหลานี ้ ใหความหมายความฉลาดทางอารมณแตกตางกนัไป ทัง้นี ้ข้ึนอย ูกบัความสนใจและภมูิหลงัดานประสบการณในการทํางาน แตโดยสรุปแลวจะเนนโครงสรางของความฉลาดทางอารมณทีส่ําคัญ 3 ดานคอื ความสามารถทางสังคม การสรางและรักษาสมัพนัธภาพ (INTERPERSONAL INTELLIGENCE) ความสามารถสวนบคุคลในการตระหนักร ู เข าใจอารมณตนเองและแสดงออกอยางเหมาะสม (INTRAPERSONALINTELLIGENCE) และความสามารถดานการปรับตัวทางอารมณ (ADAPTABILITY)

ในปจจบุนันีเ้ปนทีป่รากฏชดัเจนแลววาความฉลาดหรือการมเีชาวนปญญาสงู ไมเพยีงพอทีจ่ะทําใหบคุคลประสบความสาํเร็จในชวีติ ดังจะเห็นจากตัวอยางเปนจาํนวนมากทีค่น IQ สงู อาจมปีญหาในการเรียนเพราะใชความสามารถไดไมเต็มที่ มีปญหาในการเขาใจและยอมรับอารมณของตนเอง ทําใหนําไปส ูปญหาการปรับตัวและการไมสามารถสรางสัมพันธภาพกับเพื่อนหรือผ ูรวมงานได ดังนั้น ความสามารถทางเชาวนปญญาจงึเปนเพียงสวนประกอบหนึ่งเทานัน้ แตหากบุคคลใดมีความฉลาดทางอารมณดวยจึงจะทําใหบุคคลนั้นมคีวามพรอมทั้งในดานการเรียน การงาน ครอบครัว การดําเนินชีวิตสวนตัวและอย ูรวมกับผ ูอ่ืนในสังคม

มีการศึกษาวิจัยจํานวนมากที่แสดงวาความฉลาดทางอารมณหรือ EMOTIONALINTELLIGENCE เปนแหลงพลงัเบือ้งตนของมนษุย เปนความทะเยอทะยาน แรงผลกัดันความร ูสกึและการมเีปาหมายในชีวิต จากการศึกษาวิจัยทีม่หาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ลอสแองเจสิส มีขอมูลท ี่แสดงวา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 32: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ความสําเร็จในการเปนผ ูนําเปนผลจากความสามารถทางเชาวนปญญาเพียง 7% และอีก 93 % เปนผลมาจากคุณสมบัติอ่ืนๆ ทีร่วมเรียกวาความฉลาดทางอารมณ นอกจากนี ้ ยังมีการศึกษา ซึง่ยืนยัน ขอเท็จจริงที่วาความฉลาดทางอารมณมีอิทธิพลหรือมีส วนผลักดันใหเกิดการคิดคนใหมๆ ที่ถือวาเปนความสําเร็จของบุคคลและขององคกรโดยรวม

ในทางพุทธศาสนา พระราชวรมุนี (ประยูรธมมจิตโต) ใหความหมายของความฉลาดทางอารมณวาการใชปญญากาํกบัอารมณทีอ่อกมาใหมเีหตุผล เปนการแสดงอารมณความร ูสกึออกมาในแตละสถานการณ โดยถือวาอารมณหรือความร ูสึกนั้นเปนพลังใหเกิดความประพฤติ ซึ่งถาพลังขาดปญญากาํกบักเ็ปนพลงับอด ปญญาจงึเปนตัวทีจ่ะกาํกบัชวีติของเราใหการแสดงออกเปนไปในทางถูกตอง ซึง่ถาพจิารณาในความหมายนี้ ทัง้ความสามารถทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณมีความสมัพันธเกีย่วของกนั

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) ไดกลาวถึงความฉลาดทางอารมณวา อารมณคอื สภาพจตินั่นเอง และสภาพจิตก็โยงไปถึงพฤติกรรมความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม เพราะอารมณหรือสภาพจิตนั้นอาศัยพฤติกรรมเปนชองทางสื่อสารการแสดงออก เมื่ออารมณหรือสภาพจิตไดรับการพัฒนา ชี้ชองนําทางขยายขอบเขตและปลดปลอยดวยปญญาใหสือ่สารแสดงออกไดผลดีดวยพฤติกรรมทางกาย วาจา กน็บัไดวาระบบความสมัพนัธแหงพฤติกรรม จติใจและปญญาเขามาประสานบรรจบเปนองครวม ซึง่เมือ่ดําเนนิไปอยางถูกตองกจ็ะอย ูในภาวะสมดุล ใหเกดิผลดีทัง้แกตนเองและคนอ่ืน ตลอดจนสงัคมและสิง่แวดลอมทัง้หมด

EQ (EMOTIONAL QUOTIENT)

ความหมายของ EQ (Emotional Quotient) และ Emotional Intelligence (EI) มักจะมีความสัมพันธกัน และบางคร้ังก็ใชแทนกัน อยางไรก็ตาม เมื่อพูดถึง EI จะเกี่ยวโยงกับโครงสรางดานตาง ๆ ของความฉลาดทางอารมณ แต EQ มีความหมายเกี่ยวของกับผลที่ไดจากการวัดหรือประเมิน EIซึ่งจะบอกใหทราบระดับของความฉลาดทางอารมณ เชนเดียวกับ IQ ซึ่งชีบ้งระดับความสามารถที่ไดจากแบบทดสอบเชาวนปญญา ระดับ EQ จากแบบประเมินตาง ๆ จะชี้บงวาบุคคลที่ไดรับการประเมินมีความฉลาดทางอารมณดานใดที่อย ูในระดับควรแกไข ระดับทํางานไดอยางเปนผลสําเร็จและระดับดีมากในแบบประเมินแตละชนิดก็จะประกอบดวยความฉลาดทางอารมณที่ตองการประเมินมากนอยตางกันดังตัวอยางเชนแบบประเมินของบารออนซึ่งนับวาครอบคลุมความฉลาดทางอารมณไดคอนขางละเอียดโดยกําหนดโครงสรางความฉลาดทางอารมณที่ตองการ เปนโครงสรางหลัก 5 ดาน และประกอบดวยองคประกอบยอยอีก 15 ดาน ไดแก

องคประกอบภายในตนเอง ประกอบดวย- ความสามารถในการรับร ูและเขาใจความร ูสึกของตนเอง- ความสามารถในการแสดงความร ูสึก ความเชื่อ ความคิดและปกปองสิทธิของตนเองดวยวิธีการอยางสรางสรรค

- ความสามารถในการรับร ู เขาใจและศรัทธาตนเอง- การรับร ูถึงคุณคาของตนเอง ทําในสิ่งที่สามารถทําไดและตองทําดวยความสุขและความพอใจ

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 33: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

- ความสามารถในการกําหนดเปาหมายของตนเอง สามารถควบคุมความคิด การกระทําโดยไมตองพึ่งพาผ ูอ่ืน

องคประกอบดานความสัมพันธระหวางบุคคล ประกอบดวย- ความสามารถในการสรางและคงสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูอ่ืน แสดงออกโดยมีความผูกพันทางอารมณที่แนนแฟน รวมทั้งร ูจักการใหและรับความรัก ความเอาใจใส

- ความสามารถในการรวมมือและมีสวนรวมในการสรางสรรคสังคมที่ตนเกี่ยวของ- ความสามารถในการรับร ู เขาใจและยอมรับความร ูสึกของผ ูอ่ืน

องคประกอบดานการปรับตัวทางอารมณ ประกอบดวย- ความสามารถในการรับร ู เขาใจปญหาและสามารถหาแนวทางในการแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

- ความสามารถในการแยกแยะความร ูสึกสวนตัวกับสิ่งที่มีอย ูในความเปนจริงและสามารถปฏิบัติไดอยางสอดคลองกับสถานการณนั้น

- ความสามารถในการปรับอารมณ ความคิดและพฤติกรรมตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป หรือมีความยืดหย ุน

องคประกอบดานการจัดการกับความเครยีด- ความสามารถในการอดทนตอเหตุการณที่รายแรง ภาวะกดดันและความรุนแรงของอารมณได รวมทั้งตอบสนองไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

- ความสามารถในการอดทนตอความปรารถนา สิ่งย่ัวยุและการแสดงออกที่ขาดการควบคมุได

องคประกอบดานลักษณะอารมณโดยท่ัวไป- ความร ูสึกพึงพอใจในชีวิตเปนสวนใหญและยินดีในการอย ูรวมกับผ ูอ่ืนอยางมีความสุข

- ความสามารถในการมองโลกในแงดี แมจะเผชิญกับสถานการณที่เลวราย

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 34: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ดี เกง สุข ซึ่งประกอบดวยความสามารถตาง ๆ ดังตอไปนี้1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง

ร ูจกัเห็นใจผ ูอ่ืนและมคีวามรับผิดชอบตอสวนรวม ประกอบดวยความสามารถตอไปนี้1.1 ควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง

1.1.1 ร ูอารมณและความตองการของตนเอง1.1.2 ควบคุมอารมณและความตองการได1.1.3 แสดงออกอยางเหมาะสม

1.2 เห็นใจผ ูอ่ืน1.2.1 ใสใจผ ูอ่ืน1.2.2 เขาใจและยอมรับผ ูอ่ืน1.2.3 แสดงความเห็นใจอยางเหมาะสม

1.3 รับผิดชอบ1.3.1 ร ูจักให / ร ูจักรับ1.3.2 รับผิด / ใหอภัย1.3.3 เห็นแกประโยชนสวนรวม

2. เกงหมายถึง ความสามารถในการร ูจักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแกปญหาและแสดงออกไดอยางมปีระสิทธิภาพ รวมทั้งมสีัมพันธภาพทีดี่กบัผ ูอ่ืนประกอบดวยความสามารถตอไปนี้

2.1 ร ูจักและมีแรงจูงใจในตนเอง2.1.1 ร ูศักยภาพตนเอง2.1.2 สรางขวัญและกําลังใจใหตนเองได2.1.3 มีความมุมานะไปส ูเปาหมาย

2.2 ตัดสินใจและแกปญหา2.2.1 รับร ูและเขาใจปญหา2.2.2 มีข้ันตอนในการแกปญหา2.2.3 มีความยืดหย ุน

2.3 มีสัมพันธภาพกับผ ูอ่ืน2.3.1 สรางสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูอ่ืน2.3.2 กลาแสดงออกอยางเหมาะสม2.3.3 แสดงความเห็นที่ขัดแยงอยางสรางสรรค

3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดําเนินชีวิตอยางเปนสุข ประกอบดวย3.1 ภูมิใจในตนเอง

3.1.1 เห็นคุณคาตนเอง3.1.2 เชื่อมั่นในตนเอง

สําหรับกรมสุขภาพจิตไดแบงองคประกอบของความฉลาดทางอารมณเปน 3 ดาน คือ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 35: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

3.2 พึงพอใจในชีวิต3.2.1 มองโลกในแงดี3.2.2 มีอารมณขัน3.2.3 พอใจในสิ่งที่ตนมีอย ู

3.3 มีความสงบทางใจ3.3.1 มีกิจกรรมที่เสริมสรางความสุข3.3.2 ร ูจักผอนคลาย3.3.3 มีความสงบทางจิตใจ

อาจกลาวไดวาโครงสรางของความฉลาดทางอารมณดังไดกลาวแลวขางตน จะตองไดรับการปลูกฝงและพัฒนาตอเนือ่งกนัมาต้ังแตวัยเด็ก โดยเฉพาะจากการอบรมเลีย้งดูทีเ่หมาะสมของพอแมและผ ูใหญที่ใกลชิดหรืออย ูในสิ่งแวดลอมรอบตัวเด็ก โดยการใหโอกาสไดรับร ู ตีความหมายและแสดงอารมณไดถูกตอง การสอนใหเด็กจัดการกับอารมณตนเอง ร ูจักรอคอย มีวินัย ควบคุมอารมณและเอาชนะโดยการสรางพฤติกรรมในทางบวก ร ูจักเขาใจและเห็นใจคนอ่ืน สรางสัมพันธภาพหรือผูกมิตรกับคนอ่ืนได นอกจากการอบรมเลี้ยงดูแลว การกระทําตนเปนแบบอยางของผ ูที่มีความฉลาดทางอารมณสูงใหเด็กไดเลียนแบบ การเปดโอกาสใหเด็กไดมีประสบการณดานตาง ๆ ที่นําไปส ูการเรียนร ูและเกดิทักษะทางอารมณก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะสงเสริมใหเด็กเติบโตข้ึนเปนผ ูมีความสามารถทางอารมณที่มีทั้ง ดี เกงสุข อันเปนคุณลักษณะที่พึงประสงคสําหรับตนเองและความสงบสุขของสังคมโดยรวม

อยางไรก็ตาม การพัฒนาความฉลาดทางอารมณเพื่อนําไปส ูการมีความฉลาดทางอารมณสูงเมื่อไดรับการประเมนินัน้ คงจะตองตระหนกัดวยวาความฉลาดทางอารมณมสีวนสมัพนัธกบัองคประกอบอ่ืน ๆ ดวย เชน ความฉลาดและความสามารถทางสมอง พื้นอารมณเดิมที่ติดตัวมาแตกําเนิดสิง่แวดลอมและการเลีย้งดูทีเ่หมาะสม และวตัถุประสงคทีจ่ะเห็นอนาคตของผ ูทีม่คีวามฉลาดทางอารมณสงูวาตองการใหเปนคนดี คนเกง หรือคนมีความสุข ในดานใดมากกวากัน เพราะในความเปนจริง บุคคลที่มีความฉลาดทางอารมณสงู อาจไมสามารถประสบความสาํเร็จในทกุดาน แตการไดแนวคดิในการพฒันาความฉลาดทางอารมณก็เปนสิ่งที่พึงกระทําโดยพิจารณาถึงโครงสรางศักยภาพเดิมของบุคคล สังคมสิ่งแวดลอมและวิธีการพฒันาทีอ่าจตองคอยเปนคอยไป ไมเรงรัดหรือคาดหวงัสงูจนผ ูไดรับการพฒันาเกดิความเครียด โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชนซึ่งพอแม ผ ูปกครองไมควรละเลยการพัฒนาดานอ่ืนๆ และไมต้ังเปาประสงคเพียงเพื่อใหเปนไปตามความต่ืนตัว และความนิยมในสังคมปจจุบัน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 36: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เปนทีท่ราบกนัดีวา ในวฒันธรรมไทยแตเดิมมา คนไทยมลีกัษณะเปนคนระมดัระวัง ร ูจกัควบคุมอารมณหรือเก็บความร ูสึกมาก ร ูจกัควบคมุจติใจ มักไมแสดงอารมณ คนที่ว ูวามเจาอารมณจะถูกตําหนิ

ตอเมื่อวัฒนธรรมตะวันตกเขามา โดยเฉพาะในวิถีชีวิตของคนอเมริกัน เราไดเห็นวาคนอเมริกันมักไมเก็บความร ูสึก โดยเฉพาะเด็กหน ุมสาว มีการแสดงอารมณมาก เชน เมื่อชมการแสดงตาง ๆ หรือไดรับของขวัญ เปนตน จะแสดงอาการชอบใจ ไมชอบใจ ดีใจ เสียใจ ออกมาเต็มที่ มีอาการวี้ดวาด กร๊ีดกราด เปนเร่ืองธรรมดา

ปรากฏวาคนไทย โดยเฉพาะเด็กวัยร ุนและหน ุมสาวหันไปนิยมการแสดงอารมณหรือความร ูสึกแบบอเมริกันกันมากข้ึน ๆ และมีแนวโนมที่เห็นกันไปวาการควบคุมอารมณเก็บความร ูสึกแบบไทยไมดี ตองแสดงความร ูสึกออกมาเต็มที่โดยไมตองควบคุมจึงจะดี

บางทีทั้งสองแบบที่วามานั้นอาจจะเปนสุดโตงไปคนละทาง เชน การควบคุมอารมณที่กลายเปนการเกบ็กดกไ็มดี การตกอย ูใตอํานาจอารมณถูกความร ูสกึครอบงาํกไ็มดี ดังจะเห็นวาคนอเมริกนัที่แสดงอารมณมาก ก็มีอารมณรุนแรงและกลายเปนคนออนแอทางอารมณ เครียด กระวนกระวายและเปนโรคจิตกันมาก

การร ูจักควบคุมอารมณตลอดจนเก็บความร ูสกึของคนไทยนั้น สืบมาดวยวัฒนธรรมหรืออาศัยวัฒนธรรมรักษาไว แตเปนไปไดวาจะหนกัในดานรูปแบบคอืไมเต็มระบบ ไมครบกระบวนการ ถาพดูดวยสํานวนพระพุทธศาสนาก็คืออย ูในดานศีล สวนดานจิตหรือดานสมาธิก็คงอย ูบาง แตดานปญญาอาจจะเลือนลาง

ศีลมีคุณคาเปนประโยชนอย ูในตัว แตถาไมบรูณาการกับสมาธิ โดยเฉพาะใหถึงปญญาก็จะมีจุดออนหรือมีชองทางเกิดโทษ อยางนอยก็ไมพอดีและไมสามารถปรับตัวไดดีจึงไมสมบูรณ

ยอนไปพดูถึงธรรมชาติของมนษุยโดยสมัพนัธกบัการศกึษาหรือพฒันาชวีติ เมือ่มองตามหลักพระพุทธศาสนา เมื่อมนุษยยังไมศึกษา ยังไมพัฒนาตัวเอง ก็จะอาศัยกิเลสเปนเคร่ืองปกปองรักษาตนเองใหอย ูรอด เชน อาศัยตัณหาคือความอยากที่จะด้ินรนหาสิ่งเสพบริโภค อาศัยความโลภ อาศยัความโกรธที่จะตอส ูกับศัตรู อาศัยความกลัวเพื่อหลบหนีภัย เปนตน เมื่อมนุษยไดเรียนร ูคือเร่ิมศึกษาพัฒนาตนเองก็มีปญญามาชวยใหอย ูรอดไดดีข้ึนและเปนอย ูไดดีข้ึน เมือ่ศกึษาพฒันามากข้ึน มนษุยกพ็ึง่พาอาศยัข้ึนตอกิเลสนอยลงและอย ูดวยปญญามากข้ึน จนกระทั่งพัฒนามีการศกึษาสมบรูณกเ็รียกวามชีวีติที่เปนอย ูดวยปญญา

ในการศกึษาหรือพัฒนาของมนษุยนัน้ มใิชพฒันาแตปญญาอยางเดียว แตมอีงคประกอบแหงการดําเนินชีวิต 3 ดานมาประสานหรือบรูณาการกนั โดยเปนปจจยัแกกนั เฉพาะอยางย่ิงในการพฒันาของชีวิต องคประกอบทั้ง 3 ดานจะตองพัฒนาไปดวยกันอยางพึ่งพาอาศัย สงเสริมกัน องคประกอบ3 ดานนี ้ พดูงาย ๆ คอื พฤติกรรม จติใจและปญญา พดูดวยคาํศพัทในพระพทุธศาสนาวา ศลี สมาธิ ปญญา

ความเปนปจจัยแกกันขององคประกอบทั้ง 3 ในกระบวนการแหงสิกขา หรือการพัฒนาของมนษุยนัน้ จะไมพดูในทีน่ีเ้พราะไดพดูไวมากในหลายแหงแลว แตจะเนนเฉพาะบทบาทบางอยางของปญญา

(Emotional Intelligence)

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 37: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ปญญามีบทบาทสําคัญ คือ ชี้นํา บอกทาง ขยายขอบเขต ปรับแก และปลดปลอยทั้งพฤติกรรมและจิตใจ

เร่ืองอารมณ (emotion) และความร ูสึกตาง ๆ ทั้งหมด รวมอย ูในองคประกอบดานจิตซึ่งมีกระบวนการฝกเรียกวาสมาธิ แตดังทีไ่ดกลาวแลววาการพฒันาทัง้ดานพฤติกรรม จติใจและปญญาตองดําเนินไปดวยกันในระบบที่เปนบูรณาการ

ไดกลาวแลววา เมือ่มนษุยยังไมพฒันา เขาอาศยักเิลสเพือ่ใหอย ูรอด กเิลส กค็อื อารมณฝายอกุศล (ไมเกื้อกูล, ไมประกอบดวยปญญา) เชน โลภ โกรธ กลัว เห็นแกตัว ถือตัว ริษยา แขงดีฯลฯ เมื่อมนุษยพัฒนาปญญาข้ึนมา ปญญาก็จะมาชวยใหตองพึ่งพาข้ึนตอกิเลสเหลานั้นนอยลง พรอมนัน้ปญญาก็จะเปนปจจัยหนุนการพัฒนาดานจิตใจใหอารมณฝายดีทีเ่รียกวา กุศล (คณุสมบติัทีเ่อ้ือเกื้อกลู,ประกอบดวยปญญา) พัฒนาข้ึนดวย จนกระทั่งเมื่อพัฒนาสมบูรณ มนุษยก็จะมีชีวิตเปนอย ูดวยปญญาถึงตอนนั้น กิเลสซึ่งเปนอารมณฝายอกุศลจะหมดสิ้นไป จะมีแตอารมณฝายกุศลที่ประณีต เชน เมตตาหรือไมตรี กรุณา มุทิตา อุเบกขา (ดุลยภาพของจิต) ความสดชื่น เอิบอ่ิมใจ โปรงโลง เบกิบาน ผองใสความสงบและความเปนอิสระ เปนตน เปนภาวะทีเ่รียกวา “ภาวติจติ” แปลวา มีจิตที่พัฒนาแลว

แตดังไดกลาวแลว ในการพัฒนามนุษยนั้น องคประกอบของชีวิตทุกดานจะพัฒนาไปดวยกันอยางอิงอาศัยกันและเกื้อหนุนกันจนกระทั่งสมบูรณดวยกัน

ดังนั้น คนที่พัฒนาสมบูรณ จึงมิใชมีจิตใจที่พัฒนาแลว (ภาวิตจิต) อยางเดียว แตจะพัฒนาทั้ง 4 ดานคือ

1. ภาวิตกาย มีกายที่พัฒนาแลว หมายถึงพัฒนาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เชน การบริโภคปจจัย 4 การใชเทคโนโลยีและการอย ูกับธรรมชาติแวดลอมไดดี

2. ภาวิตศีล มีศีลที่พัฒนาแลว คือ พัฒนาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางสังคมอย ูรวมกับเพื่อนมนุษยดวยความสัมพันธที่ดีงามเกื้อกูล

3. ภาวิตจิตมีจิตใจที่พัฒนาแลว ทั้งดานคุณธรรมความดีงาม สมรรถภาพและประสิทธิภาพของจิตใจ และภาวะจิตใจที่มีความสุขสดชื่น เบิกบาน

4. ภาวิตปญญา มีปญญาที่พัฒนาแลว ร ูเขาใจหย่ังเห็นความจริงของโลกและชีวิตจนวางจิตใจมีทาทีตอชีวิตและสิ่งแวดลอมไดอยางดี มีดุลยภาพและเปนอิสระ

(ขอ 1 และ 2 คือ แยกดานศีลออกไปเพื่อใหการวัดและประเมินผลครบถวนบริบูรณ)ตามที่กลาวมานี้ เมื่อพูดเฉพาะดานการพัฒนาจิตใจ ใหมีความฉลาดทางอารมณ

ตามคําของตะวันตกวา emotional intelligence ซึ่งจะแปลวา ความสามารถทางอารมณ หรือปรีชาเชิงอารมณ หรืออะไรกแ็ลวแต (อาจบญัญติัศพัทวา เจตโกศล หรือเจตโกวทิ หรือเจตวทิรู ฯลฯ) แนนอนวาจะตองมีการพัฒนาทั้งดานพฤติกรรม(ศีล) จิตใจ(สมาธิ) และปญญาครบทั้ง 3

โดยเฉพาะไดกลาวแลววา ปญญาเปนปจจัยสําคัญสุดทายในฐานะตัวปรับแกและปลดปลอยที่จะทําใหจิตใจซึ่งรวมทั้งสิ่งที่ เราเรียกวาอารมณนั้นใหเปนอิสระพนจากการบีบคั้นครอบงําของสิ่งแวดลอม เปนตน แตใหกลายเปนจิตใจอันมีอารมณความร ูสึกที่เกื้อกูล เปนคุณ ทั้งแกตนเองและผ ูอ่ืน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 38: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การพัฒนาข้ันตน โดยเฉพาะเมื่อพูดถึงคนสวนใหญหรือฝกกันทั้งสังคม จะใหปญญาแทรกประสานไปกับการพัฒนาดานพฤติกรรม เฉพาะอยางย่ิง พฤติกรรมเคยชินในรูปของวินัยประเพณีวฒันธรรมตาง ๆ ใหสภาพแวดลอมทางสงัคมมาชวยซึง่ทาํใหมกีารโนมนอมชกันาํอยางคอยเปนคอยไปชนดิทีไ่มคอยร ูตัวซึง่ทาํใหบคุคลตองบงัคบัควบคมุและปรับตัวของเขาจนอย ูตัวเกดิเปนพฤติกรรมเคยชนิ ซึ่งโยงไปถึงความเคยชนิทางจติใจดวย นีเ่ปนสวนพืน้ฐานสําคญั ในการพฒันาความสามารถหรือปรีชาเชงิอารมณของบคุคล

พรอมกันนั้น ก็ตองมีการพัฒนาดานจติใจไปดวย ใหมีดุลยภาพทางจติใจ โดยมเีมตตาไมตรี กรุณา มุทิตา ความเสียสละ ความมีน้ําใจเอ้ือเฟอ ใจกวาง เปนตน ซึ่งจะมาคานหรือคุมอารมณดานกิเลสทําใหเกิดตัวเลือกฝายดีในการมีปฏิกิริยาตอสิ่งเราจากสิ่งแวดลอม ทําใหอารมณกิเลสมีกําลังและโอกาสแสดงออกนอยลงไปเอง โดยมคีวามพรอมทีจ่ะตอบสนองดวยอารมณเชงิสรางสรรคมากกวาและมากข้ึนเร่ือย ๆ

ทัง้หมดนีจ้ะเปนไปดวยดี ไดผลมากและสมบูรณเมือ่การพฒันาทางปญญาเขามาเปดชองขยายขอบเขตปรับแกและปลดปลอยดังไดกลาวแลว

ปฏิบัติการในการพัฒนาดานปญญาตอจิตนี้จะดําเนินไปโดยมีโยนิโสมนสิการเปนตัวทํางานภายใตการกาํกบัของสติซึง่จะถูกเรียกใหเขามาทํางานดวยตลอดเวลาทีโ่ยนโิสมนสกิารทาํหนาทีอ่ย ู

เมื่อมีทุนสะสมแหงพฤติกรรมเคยชินที่ดีงามเกื้อกูลจากวินัยหรือวัฒนธรรมและสภาพจิตใจที่มีคุณสมบัติฝายกุศล เชน เมตตากรุณา เปนตน ยืนเปนพื้นอย ูแลว เวทนา สุข ทุกข สบายไมสบายทีเ่กดิจากการรับร ูโดยกระทบกบัสิง่เราในสิง่แวดลอมทีน่าชอบใจหรือไมนาชอบใจกต็ามกจ็ะมโีอกาสนอยที่จะใหเกิดปฏิกิริยาดานลบ ไมวาภายในจิตใจเองหรือในการแสดงออกทางกาย วาจา ออกไปภายนอกตอสิ่งแวดลอม แตจะมีโอกาสมากที่จะเปนปฏิกิริยาเชิงบวกที่ใหเกิดสันติสุขและอิสรภาพภายในและความสัมพันธที่เกื้อกูลและสรางสรรคภายนอก

ทางดานวิชาการสมัยใหมตามแนวคิดตะวันตกกอนนี้ไมนานไดเนนกันในเร่ือง IQ คือยกเอาองคประกอบของชีวิตดานเชาวนปญญาแยกตางหากออกไปและใหความสําคัญหนักไปดานเดียวการกาวมาส ูเ ร่ือง emotional intelligence มี EQ ข้ึน กค็อืการเขาส ูระบบบูรณาการโดยเนนความสัมพันธระหวางปญญากับอารมณ

ที่จริง อารมณเปนคําไทยที่เพี้ยนจากคําเดิมในภาษาบาล ี อารมณในที่นี้ก็คือสภาพจิตนั่นเอง ในที่นี้เนนบทบาทของปญญาในการพัฒนาหรือปรับสภาพจิตใจ แตอารมณหรือสภาพจิตนั้นก็โยงไปถึงพฤติกรรมในความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดวย เพราะอารมณหรือสภาพจิตนั้นอาศัยพฤติกรรมเปนชองทางสื่อสารแสดงออก

เมื่ออารมณหรือสภาพจิตไดรับการดูแลพัฒนา ชี้ชอง นําทาง ขยายขอบเขตและปลดปลอยดวยปญญาใหสือ่สารแสดงออกอยางไดผลดีดวยพฤติกรรมทางกาย วาจา กน็บัไดวาระบบความสัมพันธแหงพฤติกรรม จิตใจและปญญาเขามาประสานกันบรรจบเปนองครวม ซึ่งเมื่อดําเนินไปอยางถูกตองก็จะอย ูในภาวะสมดุล ใหเกิดผลดีทั้งแกตนและคนอ่ืนตลอดถึงสังคมและสิ่งแวดลอมทั้งหมด

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต) 19 ตุลาคม 2542

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 39: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในสภาวะปจจุบันที่มีความผันผวนทางสังคม เศรษฐกิจซึ่งนําไปส ูปญหาตาง ๆ ทีค่นทุกเพศและวัยตองเผชิญ บางคนหรือบางกล ุมก็สามารถดําเนินชีวิตอย ูไดดวยการปรับตนเองใหเขากับสถานการณในสิง่แวดลอมและแกปญหาไดบางตามศกัยภาพทีม่อีย ู แตกม็คีนอีกเปนจาํนวนมากทีร่ ูสกึทอแทสิ้ นหวังเกิดความเครียดจนทนไมไดและไมสามารถจัดการกับปญหาที่ เกิดข้ึนหรือโทษสภาวะสิง่แวดลอมภายนอกวาเปนตนเหตุของปญหาทัง้หมดโดยไมพจิารณาความบกพรองของตนเองหรือคาดหวงัวาการแกไขปญหานาจะมาจากบุคคลอ่ืน และการคลี่คลายสภาวะสิ่งแวดลอมใหดีข้ึนตามที่ตนตองการซึ่งเปนไปไดยากหรือเปลี่ยนไมไดเลย อนึ่ง ความเจริญกาวหนาทางการสือ่สารและเทคโนโลยีทีเ่รียกกนัวายุคโลกาภิวัฒนก็เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหบุคคลไดรับขาวสารทั้งที่เปนประโยชนและโทษในระยะเวลาอันรวดเร็ว หากผ ูรับขาวสารขาดดุลยพินิจที่ดีในการรับร ูขอมูลก็จะเกิดผลเสียตามมาได นอกจากนี้พัฒนาการทางเทคโนโลยียังมีสวนใหคนหันมาสนใจดานวตัถุมากกวาความสําคัญดานจิตใจซึ่งโดยแทจริงแลว การมีสภาพจิตใจที่เปนสุขจะเปนพลังสวนหนึ่งที่ทําใหบุคคลสามารถเผชิญปญหาและหาทางแกไขที่เหมาะสมได ดังนัน้ การไดทําความเขาใจเร่ืองสภาวะทางจติใจและองคประกอบทีเ่กีย่วของจึงเปนสิง่จาํเปนที่ทุกคนควรตระหนัก เขาใจและใชเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อความอย ูรอดและดําเนินชีวิตไดอยางเปนสุขตามสมควรแกอัตภาพ ในบทความนี้จะไดหยิบยกปจจัย 3 ดาน ไดแก สุขภาพจิต ความสามารถทางเชาวนปญญาและความฉลาดทางอารมณซึง่มคีวามสมัพันธเกีย่วของกันและเปนองคประกอบสําคญัตอการพัฒนาหรือสรางความมั่นคงทางจติใจ รวมทั้งการมศีักยภาพในการปรับตัวไดอยางเหมาะสมและมคีวามสขุ

สุขภาพจิต

สุขภาพจิตเปนเร่ืองของนามธรรม มีความเกี่ยวของกับศาสตรหลายสาขาวิชาและมีความหมายกวางแลวแตความสนใจในแงมุมที่แตกตางกันของผ ูศึกษาที่จะนิยามความหมาย ดังจะไดสรุปมาโดยสังเขปดังตอไปนี้

ความหมายในพจนานุกรม สุขภาพ หมายถึง ความไมมีโรค ความเปนสุข จิตหมายถึง ความนึกคิด สุขภาพจิต จึงหมายความถึงความนึกคิดที่เปนสุข ปราศจากโรค

องคการอนามัยโลกไดใหคําจํากัดความของ สุขภาพจิต หมายถึงสภาพจิตที่เปนสุขสามารถสรางและรักษาสมัพนัธภาพกบัผ ูอ่ืนไวไดตลอดจนวางตัวอยางเหมาะสมและดํารงชพีอย ูไดในสงัคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยปราศจากอาการของโรคจิต

นอกจากนี้ ยังกลาวถึงผ ูมสีุขภาพจติดีวามิไดหมายความเพยีงวาบุคคลนั้น ๆ ปราศจากอาการโรคจิต โรคประสาทที่เห็นไดชัดเทานั้น แตยังสามารถปรับตัวและมคีวามสขุอย ูกบัสงัคมและสิ่งแวดลอมไดดี มีสัมพันธภาพดีงามกับบุคคลอ่ืน มีชีวิตอย ูไดดวยความสบาย สมดุล สามารถสนองตอบความตองการของตนในโลกที่เปลี่ยนแปลงนี้ไดโดยไมมีขอขัดแยงภายในตนเอง

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 40: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ตามแนวปรัชญาทางพทุธศาสนา ใหความหมายของสุขภาพจติ ซึ่งเนนการยึดถือปฏิบติัตนตามศีลธรรม บุคคลที่ปฏิบัติตนไดตามคําสั่งสอนของพระพุทธเจาจะมีจิตใจสงบ เยือกเย็น ยอมรับตนเองและการเปลี่ยนแปลงตางๆ ปฏิบัติตนอย ูในศีลทั้งกายวาจาและใจมีสติพิจารณาสิ่งทั้งหลายใหร ูเห็นเทาทันตามความเปนจริง ไมถูกครอบงําดวยความยินดียินรายและมีความเปนมิตรกับคนอ่ืน

การนิยามความหมายจากขอสรุปในทีป่ระชมุคณะกรรมการวชิาการเครือขาย และพฒันาสุขภาพจิตมีขอความวา สุขภาพจิต คือสภาพชีวิตที่ เปนสุขอันเปนผลมาจากการมีวิธีมองตน มองโลกรวมทั้งสามารถจัดการกับความคิด อารมณและการแสดงออกตอตนเอง ผ ูอ่ืนและสังคมอยางเหมาะสมสรางสรรคภายใตสภาพแวดลอมและเวลาที่เปลี่ยนแปลง

ลักษณะองครวมของสุขภาพจิต มีองคประกอบท่ีแบงเปน 3 มิต ิ ไดแก1. มิติที่ เกี่ยวกับคุณภาพของจิตที่ เปนคุณสมบัติภายในของบุคคลประกอบดวย

ความสงบผอนคลายของจิต การสํารวจและเขาใจตนเอง วธีิการมองโลกและการเขาใจความเปนไปของโลกภายนอก

2. มิติที่เกี่ยวกบัการจัดการกบัสิง่แวดลอมรอบตัวและโลกภายนอก ไดแก ความสามารถในการปรับตัวเพื่อตอบสนองความตองการของตนเอง การทําประโยชนตอสังคมและความสามารถสรางสัมพันธภาพกับบุคคลแวดลอมในสังคม

3. มิติทางสังคม มีความเกี่ยวของกับกระบวนการทางสังคมและวิถีการดําเนินชีวิตสุขภาพจิตเปนสิ่งที่แยกไมไดจากกระบวนการทางสังคม มิตินี้เนนระดับสังคมมากกวาปจเจกบคุคล เนื่องจากกระบวนการทางสังคมมีสวนกําหนดการเลือกของบุคคลและวิถีการดําเนินชีวิตประจําวันของสมาชิกในสังคม ศาสตราจารย นายแพทยฝน แสงสิงแกว ผ ูไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหงสุขภาพจิตและจิตเวชของประเทศไทย เนือ่งจากเปนผ ูริเร่ิมและสนบัสนนุงานดานสขุภาพจติไวอยางกวางขวาง ทัง้ในการผลกัดันใหมีนโยบายและหนวยงานที่ใหบริการดานปองกันปญหาและสงเสริมสุขภาพจิต ไดใหความหมายของสุขภาพจิตวาเปนสภาพชีวิตที่เปนสุข ปราศจากโรคจิต โรคประสาท สามารถปรับตัวใหเขากับสังคมไดและยังไดเนนวาสุขภาพจิตต้ังตนจากครอบครัว การพัฒนาจิตใจของเด็กจากพอแมที่ดี พรอมดวยความรักความเขาใจและเห็นใจคือยอดของการสรางสุขภาพจิตที่ดีและเปนการปองกันสุขภาพจิตเสื่อมในวัยผ ูใหญหรือในอนาคต

ถาพิจารณาสุขภาพจิตในลักษณะที่เปนกระบวนการก็ตองใหความสนใจกับพัฒนาการในแตละชวงวัยเร่ิมตนต้ังแตวัยเด็ก พัฒนาการที่ราบร่ืนจะมีผลใหเด็กเติบโตข้ึนดวยการมีประสบการณที่ดีทั้งในดานความสัมพันธระหวางบุคคล การแสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสมในสถานการณตางๆ มีความตองการและขวนขวายในการเรียนร ูสิ่งที่เปนประโยชนและสรางสรรค เมือ่ถึงวยัร ุนก็เปนคนที่มีความเชื่อมั่นตนเอง มีความตองการเปนตัวของตัวเองนอกเหนือจากการพึ่งพาพอแมแตเพียงอยางเดียว และในวัยผ ูใหญก็จะเปนบคุคลที่มคีวามร ูและประสบการณ มีอารมณมั่นคง สามารถประกอบกจิกรรมใหสําเร็จไดดวยความยืดหย ุน สรางสัมพันธภาพอยางใกลชิดกับบุคคลอ่ืนและคงความสัมพันธที่ดีไวได มีความรับผิดชอบ ยอมรับความสญูเสยีหรือผิดหวงัไดและปลูกฝงความร ูสกึพงึพอใจในชวีิตของตนเองทัง้ในสวนตัวการทํางานและในสังคมทีต่นอย ู อยางไรกต็าม ปจจยัทีส่งเสริมพฒันาการดานสขุภาพจติทีค่วรคํานงึถึงดวยก็คือความสามารถดานเชาวนปญญาทีม่ติีดตัวมาแตกําเนิดและความฉลาดทางอารมณดานตาง ๆ ถาปจจยั

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 41: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เหลานี้มีการทํางานที่ประสมประสานและเอ้ืออํานวยซึง่กนัและกนัเปนอยางดีในแตละชวงวยักย็อมจะนําไปส ูการมีสุขภาพจิตที่สมบูรณเปนทรัพยากรทางจิตใจที่บุคคลจะไดเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตตอไป

จากความหมายดังกลาวมาแลวขางตน อาจสรุปไดวา สุขภาพจิตมีสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับความสามารถหรือศักยภาพภายในของบุคคล ไดแก ความมั่นคงและความสมดุลทางอารมณจิตใจซึ่งนําไปส ูความสามารถในการปรับตัวที่เหมาะสมเมื่อตองเผชิญปญหาและขอขัดแยงระหวางตนเองกับสิ่งแวดลอม การดําเนินชีวิตอยางเปนสุขในการมีสัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืนและในสังคมที่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเหลานี้เปนสิง่ทีพ่งึปราถนาใหเกดิข้ึนกบับคุคลทกุ ๆ คน แตกค็วรตระหนกัไวดวยวาในความเปนจริงแลวไมมีบุคคลใดที่มีสุขภาพจิตดีครบทุกดาน บางดานอาจสมบูรณเปนปกติ บางดานอาจจะมีปญหาบาง เชน คนที่อารมณไมมั่นคง หงุดหงิดใจนอย แตสามารถรับร ูสิ่งตาง ๆ ไดตามความเปนจริง เปนตนนอกจากนี้ สขุภาพจติยังเปนภาวะที่มไิดคงทีต่ลอดไปหรือไมไดหมายความวาบคุคลที่มสีุขภาพจติดีจะไมมีปญหาเลย แตสามารถแกไขปญหาและลดความตึงเครียดไดดีกวาผ ูมสีขุภาพจติเสือ่ม สําหรับผ ูทีม่สีขุภาพจติบกพรองก็สามารถรับร ูการฟนฟ ูแกไขและไดรับการสงเสริมใหมีสุขภาพจิตดีข้ึนได

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 42: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

ความหมาย

หมายถึง ความสามารถทางอารมณในการดําเนินชีวิตรวมกับผ ูอ่ืนอยางสรางสรรคและมีความสุข

องคประกอบของความฉลาดทางอารมณ

1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง ร ูจักเห็นใจผ ูอ่ืนและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม ประกอบดวยความสามารถตอไปนี้

1.1 ควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง1.1.1 ร ูอารมณและความตองการของตนเอง1.1.2 ควบคุมอารมณและความตองการได1.1.3 แสดงออกอยางเหมาะสม

1.2 เห็นใจผ ูอ่ืน1.2.1 ใสใจผ ูอ่ืน1.2.2 เขาใจและยอมรับผ ูอ่ืน1.2.3 แสดงความเห็นใจอยางเหมาะสม

1.3 รับผิดชอบ1.3.1 ร ูจักให / ร ูจักรับ1.3.2 รับผิด / ใหอภัย1.3.3 เห็นแกประโยชนสวนรวม

2. เกง หมายถึง ความสามารถในการร ูจักตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแกปญหาและแสดงออกไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูอ่ืน ประกอบดวยความสามารถตอไปนี้

2.1 ร ูจักและมีแรงจูงใจในตนเอง2.1.1 ร ูศักยภาพตนเอง2.1.2 สรางขวัญและกําลังใจใหตนเองได2.1.3 มีความมุมานะไปส ูเปาหมาย

2.2 ตัดสินใจและแกปญหา2.2.1 รับร ูและเขาใจปญหา2.2.2 มีข้ันตอนในการแกปญหา2.2.3 มีความยืดหย ุน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 43: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

2.3 มีสัมพันธภาพกับผ ูอ่ืน2.3.1 สรางสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูอ่ืน2.3.2 กลาแสดงออกอยางเหมาะสม2.3.3 แสดงความเห็นที่ขัดแยงอยางสรางสรรค

3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดําเนินชีวิตอยางเปนสุข ประกอบดวย3.1 ภูมิใจในตนเอง

3.1.1 เห็นคุณคาตนเอง3.1.2 เชื่อมั่นในตนเอง

3.2 พึงพอใจในชีวิต3.2.1 มองโลกในแงดี3.2.2 มีอารมณขัน3.2.3 พอใจในสิ่งที่ตนมีอย ู

3.3 มีความสงบทางใจ3.3.1 มีกิจกรรมที่เสริมสรางความสุข3.3.2 ร ูจักผอนคลาย3.3.3 มีความสงบทางจิตใจ

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 44: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การประเมินความฉลาดทางอารมณและประสิทธิภาพทางอารมณจากการสรุปวาความฉลาดทางอารมณมีความสําคัญมาก การพัฒนาแบบประเมิน

หรือวดักเ็ปนความจําเปนรีบดวนไปดวย มีการศกึษาวจิยัทีไ่ดรายงานไวโดย เดวสี สแตนคอฟและโรเบริตส(1998) ซึ่งสรุปไดวาไมมีขอมูลจากการทดลองใหม ๆ เกี่ยวกับแนวคิดเร่ืองความฉลาดทางอารมณการสรุปที่ไดมาจากการทบทวนและประเมินความฉลาดทางอารมณที่มีอย ูแลวในขณะที่เขาเขียนรายงานอยางไรกต็าม แบบประเมนิสวนใหญก็เปนวิธีการใหมแตยังไมมกีารยอมรับวามคีณุสมบติัเปนแบบทดสอบดานจิตใจที่ เปนมาตรฐานได จากการศึกษาวิจัยที่ไดทําข้ึนตอมาในยุคปจจุบัน มีขอเสนอแนะวาความฉลาดทางอารมณ โดยเฉพาะอยางย่ิงวิธีประเมินใหม ๆ ที่ไดรับการพัฒนาข้ึนมานับเปนเคร่ืองมือที่มีประโยชนอยางเห็นไดชัด แตก็ยังมีการศึกษาวิจัยไมมากนักเกี่ยวกับความแมนตรงของแบบประเมนิและทีเ่ปนสิ่งทียั่งขาดอย ูมาก ในบทความนีจ้ะไดสรุปโดยสังเขปเกี่ยวกับผลการวิจัยที่ร ูจักกันอยางแพรหลาย

เคร่ืองมือประเมินที่เกาแกที่สุด คือ EQ – I ของ Bar-on ซึ่งนิยมใชกันมาเกือบ 10 ปแบบประเมนิตนเองนีไ้มไดพฒันามาจากความสนใจในเร่ืองอาชีพการงาน แตไดอิทธิพลจากการ ทํางานทางคลินิกมากกวา เปนแบบทดสอบที่คิดข้ึนเพื่อประเมินคุณสมบัติของบุคคลที่ทําใหเขามีภาวะ ทางอารมณที่ดีกวาบุคคลอ่ืน แบบประเมินที่ไดนําไปใชกับกล ุมตัวอยางนับพันคน รวมทั้งมีการหาความเชื่อถือไดและความแมนตรงของเคร่ืองมือที่สรางข้ึนดวย แตแบบประเมินนี้ทํานายความแมนตรงดาน การงานไดนอยมาก อยางไรก็ตาม ในการศึกษาแบบประเมิน EQ-I สวนหนึ่งสามารถทํานายความสําเร็จของผ ูที่ถูกเกณฑเขาทํางานในกองทพัอากาศของสหรัฐและโดยความเปนจริงแลวการใชแบบทดสอบเพือ่ คดัเลอืกทหารเกณฑทําใหกองทัพอากาศสหรัฐลดคาใชจายไดถึง 3 ลานดอลลาร นอกจากนี ้ยังพบวาไดมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญเมื่อประเมินกล ุมบุคคลที่มาจากตางเผาพันธ ุและเชื้อชาติ

เคร่ืองมอืประเมินแบบที ่ 2 คือ Multifactor Emotional Intelligence Scale ของเมเยอรคารูโซ และซาโลเวย (1998) MEIS เปนแบบทดสอบความสามารถมากกวาเปนการใชประเมนิตนเอง ผ ูรับการทดสอบจะไดทํางานชดุหนึง่ทีส่รางข้ึนเพือ่วดัความสามารถของบคุคลในการรับร ูจากการเห็น บอกไดวาเปนอะไร ความเขาใจและการทํางานกับอารมณ มีผลการวิจัยที่แสดงวาแบบประเมินที่มีความแมนตรงในการวัดสิง่ที่ไดสรางข้ึน มคีวามสมัพนัธกบัแบบประเมนิชนดิอ่ืนซึง่วดัคณุสมบติัคลายกนั มีความแมนตรงในการจําแนกความแตกตาง แตไมมีรายงานเกี่ยวกับความแมนตรงในการทํานาย

เคร่ืองมือประเมินแบบที่ 3 คือ Emotional Competence Inventory หรือ ECI ซึ่งวัดความฉลาดทางอารมณดานตาง ๆ โดยการใหคนที่ร ูจักบุคคลใดบุคคลหนึ่งใหคะแนนประเมินบคุคลนัน้ในความมีประสิทธิภาพ 20 ดานทีไ่ดเสนอแนะไวในการศึกษาวิจัยของโกลแมน (1998) แมวา ECI จะเปนแบบประเมินซึ่งอย ูในข้ันเร่ิมแรกของการพัฒนา ขอทดสอบประมาณ 40% ก็ไดมาจากแบบประเมินเกาที่มีผ ูทําไวแลว คือ Self-Assessment Questionnaire ที่โบยัทซิสไดสรางข้ึนในป 1994 และเปนขอคําถามที่ไดรับการทดสอบความแมนตรงเกี่ยวกับการทํางานโดยมีกล ุมตัวอยางเปนผ ูจัดการจํานวนหลายรอยคน

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 45: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

รวมทั้งนักบริหารและผ ูนําของอเมริกาเหนือ อิตาลีและบราซิล อยางไรก็ตาม ก็ยังไมมีการศึกษาวิจัยในขณะนี้ที่จะสนับสนุนความแมนตรงในการสามารถทํานายของแบบประเมิน ECI

เคร่ืองมือประเมินอีกแบบหนึ่งที่มีการโฆษณาจนเปนที่ร ูจักกันแพรหลายคือ EQ Mapของโอริโอลิ โจนสและทรอคกี ้ (1999) แมวาแบบประเมินนี้จะมีขอมูลที่แสดงถึงความแมนตรงดานความสัมพันธกับแบบประเมินอ่ืนที่วัดคุณสมบัติที่คลายกัน และแบบประเมินที่คิดข้ึนไมไดวัดสิ่งอ่ืนเพิ่มเติมจากสิ่งที่กําหนดไว แตการรายงานมีลักษณะคอนขางคลุมเครือ

เคร่ืองมือประเมินอีกแบบหนึ่งที่ควรกลาวถึง แมวาจะเปนที่ร ูจักแพรหลายนอยกวาแบบอ่ืน ๆ คือแบบประเมินของ ชูทท มาลูฟ ฮอลล แฮดเกอรต้ี ชูปเปอร โกลเดนและดอรฮายม (1998)ซึ่งประกอบดวยคําถาม 33 ขอ ใหผ ูตอบประเมินตนเอง แบบประเมินนีดั้ดแปลงมาจากผลงานในระยะแรกของซาโลเวยและเมเยอร (1990) มคีวามแมนตรงดานการมคีวามสมัพนัธกบัแบบประเมนิอ่ืนทีว่ดัคณุสมบติัคลายกัน และไมไดวัดคุณสมบัติอ่ืนเพิ่มข้ึนจากที่กําหนดไว คะแนนที่ไดจากการประเมินความฉลาดทางอารมณมีความสัมพันธในเชิงบวกกบัคะแนนการสอบของนกัศกึษาระดับวิทยาลยัปหนึง่และกบัการประเมนิโดยผ ูควบคุมดูแลของผ ูแนะแนวนักศึกษาเหลานี้ซึ่งทํางานอย ูในหนวยงานสุขภาพจิตตางๆ นอกจากนี้ยังพบวาผ ูมีอาชีพบําบัดรักษาไดคะแนนสูงกวาผ ูรับการรักษาหรือกล ุมนักโทษ

ประเด็นสุดทายที่เปนประโยชนอยางย่ิงก็คือถาเราไดตระหนักอย ูเสมอวาความฉลาดทางอารมณ ประกอบดวยความสามารถหลาย ๆ ดานทีไ่ดรับการศกึษาวจิยัโดยนกัจติวทิยามาเปนเวลานานป ดังนั้น วิธีวัดความฉลาดทางอารมณหรือประสิทธิภาพทางอารมณก็คือการทดสอบความสามารถเฉพาะแบบประเมินเหลานี้บางแบบก็มีความเชื่อถือไดมาก ดังตัวอยางหนึ่งคือ SASQ ของ เซลิกแมน ที่สรางข้ึนเพื่อวัดการมองโลกในแงดีซึ่งเปนแบบประเมินที่นาประทับใจในความสามารถทํานายไดอยางแนนอนเกี่ยวกับการทํางานที่มีประสิทธิภาพของนักเรียน นักศึกษาและพนักงานขายเปนตน

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 46: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]การวัด ความฉลาดทางอารมณ ของสโลเวยและคณะ – 1995

ใชมาตราการวัด Trait – Meta – Mood Scale (TMMS) โดยเปนการวัดความแตกตางระหวางบุคคลในความสามารถที่จะสะทอนอารมณและการจัดการกับอารมณ มีดัชนีชี้บงระดับความเอาใจใสที่บุคคลมีตออารมณ ความร ูสึก ความชัดเจนของประสบการณ ความร ูสึกและความเชื่อ การยุติสภาวะอารมณที่ไมดีหรือคงอารมณที่ดี ซึ่งดัชนีชี้วัดนี้ สโลเวยและคณะอธิบายวาเปนความสามารถ(Competence) หลายอยางที่มีอย ูในโครงสรางของความฉลาดทางอารมณ แบบวัดของสโลเวย และคณะมีการใหผ ูตอบประเมินตนเอง และมีมาตราประเมินคาจากระดับ 1 ไมเห็นดวยอยางย่ิง จนถึง 5 เห็นดวยอยางย่ิง องคประกอบของแบบทดสอบม ีดังนี้

1. ความเอาใจใสตออารมณความร ูสกึ มจีาํนวน 21 ขอ เชน ขอความทางบวก “ฉนัใสใจมากวาฉันร ูสึกอยางไร” และขอความทางลบ เชน “ฉันไมใสใจกับความร ูสึกของตนเอง”

2. ความชัดเจนในการแยกแยะอารมณความร ูสึก มีจํานวน 15 ขอ เชน “โดยปกติฉันมีอารมณความร ูสึกที่ชัดเจน” เปนขอความทางบวก หรือ “ฉันไมสามารถร ูสึกถึงอารมณความร ูสึก”เปนขอความทางลบ

3. การปรับสภาวะอารมณ ประกอบดวยขอความที่เกี่ยวของกับความพยายามที่จะปรับสภาวะอารมณที่ไมนาพอใจ หรือคงอารมณที่นาพอใจไว เชน “ถึงแมวาฉันมีความเศรา แตโดยสวนใหญฉันมีทัศนะคติที่ดี” เปนขอความทางบวก และ “ถึงแมบางคร้ังฉันมีความสุขแตโดยสวนใหญฉันมีทัศนะคติที่ไมดี” เปนขอความทางลบ

องคประกอบทั้ง 3 ดานมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน เปนแบบวัดที่มีความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงเชิงสอดคลองและเชิงจําแนก ผลจากการศึกษาพบวาความเอาใจใสตออารมณความร ูสึกมีความสัมพันธกับการมีสติของตนเอง ความชัดเจนทางอารมณความร ูสึกมีความสัมพันธทางลบกับความคลุมเครือทางอารมณ การแสดงออกและความเศราหดห ูและการปรับอารมณความร ูสึกมีความสัมพันธทางลบกับความเศราหดห ู และมีความสัมพันธทางบวกกับการมองโลกในแงดี และความเชื่อการจัดระบบสภาวะอารมณที่ไมดี

ตอมาสโลเวยและคารูโซ ไดพัฒนาแบบวัดในรูปที่เปนกระดาษ คือ The MultifactorEmotional Intelligence Scale (MEIS) และแบบวัด The Emotional EQ Test ที่ทําเปน CD-ROM แบบทดสอบทัง้สองแบบดังกลาวเหมอืนกนัทกุประการในดานโครงสรางและเนือ้หาแตตางกนัทีส่ือ่ทีน่ําเสนอแบบทดสอบ เมเยอรและคณะเชือ่วาแบบทดสอบทีพ่ฒันาข้ึนตามแนวคดิโครงสรางความฉลาดทางอารมณลาสดุนี้เปนการวัดความฉลาดทางอารมณที่แทจริง เปนแบบทดสอบที่ประกอบดวยงานดานความสามารถที่ใหผ ูตอบทําทั้งหมด 12 งาน จากแบบทดสอบ 4 ประเภท ดังนี้

1. แบบทดสอบการระบุอารมณ เปนการวัดการรับร ูทางอารมณใหผ ูตอบระบุอารมณคนที่ปรากฏในภาพ ในการออกแบบและดนตรีและงานที่เสนอสถานการณทางอารมณใหผ ูตอบระบุวาบุคคลในสถานการณนั้นมีอารมณอยางไร

2. แบบทดสอบการใชอารมณ เปนการวดัการซมึซบัอารมณ มอีย ู 2 สวน ไดแก การวดัวาผ ูตอบสามารถสรางความร ูสึกที่แตกตางกันไดดีแคไหน และการใชความร ูสึกที่เอ้ือตอกระบวนการคิด

3. แบบทดสอบความเขาใจทางอารมณ วัดความสามารถของบุคคลที่จะทราบวา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 47: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

อารมณมีที่มาจากอะไร และอะไรจะเกดิข้ึนถาอารมณมีความเขมขน ตลอดจนสามารถเขาใจความสมัพันธระหวางอารมณที่แตกตางกัน เชน “การมองโลกในแงดีสวนใหญประกอบดวยอารมณสองชนิดใด” และใหผ ูถูกทดสอบเลือกตอบเปนตัวอยางขอคําถามในแบบทดสอบประเภทนี้

4. แบบทดสอบการจัดระบบอารมณ วัดความสามารถที่จะจัดการและควบคุมอารมณของตนเองและบุคคลอ่ืน ซึ่งเปนองคประกอบหลักของความฉลาดทางอารมณ แบบทดสอบที่ใหผ ูตอบประเมินประโยชนของการกระทําที่เปนไปไดในสถานการณทางอารมณ

ผลการวิเคราะหแบบทดสอบ MEIS พบวาความฉลาดทางอารมณสามารถแยกองคประกอบได 3 องคประกอบ ไดแก การรับร ูทางอารมณ ความเขาใจทางอารมณ และการจัดการทางอารมณ

การวัดความฉลาดทางอารมณตามแนวคิดของบารออน

บารออนใชเวลากวา 16 ป ศึกษาเร่ืองแบบทดสอบความฉลาดทางอารมณ จากนยิามของบารออนเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณบารออนไดสรางเคร่ืองมือวัดชื่อ Emotional Quotient Inventory(EQI) จากการวิเคราะหองคประกอบของมาตราวัดความฉลาดทางอารมณมีองคประกอบ 13 ดานแบบทดสอบโดยรวมมีความสัมพันธทางลบกับความร ูสึกทางลบ เชน ความเศราหดห ู และมีความสัมพันธทางบวกกับคุณลักษณะที่เกี่ยวกับความร ูสึกทางบวก แบบทดสอบความฉลาดทางอารมณของบารออนยังมคีวามสมัพนัธทางบวกกบัความคงทีท่างอารมณและการแสดงออก แตแบบทดสอบของบารออน ในภาพรวมหรือมาตรายอยไมมีความสัมพันธกับแบบทดสอบเชาวนปญญาทางสมอง มาตรา B ใน 16 PF และแบบทดสอบความฉลาดทางอารมณ มีความสัมพันธเล็กนอยกับ WAIS-R (r = .12)

บารออนไดสรางแบบทดสอบเพื่อใหเปนเคร่ืองมือสรางรูปฐานทางอารมณ (EmotionalProfiles) เพื่อใชในการจัดสรรคนใหเหมาะกบัอาชพี หรือชีบ้งอารมณดานทีค่วรมีการปรับปรุง แบบทดสอบนีจ้งึมปีระโยชนสําหรับการวางแผนในการทํางาน เชน คนที่ไดคะแนนสูงในการมองโลกในแงดี จะเปนดัชนีชีบ้งวาบคุคลนัน้จะประสบความสําเร็จในงานบางอยางเชน การเปนพนักงานขาย ฯลฯ อยางไรก็ตาม แมวาแบบทดสอบของบารออนจะมีเกณฑปกติ (norm) มีการวิเคราะหองคประกอบ และมีการหาความสัมพันธกับแบบทดสอบจํานวนมาก แตยังไมมีการยืนยันเกี่ยวกับการพยากรณความสําเร็จทางอาชีพและวิชาการ

การวัดความฉลาดทางอารมณตามแนวคิดของ โกลแมน – 1999

แบบวัดความฉลาดทางอารมณของโกลแมน ประกอบดวยคําถาม 10 ขอ แตละขอคําถามผ ูตอบตองระบุคําตอบที่มีตอสถานการณที่สมมุติข้ึน เชน ทานเปนนิสิตมหาวิทยาลัยที่หวังวาจะได Aในรายวชิานี ้ แตทานเพิม่พบวาตัวทานเองได C ในตอนกลางเทอม ทานจะทําอยางไร” โดยมตัีวเลอืกดังนี้

ก. รางแผนการที่เฉพาะสําหรับวิธีการที่จะปรับปรุงผลการเรียนและแกไขปญหาที่จะติดตามมาตลอดแผน

ข. แกปญหาเพื่อที่จะทําใหดีข้ึนในอนาคตค. บอกตัวคุณเองวาไมใชสิ่งสาํคญัที่คุณทําไดในวิชานี ้และม ุงไปยังวชิาอ่ืน ๆ ซึ่ง

คะแนนคณุสูงกวาง. พบอาจารยและพยายามคุยกับอาจารย เพื่อใหคะแนนของคุณดีข้ึน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 48: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบวัดความฉลาดทางอารมณของโกลแมน มีความสัมพันธสูงกับความเขาใจผ ูอ่ืนและการควบคุมอารมณ และยังมีเนื้อหาที่ควรเกี่ยวกับองคประกอบที่รวมของ MEIS ของสโลเวยและคณะไดแก องคประกอบดานการจัดการทางอารมณ อยางไรก็ตาม แบบวัด ความฉลาดทางอารมณของโกลแมน มีคาความเชื่อมั่นคอนขางตํ่า (r = .18)

แบบวัดความฉลาดทางอารมณของจอหน ครอส 1999

มีขอคําถาม 12 ขอ ประกอบดวยมาตราการประเมิน 5 ระดับ ต้ังแต เสมอ โดยปกติบางคร้ัง นานๆ คร้ัง และไมเคยเลย เพือ่ใชทดสอบความฉลาดทางอารมณตามแนวคดิของโกลแมน เปนการประเมนิความฉลาดทางอารมณ อยางคราวๆ ซึง่หาดูไดจาก Website: http://www.co.iup.edu/~jacross/eq. html

ตัวอยางขอคําถาม :- ฉันใชอารมณความร ูสึกของตัวเองในการชวยตัดสินใจที่ย่ิงใหญในชีวิต- เมือ่ฉันมีความวติกกงัวล เร่ืองทีท่าทาย เชน การสอบ หรือการพดูในทีส่าธารณะ เปน

การยากที่ฉันจะเตรียมตัวไดดี

แบบวัดความฉลาดทางอารมณของชริงค 1999

มีขอทดสอบจํานวน 70 ขอ ที่ประเมินความฉลาดทางอารมณดานตาง ๆ โดยใหผ ูตอบรายงานตามความเปนจริงในสิ่งที่ตนเองคิด ร ูสึก หรือทํา ดูรายละเอียดไดจาก website : http://www.queendom.com/emotionaliq – frm.html

k k k k k

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 49: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ข้ันตอนการสราง

- สรางหรือวางแนวองคประกอบที่ตองการประเมิน- พิจารณาวาอะไรสําคัญที่สุดและอะไรสําคัญรองลงมา- องคประกอบตาง ๆ แสดงออกในพฤติกรรมอยางไร- พิจารณาวัตถุประสงคในการประเมินวา

: ประเมินเพื่อพัฒนา: ประเมินเพื่อดูความผิดปกติ

- ควรพิจารณา Faking good/bad ในการสราง self-report inventory: มีวิธีแยกอยางไรระหวางร ูและปฏิบัติจริง

การหาเกณฑ

- อาจใหกล ุมที่มีความฉลาดทางอารมณสูงเปรียบเทียบกับกล ุมที่มีความฉลาดทางอารมณตํ่า

- การแยกเกณฑระหวางวัยตาง ๆ

แนวทางการศึกษาวิจัยและการประยุกตใชแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ

1. สรางแบบประเมนิความฉลาดทางอารมณทัง้แบบประเมนิกลาง ๆ ใชไดกบัคนทัว่ไปหรือวัดเฉพาะกล ุมเปาหมายโดยกําหนดเปาหมายของการประเมินไว

2. ศึกษาวิจัยเชิงสํารวจถึงองคประกอบของความฉลาดทางอารมณที่มีความสัมพันธกับกล ุมเปาหมายตาง ๆ เชน นักเรียน ผ ูบริหารองคกร ฯลฯ

3. การศึกษาวิจัยเชิงยืนยันถึงแบบจําลอง แนวคิดเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณเฉพาะกล ุมเปาหมายและแนวการสงเสริมและเพิ่มพูนความฉลาดทางอารมณ

4. การวิจัยเชิงผลกระทบและบทบาทของบุคลิกภาพ อารมณตอกระบวนการทางสมองและสติปญญา

5. การศึกษาเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณขามวัฒนธรรม6. การออกแบบพัฒนาความฉลาดทางอารมณใหแกกล ุมเปาหมายระดับตาง ๆ7. การศึกษาขยายผลเพื่อน้ําความร ู ความเขาใจเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ

ไปใชในวงการตาง ๆ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 50: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แนวทางการประเมินความฉลาดทางอารมณแบบประเมินปญหา

การประเมินความฉลาดทางอารมณ ซึ่งเปน Affective domain สามารถทําไดหลายประการ อาจใชหลาย ๆ วิธีประกอบกันเพื่อตรวจสอบความเชื่อถือไดและความเที่ยงตรง

1. แนวทางดานแรงจูงใจภายใน (Motivational approach) ประเมินแรงจูงใจที่นําไปส ูพฤติกรรม- ใหเลาสาเหตุความร ูสึก- แรงบันดาลใจใหแสดงออก- เขียน essay tests, indepth interview

2. การใชเทคนิคเหตุการณสําคัญ (Critical incident approach)- วิเคราะหเชิงคุณภาพโดยมีเหตุการณที่บงชี้ถึงการมคีวามฉลาดทางอารมณระดับตาง ๆ

- เรียงลําดับพฤติกรรมที่ผ ูตอบเคยปฏิบัติและประสงคจะทํา

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 51: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 52: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 53: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 54: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

พัฒนาการทางอารมณของบุคคลข้ึนอย ูกบัลกัษณะพื้นฐานอารมณเดิมที่ติดตัวมาแตเกิดเชนเด็กที่มีการรับร ูคอนขางไว เด็กที่มีปฏิกิริยาโตตอบรวดเร็วตอสิ่งเรา เด็กที่เวียนหมกม ุนกับตนเองและเด็กที่มีความม ุงมั่นสูง เปนตน

พัฒนาการดานจิตใจเร่ิมจากการไมสามารถชวยตนเอง ขาดการควบคุมเมื่อตองเผชิญกบัสิง่เราที่เขามาอยางทวมทนไปจนถึงการทีเ่ด็กสามารถรับร ูความร ูสึกตนเองและมีประสบการณที่นําไปส ูความตองการและความคิด

เด็กวยัทารกเรียนร ูเกีย่วกบัโลกภายนอกจากสิง่ตาง ๆ ทีอ่ย ูใกลตัวโดยผานประสาทสมัผัสเชน การหยิบจับ การไดยิน และเหตุการณที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวัน การรับร ูทางประสาทสัมผัสแตละคร้ังที่เกิดข้ึนในเด็กจะถูกบันทึกไวและนําไปส ูพัฒนาการทางอารมณ ซึ่งหมายความวาเด็กจะโตตอบตอสิ่งเราตามลักษณะของอารมณและผลกระทบทางรางกายทีเ่ด็กไดรับ เชน ผาหมจะใหความร ูสกึอบอ ุนและสบาย เด็กจะเกิดความร ูสึกปลอดภัย แตจะต่ืนตกใจถาถูกแมผลักไส ขณะที่ประสบการณของเด็กเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ จากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม การรับร ูทางประสาทสัมผัสของเด็กจะเกี่ยวโยงกับความร ูสึกเพิ่มข้ึนตามไปดวยซึ่งเปนลักษณะของการมีประสบการณสองทางพรอมกันคือทั้งทางรางกายและอารมณเชน ขณะเห็นของเลนสีสวย สดใส เด็กจะมีประสบการณของความร ูสึกพอใจรวมไปดวย

มนุษยเร่ิมรับร ูเหตุการณและความร ูสึกต้ังแตเร่ิมตนชีวิต แมทารกอายุ 1 วัน ก็มีปฏิกิริยาตอการรับร ูทางประสาทสัมผัสโดยมีอารมณเขามาเกี่ยวของ เชน เด็กจะชอบเสียงหรือกลิ่นของแมมากกวาของคนอ่ืน การรับร ูทางประสาทสัมผัสแตละดานทําใหมีผลทางอารมณแตกตางกันในเด็กแตละคน หรืออาจกลาวไดวาการรับร ูทางประสาทสมัผัสอยางเดียวกนั ไมจําเปนวาจะทําใหเกดิผลทางอารมณทีเ่หมอืนกนัในเด็กทุกคน

ความสามารถในการแยกความแตกตางและแสดงออกไดอยางเหมาะสมมาจากอารมณที่ทําหนาที่รวบรวมขอมูลจากประสบการณและพฤติกรรมตาง ๆ เชน เด็กเรียนร ูที่จะทักทายคนร ูจักหรือคนในครอบครัวดวยความร ูสกึเปนมติรซึง่เปนพืน้ฐานสาํคญัในการมปีฏิสมัพนัธกบับคุคลอ่ืนในระยะตอๆ ไปในการเขาสังคม เด็กจะเรียนร ูวาการเขาสังคมจะตองย้ิมแยม พูดทักทายกับคนที่เปนมิตรเทานั้น

กอนที่ทารกจะเร่ิมหัดพูด หรือกอน 18 เดือน เด็กมคีวามสามารถในการรับร ูไดวาบุคคลที่เด็กร ูจักใหมอาจเปนมติร นาเกรงกลวัหรือเขาใจและใหความชวยเหลอื ซึ่งทาํใหเด็กแสดงพฤติกรรมตอบุคคลเหลานั้นไดตามความเหมาะสม ความสามารถในการแยกความแตกตางของอารมณจะทําหนาที่เสมือนหนึ่งประสาทสัมผัสที่ 6 (sixth sense) และนําไปส ูการสามารถจัดการกับสถานการณทางสังคมได

พัฒนาการทางอารมณไมเพียงแตทําใหเด็กร ูจักพูดทักทายคนอ่ืนหรือเรียกรองความสนใจเทานัน้ แตยังทําใหเด็กมคีวามคดิสรางสรรคและร ูจกัแกปญหาดวย เนือ่งจากในการทีค่นเราจะตัดสนิใจเลือกไดวาความคิดใดสําคญัหรือไมควรใหความสนใจ ลวนมาจากประสบการณทีไ่ดจากการเรียนร ูในวยัเด็กซึ่งไดจากประสบการณทางประสาทสัมผัสและทางอารมณรวมกัน แมในการจะตอบคําถามงาย ๆ ไดกต็องมปีระสบการณทางอารมณทีช่วยใหเกดิคําตอบทีถู่กตองเหมาะสม ดังนัน้ความคดิของคนเราจะมาจาก

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 55: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

องคประกอบ 2 สวน นั่นคือความสามารถทางอารมณที่จะแยกความแตกตางและรวบรวมรายละเอียดของสถานการณกอนที่จะใชคําพูดหรือสัญลักษณตาง ๆ

จากการศึกษาที่วาความฉลาดดานเชาวนปญญามีพื้นฐานมาจากอารมณ ทําใหไดแนวคิดใหมเกี่ยวกับกระบวนการเรียนร ูที่จะพัฒนาความคิดดานนามธรรม เนื่องจากความสามารถดานนี้โดยแทจริงแลวกค็ือความสามารถในการผสมผสานประสบการณตาง ๆ ทางอารมณที่เกดิข้ึน แลวสรุปเปนความคิดรวบยอด ความสามารถในการเขาสังคมไดอยางเหมาะสมก็มาจากประสบการณทางอารมณเชนเดียวกนั สวนความคดิเห็นด้ังเดิมทีว่าการแสดงออกทางอารมณมคีวามสาํคญัเปนรองจากการรับร ูดานเชาวนปญญาไดเปลีย่นไป และเปนทีย่อมรับกนัวาในสถานการณสวนใหญ อารมณมีอิทธิพลสาํคัญเปนอันดับแรก

พัฒนาการทางอารมณในระดับอายุตางๆ

เด็กอายุ 4 เดือน สามารถมีปฏิกิริยาโตตอบตอภาพที่เห็นหรือเสียงที่ไดยินจากคนบางคนดวยความกลัว

ในตอนตนของขวบปแรก เด็กสามารถแสดงทาทางโนมตัวเขาหาเพื่อใหคนอ ุมและจะมีการแสดงทางสีหนาใหร ูลักษณะอารมณที่มีอย ู พฤติกรรมการแสดงออกที่ ต้ังใจเหลานี้จะนําไปส ูการร ูจักขอบเขตของตนเองวา “ฉันคือใคร” กับ “คนอ่ืนที่ฉันตองการใหทําบางสิ่งบางอยางใหฉัน”

ในครึ่ งหลังของขวบปแรก เด็กมี การแสดงออกทางอารมณที่ แตกตางกั นในสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในกิจวัตรประจําวัน เชน โกรธ กลัว แปลกใจ สิ้นหวัง และมีความสุข ฯลฯเด็กเร่ิมมีการรับร ูความเปนจริงภายนอกซึ่งอารมณไมเพียงแตมีสวนในการรวบรวมขอมูลเทานั้น แตยังชวยใหเด็กแสดงบทบาทไดอยางถูกตองอีกดวย เมือ่เด็กอายุ 12 เดือน เด็กจะมคีวามตองการความใกลชดิจากแมเกือบตลอดเวลา แตทกุคร้ังทีเ่ด็กเรียกรองความสนใจจากแม เด็กจะร ูสกึเครียดและอย ูในสภาวะที่ไมสามารถจัดการอะไรได

เด็กวัยหัดเดิน สามารถแยกความแตกตางในการแสดงสีหนาของบคุคลอ่ืนและรับร ูไดวาตนจะไดรับความสบาย ปลอดภัย หรืออันตราย

อายุ 12 - 18 เดือน เร่ิมมีความร ูสึกเชื่อมั่นตนเองในการแสดงออกอายุ 18 - 20 เดือน เร่ิมร ูวาตนเองตางจากบคุคลอ่ืน มทีัง้ความร ูสกึโกรธและรัก สามารถ

เขาใจความร ูสึกของคนอ่ืนและจดัการกบับคุคลเหลานัน้ไดอยางเหมาะสม การเขาใจคณุคาและทัศนะตอสิง่ตาง ๆ ก็เร่ิมจะเกิดข้ึนในชวงนี ้ ความตองการ ความคาดหวังและความต้ังใจจะเปลี่ยนแปลงไปส ูรูปแบบที่มีความหมายซึ่งมีอารมณเปนเคร่ืองชี้นํา

การตระหนักร ูในระดับร ูตัวของชวงอายุนี้ ประกอบดวยการร ูจักอารมณ พฤติกรรมและการกระทําไดดีข้ึน ซึ่งจะเปนรากฐานที่นําไปส ูการร ูจักตนเอง นอกจากนี ้ ยังมีการตระหนักร ูเกี่ยวกับผ ูอ่ืนและการมีปฏิกิริยาโตตอบกับผ ูอ่ืนก็จะมีจุดม ุงหมายและคาดการณไดมากข้ึน การตระหนักร ูในตนเองและผ ูอ่ืนเปนคร้ังแรกจะมาจากลักษณะอารมณที่ซับซอนและตามความคาดหวังของสังคมภายนอก

ปลายขวบปท่ี 2 เด็กมีความสามารถสื่อสารกับผ ูอ่ืนและมีความสุขในการมีปฏิสัมพันธกบับคุคล

ในชวงอายุ 3-4 ป เด็กจะสามารถเชื่อมโยงไดระหวางความคิดของตนเองกับของผ ูอ่ืน

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 56: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

กอนที่จะพูดไดเปนประโยค เด็กสามารถจะเกี่ยวโยงประสบการณตาง ๆ เขาดวยกันความคดิจะมคีวามสมัพันธกับอารมณ เชน “ฉันเสียใจเพราะฉันไมไดเห็นหนาแม” และเร่ิมมีความเขาใจเร่ืองอดีต ปจจุบันและอนาคต รวมทั้งการรับร ูจินตนาการและความเปนจริง และเร่ิมมีการควบคุมการแสดงออกที่หุนหันพลันแลนได

เด็กวยัเรยีน สามารถเขาใจและเห็นใจในความร ูสกึของผ ูอ่ืน เนือ่งจากมคีวามร ูสกึมัน่ใจวาตนเปนใคร ทําใหเกดิความเขาใจวาผ ูอ่ืนจะร ูสกึอยางไร การเขาใจและเห็นใจผ ูอ่ืนอยางแทจริงและการร ูจั กความถูกตองทางศลีธรรมจะเกดิข้ึนหลงัจากทีบ่คุคลไดพฒันาความสามารถในการเชือ่มโยงอารมณกบัความคดิสามารถสะทอนความร ูสกึ การกระทาํของตนเองและพฒันาความร ูสกึภายในจติใจทีม่คีวามมัน่คงพรอม ๆกับประสบการณที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา

ข้ันตอนการพัฒนาจิตใจ 6 ระดับ

ระดับท่ี 1 การควบคุมตนเอง : SELF REGULATIONไมไดพัฒนา : กระแสความคิดจะเปลี่ยนอยางรวดเร็ว (2-3 วินาท)ี จากเร่ืองหนึ่งไปส ูอีกเร่ืองหนึ่ง

หรือสวนใหญจะหมกม ุนอย ูกับตนเองเงียบ ๆไดพัฒนา : สามารถต้ังใจและอย ูในภาวะสงบไดในชวงเวลาสัน้ๆ (30-60 วินาที) เมื่อมแีรงจงูใจ

และความสนใจมากพอ ยกเวนเมื่อมีสิ่งเรามากเกินไป เชน เสียงดังเอะอะ หรือมีกิจกรรมอย ูตลอดเวลา

ระดับท่ี 2 ความผูกพัน : ENGAGEMENTไมไดพัฒนา : แยกตนเองหรือไมสนใจบุคคลอ่ืน

: ติดตอกับบุคคลอ่ืนอยางผิวเผิน ขาดความใกลชิดไดพัฒนา : มีความใกลชิด เอาใจใส แตภาวะดังกลาวจะหมดไปเมื่อเกิดอารมณรุนแรง เชน

โกรธหรือวิตกกังวลในการแยกจาก (ในกรณีที่พอแมไมใหความใกลชิดหรือมีการแสดงอารมณรุนแรง): มีอารมณที่ลึกซึ้งและความสามารถในการใกลชิด เอาใจใส เขาใจ เห็นใจผ ูอ่ืน

แมวาจะตกอย ูในภาวะที่มีความกดดันหรือมีความร ูสึกรุนแรง

ระดับท่ี 3 ความตั้งใจ : INTENTIONALITYไมไดพัฒนา : สวนใหญจะมีลักษณะเลื่อนลอย ขาดจุดม ุงหมายในการแสดงพฤติกรรมและการ

แสดงออกทางอารมณ (เชน ไมย้ิม หรือแสดงทาทางเพื่อใหคนโอบอ ุมหรือเขามาใกลชิด)ไดพัฒนา : แสดงความตองการและมีพฤติกรรมที่มีจุดม ุงหมาย มีการแสดงออกทางอารมณ

แตยังขาดเปาหมายที่ชัดเจนในแงของความตองการความใกลชิดภายในกล ุม: เร่ิมมีวัตถุประสงคที่แนนอน แตยังไมมีการแสดงออกทางอารมณอยางเต็มที ่ เชน

ตองการความใกลชดิและความอบอ ุนจากผ ูอ่ืนโดยใชการชําเลอืงมองและทาทาง แตจะกลายเปนสบัสนและขาดจุดม ุงหมายเมื่ออย ูในอารมณโกรธหรืออารมณรุนแรง

: แสดงพฤติกรรมที่มีจุดม ุงหมายและเปนไปอยางมีระบบ สามารถแสดงอารมณไดหลากหลายเปนสวนใหญ แมในขณะที่มีความเครียดและอารมณรุนแรง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 57: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ระดับท่ี 4 ความเปนตัวของตัวเองกอนคําพูด เขาใจความตั้ งใจและความคาดหวัง : THEPREVERBAL SENSE OF SELF COMPREHENSION INTENTION AND EXPECTATION

ไมไดพัฒนา : แปลความต้ังใจของผ ูอ่ืนผิดไปหรือสําคัญผิดซึง่ทาํใหเกิดความร ูสกึสงสยั ร ูสกึวาไมเปนที่ยอมรับและโกรธ ฯลฯ

ไดพัฒนา : สามารถร ูความต้ังใจของบุคคลอ่ืน เชน ร ูวาตนจะเปนที่ยอมรับหรือไมเปนที่ตองการเมื่อมีสัมพันธภาพกับบุคคลนั้น แตไมสามารถเขาใจความร ูสึกละเอียดออน เชน ความร ูสึกเคารพนับถือ ความลําเอียงหรือความรําคาญ

: สามารถรับร ูไดอยางถูกตองและแสดงปฏิกริิยาโตตอบตอการแสดงออกทางอารมณของผ ูอ่ืน ยกเวนในสถานการณที่มีความย ุงยากและในภาวะกดดันหรือมีปญหาในเร่ืองความบกพรองทางประสาทสัมผัส เชน การไดยิน การเห็น ซึ่งทําใหมีความสับสนในการรับร ู

: สามารถรับร ูและแสดงปฏิกิริยาโตตอบตอการแสดงออกทางอารมณของผ ูอ่ืนไดอยางยืดหย ุนและถูกตอง แมจะอย ูในสภาวะที่มีความกดดัน เชน การเขาใจความแตกตางระหวางความปลอดภัยกับอันตราย การชมเชยกับการถูกตําหน ิ การยอมรับกับไมเปนที่ตองการ ความเคารพนับถือกับความร ูสึกอับอาย และความโกรธในแบบตาง ๆ ฯลฯ

ระดับท่ี 5 สรางสรรคและตอเติมความคิดทางอารมณ : CREATING AND ELABORATINGEMOTIONAL IDEAS

ไมไดพัฒนา : สามารถเปลี่ยนความตองการและความร ูสึกใหแสดงออกเปนการกระทํา แตยังไมสามารถใชความคิดในการตอเติมหรือขยายความตองการและอารมณได (เชน ชกตอยเมื่อโมโห กอดหรือปรารถนาความใกลชิดทางรางกายเมื่อตองการมากกวาจะมีประสบการณทางความคิดที่แสดงความโกรธหรือความปรารถนาในความใกลชิด)

ไดพัฒนา : แสดงความคิดแบบรูปธรรมเพื่อทําความปรารถนาใหเปนการกระทําหรือเพื่อใหไดสิ่งที่ตองการ แตไมขยายความคิดหรือความร ูสึกตามที่ควรจะเปน (เชน ตองการชกตอยเมื่อโกรธ แตอาจจะไมทําเพราะมีใครบางคนมองดูอย ูมากกวาจะร ูสึกโกรธจนกระทั่งตองการชกตอย)

: มักใชความคิดทีเ่ต็มไปดวยจนิตนาการและการริเร่ิมสรางสรรค มกีารแสดงออกทางอารมณไดหลากหลาย ยกเวนเมื่อมีปญหาทางอารมณหรือเมื่อตกอย ูในภาวะที่ถูกกดดัน (เชน ไมสามารถแสดงความโกรธหรือความสิ้นหวังไดทางคําพูดหรือการเลนสมมุติ)

: ใชความคิดในการแสดงออกทางอารมณอยางเต็มที่มีจนิตนาการและการริเร่ิมสรางสรรคเปนสวนใหญแมวาจะตกอย ูในภาวะที่มีความกดดัน

ระดับท่ี 6 ความคิดทางอารมณ :ไมไดพัฒนา : การมีประสบการณดานความคิดจะมีลักษณะไมตอเนือ่งกนั อาจจะพดูประโยคหนึ่ง

แลวพูดตอดวยประโยคที่ไมมีความเกี่ยวของกันอยางมีเหตุผลไดพัฒนา : ความคิดจะมีลักษณะตรงกันขามกันสองทาง เชน ถูกทั้งหมดหรือไมก็ผิดทั้งหมด

ดีสุดหรือเลวสุด และไมมีการประนีประนอมระหวางความคิดทั้ง 2 ทางนี้

EMOTIONAL THINKING

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 58: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

: ความคิดจะอย ูในวงจํากัดและมีแนวโนมที่จะเนนอย ูในบางเร่ือง เชน โกรธ และการแขงขัน ซึ่งดูเหมือนวาจะมีเหตุผล แตอารมณที่รุนแรงหรือที่มีปญหาและความเครียดจะนําไปส ูความคิดที่ขัดแยงในทางตรงขามหรือไมตอเนื่อง

: ความคิดจะมีลักษณะที่เต็มไปดวยเหตุผล เปนนามธรรมและมีความยืดหย ุน มี การแสดงออกทางอารมณและปฏิกิริยาโตตอบที่เหมาะสม และยังสะทอนถึงระดับอายุและความเกี่ยวของกับความพยายาม ในการมีสัมพันธภาพกับเพื่อนในระดับอายุเดียวกัน ค ูครอง สมาชิกในครอบครัวและการพึ่งพาซึ่งกันและกันที่จะพัฒนาไปส ูกาวใหมในการดําเนินชีวิต

พัฒนาการทางอารมณของเด็กวัยตาง ๆ

วัยทารก 2 - 6 เดือนการแสดงทางอารมณของเด็กยังแยกไมออกอยางชดัเจน เชน การย้ิม อาจไมมคีวามหมาย

ทีล่กึซึง้นกั แตในคร่ึงปหลัง เด็กบางคนจะแสดงวาร ูจกัแยกความแตกตางของบุคคลที่อย ูในสิ่งแวดลอม เชนเด็กอาจย้ิมกบัคนทีร่ ูจักค ุนเคยและแสดงความกลัวคนแปลกหนา

วัย 16 เดือน - 2 ขวบครึ่งเด็กเร่ิมมีการแสดงออกทางอารมณที่ชัดเจนข้ึน เชน โกรธ อาย เปนตน- มีลักษณะของความร ูสึกเปนตัวของตัวเอง ซึ่งแสดงออกโดยพฤติกรรมการพูดวา

“ไม” เปนการปฏิเสธ- ในระยะของวัยทีเ่ด็กหัดเดิน เด็กจะมกีารตระหนักร ูเกี่ยวกบัตนเองมากข้ึน เด็กอาจหัวเราะ ตะโกน หรือรองไหเมื่อเห็นเด็กคนอ่ืนทําเชนนั้น แตเด็กก็จะมีการรับร ูไดวาตนอาจจะทําอะไรที่แตกตางออกไปจากคนอ่ืน การตระหนักร ูในตนเองเปนจุดเร่ิมตนที่ทําใหเกิดความร ูสึกตองการแขงขันและร ูจักความหมายของอารมณ

- การติดตอสื่อสารกับบุคคลอ่ืนมักแสดงออกในพฤติกรรมที่ออกคําสั่งหรือขอรอง- การร ูจักถูกผิดและการเรียนร ูที่จะเคารพความร ูสึกของบุคคลอ่ืนจะเร่ิมต้ังแตเด็กยังเล็กซึ่งจะไดอิทธิพลจากตัวอยางของพอแมและทาทีของบุคคลอ่ืนในสิ่งแวดลอมสวนใหญมักจะเร่ิมจากความเห็นแกตัวกอน แลวจึงเปนการออนนอม เชื่อฟง

วัยที่เด็กเร่ิมหัดเดินเปนระยะที่เด็กเรียนร ูขอบขีดจํากัดระหวางตนเองกับสิ่งแวดลอมรับร ูประสบการณใหมๆ ที่นาต่ืนเตนและพัฒนาการดานภาษาชวยใหเร่ิมรับร ูความเปนจริงมากข้ึน

เดก็กอนวยัเรยีนเปนชวงพัฒนาการที่สําคัญที่เด็กเร่ิมแสดงความร ูสึกไดโดยตรงจนสามารถศึกษาหรือ

สงัเกตได- เปนระยะที่เด็กสามารถเรียนร ูคุณคาและการมีปฏิสัมพันธกับผ ูอ่ืนและเร่ิมสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืนนอกจากสมาชิกในครอบครัว

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 59: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

- ในระยะนี้เด็กเร่ิมเรียนร ูความถูกตองซึ่งเปนสวนหนึ่งของพัฒนาการดานคุณธรรมเชน เด็กอายุ 2 ขวบที่ทํานมหกเลอะเทอะบนผาปูโตะใหม อาจมีประสบการณกบัความร ูสกึกลวัและวติกกงัวลจากผลทีไ่ดรับจากภายนอก เชน การถูกลงโทษ แตเด็ก4 ขวบจะมีความร ูสึ กแตกตางไป และเร่ิมจะมีประสบการณของความร ูสึกผิดดวยตนเอง แทนการกลัวถูกทําโทษจากบุคคลอ่ืน

วัย 4 - 5 ขวบเด็กมคีวามเขาใจและสื่อสารใหผ ูอ่ืนเขาใจตน สามารถอธิบายเหตุการณใหผ ูอ่ืนเขาใจได

- ในการมปีฏิสมัพันธกบัผ ูอ่ืน เด็กจะเร่ิมมพีฤติกรรมทีขั่ดแยงกันระหวางความเห็นอกเห็นใจความกาวราวและความเปนผ ูนํา

- ตัวอยางของการมีความเห็นใจผ ูอ่ืน เชน เด็กจะหยุดมองเมื่อเห็นเด็กอ่ืนกําลังรองไหครํ่าครวญ เด็กอาจจะปลอบเพื่อนที่ถูกแกลง วิ่งไปบอกครู หรือจัดการกับคนที่รังแกเด็กอ่ืน แตความร ูสึกเห็นใจของเด็กวัยนี้ยังไมชัดเจนเชนเดียวกับผ ูใหญและมักจะเกิดรวมไปกับความร ูสึกวาตนเหนือกวา การร ูสึกผิด การร ูสึกไมเปนมิตรหรือความร ูสึกอ่ืนๆ เปนตน

- การเลนของเด็กวัยนี้จะสะทอนใหเห็นวาเด็กเร่ิมรับร ูถึงความแตกตางระหวางสิ่งสมมุติกับความเปนจริง

- การร ูจักตนเองของเด็กมาจากการรับร ูสิ่งตาง ๆ รอบตัว โดยเฉพาะคนรอบขางกอนและเมื่อเด็กร ูจักความแตกตางของตนเองที่ไมเหมือนคนอ่ืนมากข้ึน เด็กจะเร่ิมมีความสงสัยเกี่ยวกับสถานภาพของตนเองและเรียนร ูจักตนเองในระยะตอมา

วยัเดก็ 6 -12 ปเปนระยะที่การเจริญเติบโตโดยทั่วไปจะชาลง เด็กวัยนี้เร่ิมร ูจักตนเองอยางชัดเจนข้ึน

จากการแสดงปฏิกิริยาของคนรอบขางในสิ่งแวดลอม การร ูจกัตนเองไมเพยีงแตมาจากความร ูสึกวาเปนที่รักและยอมรับของคนในครอบครัว แตยังมาจากความร ูสึกวาตนมีความสามารถในการกระทํา สิ่งตาง ๆดวยตนเอง และจากการกระทําตามการเรียกรองของผ ูอ่ืน เด็กจะสามารถพิจารณาและวิจารณตนเอง เร่ิมเขาใจกฎเกณฑและสรางสัมพันธภาพที่มีความหมายกับผ ูอ่ืน

วยัร ุนการร ูจกัตนเองในวยัร ุนมาจากความร ูสกึวาตนแตกตางจากผ ูอ่ืน ไดแก เพือ่น ผ ูใหญคนอ่ืนๆ

มีความคดิเห็นเปนของตนเองซึ่งเต็มไปดวยความเปลีย่นแปลง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 60: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การแสดงออกทางอารมณของวยัร ุนจะมลีกัษณะรุนแรงและขาดการควบคมุ จนใน บางคร้ังมีคนสรุปวาวยัร ุนเปนวัยที่เต็มไปดวยความว ุนวาย

มรีายงานทีร่วบรวมองคประกอบสาํคญัของความสามารถทีม่คีวามสมัพนัธกบั ความฉลาดทางอารมณของเด็กคือ

1. ความเชื่อมั่น เปนความร ูสึกวามีความสามารถในการควบคุมและมีอํานาจเหนือพฤติกรรมที่แสดงออกทางรางกายและสิ่งแวดลอม เด็กจะมีความร ูสึกวาตนประสบความสําเร็จในสิ่งที่ทําและผ ูใหญจะใหความรวมมือ

2. ความอยากร ูอยากเห็น เปนการรับร ูวาการคนหาสิ่งตาง ๆ เปนสิ่งที่ดีและจะไดรับผลเปนที่พอใจ

3. การตระหนักร ูไดเองโดยไมตองใหเหตุผล เปนความปรารถนาที่จะมีความม ุงมั่นที่จะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางตอเนื่อง ซึ่งจะเกี่ยวโยงไปถึงความสามารถในการแขงขันและการทําสิ่งตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ

4. การควบคุมตนเอง เปนความสามารถในการจัดการและควบคุมการกระทําของตนเองซึ่งเปนการควบคุมจากภายใน

5. การเกี่ยวของกับผ ูอ่ืน เปนความสามารถในการสรางสัมพันธภาพที่มาจากความร ูสึกวาตนไดรับความเขาใจและยอมรับจากคนที่เขาใจตน

6. ความสามารถในการสื่อความหมาย เปนความตองการและความสามารถในการแลกเปลี่ยนความคิด ความร ูสึกกับผ ูอ่ืนซึ่งมาจากความร ูสึกไววางใจและพอใจในการติดตอกับผ ูอ่ืน

7. ความรวมมือ เปนความสามารถในการปรับความตองการของตนเองใหเขากับผ ูอ่ืนในการทํากิจกรรมเปนกล ุม

ความสามารถทัง้หมดนีเ้กดิข้ึนจากการเตรียมของพอแมและพฒันาใหเกดิข้ึนไดต้ังแตวัยเด็ก

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 61: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในพัฒนาการของเด็กวัยตางๆ นับจากวัยทารกเปนตนมา เด็กจะมีความร ูสึกผูกพันอยางใกลชิดกับปฏิกิริยาโตตอบทางอารมณของพอแม ผ ูเลี้ยงดู

พัฒนาการทางอารมณเกดิจากการเชือ่มโยงระหวางปฏิก ิริยาโตตอบทางรางกายและการเคลื่อนไหวกับความนึกคิดที่มีตอสถานการณตางๆที่เกิดข้ึน เชน เด็กจะรองไหเมื่อสุนัขหายไป หรือกระโดดดีใจเมื่อไดสิ่งที่ตองการ

พัฒนาการที่สมบูรณของความสามารถในการรับร ูมีบทบาทสําคัญมากตอพัฒนาการทางอารมณของเด็ก เชน การรับร ูจะชวยแยกแยะความแตกตางระหวาง สีหนาที่ย้ิมแยมกับบึ้งตึง และเสียงไพเราะออนหวานกับเสียงของการข ูตะคอก เปนตน

เด็กที่มีความแตกตางกันระหวางความร ูสึกเชื่อมั่นกับความกลัวการลมเหลวจะมาจากทาทีในการอบรมเลีย้งดูของพอแมต้ังแตแรกเกิด พอแมควรเขาใจวาการกระทาํของตนมผีลในการทาํใหเด็กเกิดความร ูสึกตางๆ ทั้งในเร่ืองความเชื่อมั่นตนเอง ความอยากร ูอยากเห็น ความพอใจในการเรียนร ูการเขาใจกฎเกณฑและขอบขีดจํากัดซึ่งชวยใหประสบความสําเร็จในชีวิตเมื่อส ูวัยผ ูใหญ ความสําเร็จดานการศกึษากข้ึ็นอย ูกบัลกัษณะอารมณทีพ่ฒันามากอนทีเ่ด็กจะเขาโรงเรียนเชนกนั

ทารกจะเรียนร ูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบตัวจากประสาทสัมผัสเบื้องตน เชนการจับตองการไดยินเสียงและเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึน ประสาทสัมผัสแตละดานทําใหเด็กเกิดการเรียนร ูและแสดงการโตตอบตอสิ่งเราทั้งในดานอารมณและตอผลที่เกดิกบัรางกายของตัวเด็กเอง เชน ผาหมจะใหความร ูสึกน ุมสบาย หรือไมก็ร ูสึกระคายคันเพราะผาหมเนื้อหยาบเกินไป การที่แมคอยแวะมาจับตอง ดูแลลูกและโอบอ ุมเด็กกท็ําใหเด็กเกิดความร ูสกึอ ุนใจและปลอดภัย ซึ่งจะตางจากเด็กที่ไดรับการอ ุมอยางไมเต็มใจหรือถูกผลักไส เมื่อเด็กรองไหทําใหเด็กร ูสึกหวั่นวิตกและกลัว จากประสบการณของเด็กที่ไดรับเพิ่มข้ึน และความประทับใจจากการรับร ูทางประสาทสมัผัสทําใหเกดิการเชือ่มโยงกบัพฒันาการดานอารมณและความร ูสกึซึง่เปนกุญแจสําคัญที่นําไปส ูความเขาใจวาพัฒนาการทางอารมณและการตระหนักร ูในตนเองเกิดข้ึนไดอยางไร

การรับร ูทางประสาทสัมผัสที่เด็กแตละคนไดรับจะมีผลในการใหความร ูสึกแตกตางกันบางคนจะร ูสึกวาทําใหเกิดความสบาย หรือบางคนร ูสึกหวาดวิตก การรับร ูทางประสาทสัมผัสในวัยทารกเกดิจากประสบการณทีเ่ด็กไดรับจากบคุคลที่ใกลชดิ ทําใหเด็กรับร ูความหมายทางอารมณไมวาในทางบวกหรือทางลบ ดังนั้น พัฒนาการทางอารมณของเด็กทุกคนจะข้ึนอย ูโดยสิ้นเชิงกับบุคคลใกลชิดที่เด็กตองพึ่งพาเพื่อการมีชีวิตอย ูรอด ซึ่งเด็กจะไดรับจากการเลี้ยงดูและทาทีของพอแมในแบบตางๆ ต้ังแตรักใครเอาใจใส ใหความอบอ ุน ไปจนถึงการเลี้ยงดูแบบทอดทิ้ง ขาดความรัก

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 62: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การไดสัมผัสและเรียนร ูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบตัวในระยะตาง ๆ ของการเจริญเติบโตอารมณจะชวยใหเด็กเขาใจ แมสิ่งที่ไดสัมผัสทางรางกาย เชน ความร ูสึกรอนหรือเย็น อาจดูเหมือนวาเปนความร ูสึกจากการสัมผัสทางรางกาย แตที่จริงแลวเด็กจะเรียนร ูในขณะเดียวกันวา รอนเกินไป เย็นเกินไปและเย็นพอดี จากประสบการณที่ไดรับในการอาบน้ําที่อ ุนสบาย หรือน้ําเย็นจนทําใหหนาว รวมทั้งเสื้อผาที่สวมใสวาน ุมหนาพอดี หรือบางเกินไป

เด็ก 2 คนทีไ่ดรับการเลีย้งดูทีอ่บอ ุน เอาใจใสกบัไมสนใจ จะมพีืน้ฐานทางจติใจตางกนั เด็กแตละคนอาจมีประสบการณไดทั้งในแงบวกและลบ แตข้ึนอย ูกับวาเด็กไดรับประสบการณดานใดมากที่สุดปฏิสัมพันธระหวางเด็กกับพอแมในวัยทารกจะเปนรากฐานของการเกิดความร ูสึกเกี่ยวกับตนเองและคนใกลชิดอ่ืนที่มีปฏิสัมพันธดวยในวัยตอมา ซึ่งจะแตกตางกันแลวแตประสบการณจากการเลี้ยงดู

เด็กที่ไดรับการเอาใจใสจะมคีวามมั่นใจวาความตองการของตนไดรับการตอบสนองและพรอมจะรับความชวยเหลือเมื่อตองการ

เด็กที่ไมไดรับการเอาใจใสจะมคีวามร ูสกึวาไมมใีครสนใจ พึง่พาใครไมได หรือถาขอความชวยเหลือก็จะพบแตความผิดหวัง

มีการศึกษาวิจัยระยะยาวต้ังแตวัยเด็กถึงวัยผ ูใหญพบวาเด็กที่เติบโตข้ึนเปนคนที่ขาดความร ูสึกเห็นใจผ ูอ่ืน ลวนมาจากการเลี้ยงดูที่เคยถูกทํารายทั้งทางอารมณและรางกายจากพอแม

จากการศึกษาเด็กวัยกอนเรียน 2 กล ุมที่อย ูในสิ่งแวดลอมที่ยากจนเหมือนกัน แตไดรับการเลี้ยงดูตางกันพบวา เด็กที่ไดรับการเลี้ยงดูมาอยางอบอ ุนจะแสดงความเห็นใจเมื่อเห็นเด็กอ่ืนรองไหเสียใจ สวนเด็กที่ถูกทํารายทางจิตใจจะไมแสดงความสนใจเชนเด็กกล ุมแรกและอาจจะแสดงปฏิกิริยาตอเด็กที่กําลังรองไหดวยความกลัว โกรธ หรือแมแตเขาไปทํารายรางกาย

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 63: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 64: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 65: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 66: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

โกลแมนไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณในหมวดสมรรถนะสวนบุคคลในการบริหารจัดการกับตนเอง วามีองคประกอบ 3 อยาง คือ

การตระหนักร ูตนเอง หมายถึง การตระหนักร ูความร ูสึกโนมเอียงของตนเองและหย่ังร ูความเปนไปไดของตนรวมทั้งความพรอมของตนในแงตางๆ กลาวคือร ูเทาทันในอารมณตน สาเหตุที่ทําใหเกิดความร ูสึกนั้น ๆ และผลที่ตามมา ประเมินตนเองไดตามความเปนจริง ร ูจุดเดน จุดดอยของตนเอง

การควบคุมตนเอง หมายถึง ความสามารถในการจัดการกับความร ูสึ กของตนเองสามารถจัดการกับภาวะอารมณหรือความฉุนเฉียวได รักษาความเปนผ ูที่ซื่อสัตยและคุณงามความดีมีความสามารถที่จะปรับตัวไดอยางยืดหย ุนในการจัดการกับความเปลี่ยนแปลง สามารถสรางสิ่งใหมมีความสุข และเปดกวางกับความคิด ขอมูลใหม ๆ เปนผ ูที่มีความรับผิดชอบ

การสรางแรงจูงใจใหตนเอง หมายถึง แนวโนมของอารมณที่ เปนปจจัยส ูเปาหมายเปนความพยายามทีจ่ะปรับปรุงหรือมีแรงบนัดาลใจใหไดมาตรฐานทีดี่เลศิ มีความคดิริเร่ิมพรอมทีจ่ะปฏิบติัตามโอกาสที่อํานวย มีการมองโลกในแงดี แมมปีญหาอุปสรรคกม็ิไดลมความต้ังใจทีจ่ะทาํใหบรรลเุปาหมาย

ผ ูที่มีความฉลาดทางอารมณ ไมเพียงแตร ูว ามีคุณสมบัติที่พึงประสงคสําหรับตนเองเทานั้น แตปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสมตามความสามารถที่มีอย ูดวย

ที่จริงแลวการตระหนักร ูตนเอง การควบคุมตนเองและการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธ์ิใหกับตนเองตามทัศนะของนักวิชาการตะวันตก อาจนํามาประยุกตเขากับธรรมะในพระพุทธศาสนาซึ่งมีความหมายคลายคลึงกันแตอธิบายกันคนละอยาง เชน การมีสติ คือ การระลึกได เตือนตนเอง ตระหนักร ูตนเองได สวนสมัปชญัญะ เปนธรรมะทีเ่ปนปจจยัในการตระหนกัร ูตนเอง ควบคมุและสรางแรงจงูใจใหตนเองปราชญไทยทานหนึ่งผูกเร่ืองการตระหนกัร ูตนเอง การควบคุมตนเองและการสรางแรงจงูใจไวเปนคํากลอนนาฟงวา

“จงเตือนตนของตนใหพนผิด ตนเตือนจิตตนไดใครจักเหมือนตนเตือนตนไมไดใครจักเตือน อยาแชเชือนเตือนตนใหพนภัย”

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 67: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

โดยมากแลวความสําเร็จในการทํางานโดยเฉพาะงานบริหารหรือการ ทําธุรกจิ นอกจากจะข้ึนอย ูกบัความสามารถของตนแลวยังข้ึนอย ูกบัความรวมมอืของผ ูอ่ืนดวย

ความฉลาดทางอารมณที่มีสวนใหเกิดความสําเร็จในการทํางานคือ ความสามารถดานการพฒันาสายสมัพนัธทีดี่กบัผ ูอ่ืนซึ่งประกอบดวยการพัฒนาทักษะ สือ่สารทีดี่ ความเกงคนและการชวยเหลอืผ ูอ่ืนใหเขาชวยตัวเองได การใชความฉลาดทางอารมณเพื่อเสริมสรางความสําเร็จในการทํางานไดนั้นจะตองรับร ู ตีความและแสดงสภาวะอารมณไดอยางถูกตอง มคีวามสามารถในการใชสภาวะอารมณนัน้ๆ ตอตนเองผ ูรวมงานและมีการเรียนร ู ตลอดจนเขาใจอารมณและความร ูสึกที่ไดรับ นอกจากนี ้ ตองสามารถควบคุมอารมณและเอาชนะ สรางพฤติกรรมในทางบวก

บคุคลผ ูหวงัความสาํเร็จในการทาํงาน นอกจากจะฉลาดร ูในกระบวนการ ทํางานแลว ยังตองฉลาดร ูในอารมณของตนเองและผ ูอ่ืน

องคประกอบสําคญัทางสงัคมของความฉลาดทางอารมณ คอื “ฉลาดทํา” หรือความมศีลิปะเปนเร่ืองของการ “ทําเปน” ไมใช “ทําได” เทานัน้ “ฉลาดพดู” คอื การร ูจกัเลอืกพดูแตสิง่ทีดี่ ทีม่ปีระโยชน สามารถยกใจของผ ูพูดและผ ูฟงใหสูงข้ึน “ฉลาดคดิ” เปนความสามารถทางใจซึง่ตองมสีติสมัปชญัญะ สามารถควบคมุความคดิ ในทางทีดี่ คดิในทางสรางสรรค คดิทีจ่ะยกจติใจของตนและผ ูรวมงานใหสงูข้ึน

แมจะฉลาดร ู ฉลาดทํา ฉลาดพูดและฉลาดคิด หากใชคนไมเปนหรือวางตําแหนงของคนไมถูกกบังานนัน้หรือองคกรนัน้ กจ็ะทาํงานสมัฤทธ์ิผลไดไมเต็มกาํลงัความสามารถทีค่วรจะไดรับหรือควรจะเปน ดังที่ทราบกันดี ในการบริหารงานสมัยใหมตองจัด “the right man to the right job and atthe right time and right actions”

การใชคนหรือวางตําแหนงของคนใหถูกกับงานหรือองคกรนั้นๆ จึงจะทํางานอยางมีสัมฤทธิผลเต็มกําลังความสามารถที่สมควรจะไดรับหรือควรจะเปน

จากปญหาที่คน IQ สงู แตไมประสบความสําเร็จในการทํางานรวมกับผ ูอ่ืน อาจมาจากการไมไดใชศักยภาพหรือความเกงที่มีอย ูไดเนือ่งจากบคุคลอ่ืนๆ ไมใหความรวมมอื สาเหตุหลกัๆ กจ็ะเปนเพราะวาบุคคลเหลานี้มีปญหาในการควบคุมอารมณ เชน คนที่ปราดเปร่ือง แตทําเร่ืองที่ไรเหตุผล

จงึสรุปไดวาคนทีเ่ชาวนปญญาดี หรือ IQ สงู ไมไดหมายความวาจะประสบความสาํเร็จนักจิตวิทยาจึงไดกําหนดความเกงอีกดานหนึ่งที่จะสงผลใหบุคคลประสบความสําเร็จซึ่งก็คือความฉลาดทางอารมณ อันเปนคุณลักษณะที่เปนนิสัยและบุคลิกภาพของคน ๆ นั้น

ความฉลาดทางอารมณเกื้อหนนุการยอมรับ ความคดิริเร่ิม กอใหเกิดการสรางผลติผลที่สนองเปาหมาย ลดการลา ขาดหรือยายงานเนื่องจากขอขัดแยงระหวางบุคคลลง เสริมสรางการทํางานที่ประสานสัมพันธกันใหมากข้ึน การมีมนุษยสัมพันธที่ดีในการทํางาน ทํา ใหเราเคารพ รับฟงความคิดเห็นของผ ูอ่ืน เอาใจเขามาใสใจเราใหมากข้ึน มีความสามารถ ปรับตัว ปรับใจรับสถานการณตาง ๆ ไดดี

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 68: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ประโยชนของความฉลาดทางอารมณตอการทํางาน

ความฉลาดทางอารมณเปนสิ่งที่มีความจําเปนที่บุคคลควรจะมีหรือพัฒนาใหมากข้ึนเพื่อชีวิตการทํางานทั้งในปจจุบันและในอนาคต เนื่องจากโลกการทํางานในปจจุบันเปลี่ยนแปลงมากเมื่อเทียบกับแตกอน องคกรตาง ๆ จะมขีนาดเลก็ลง จาํนวนคนทาํงานถูกจาํกดัใหนอยลง คนทาํงานทีอ่ย ูในองคกรถูกคาดหวงัวาจะตองมีคุณภาพมาก ไมเพียงแตมีความสามารถหรือทักษะที่จําเปนในการทํางานหรือมีเชาวนปญญาดีเทานั้น แตตองมีความสามารถทํางานเปนทีมไดอยางมีความรับผิดชอบ มคีวามเขาใจและเอ้ืออาทรผ ูรวมงาน สามารถผลดักนัเปนผ ูนาํได มคีวามต่ืนตัว ที่จะเรียนร ูและพัฒนาตนเองอย ูเสมอ บุคคลตองมีการปรับตัวอยางมากเพื่อการทํางาน ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและอยางมีความสุขดวย ดังนั้นคนที่มีความฉลาดทางอารมณสูงเทานั้นจึงจะสามารถดํารงตนอย ูในโลกการทํางานปจจุบันไดดีกวาคนที่มีไอคิวสูงแตอีคิวตํ่า ความฉลาดทางอารมณจึงเขามามีบทบาทตอคนทํางานในปจจุบัน

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 69: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในโลกของการทํางานนั้นตองทํางานรวมกับคนอ่ืน ๆ ตองประสานงาน ประสานความ

รวมมือระหวางบุคคลเพื่อขับเคลื่อนใหงานบรรลุเปาหมาย จึงตองอาศัยศิลปะความเขาใจถึงธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย เพื่อเขาใจความร ูสึกนึกคิด จิตใจในสวนลึกของเขา ทําใหคนอยากรวมงานกับเราดวยความเต็มใจ

หลกัการของความรวมมอืในการทาํงานนัน้ คนทีอ่ยากรวมมอืกนัทาํงาน จะมเีหตุผลคอื1. เขาเห็นดวยกบัวตัถุประสงคทีเ่รากาํหนดหรือหนวยงานกาํหนดหรือรวมกนักาํหนด2. เขาเห็นดวยกับวิธีการทํางานของเรา3. ความมีมิตรภาพและความร ูสึกที่ดีตอเรา4. การยอมรับในภาวะผ ูนําของเรา5. เขาตองมีความร ูสึกวาเขาสําคัญตองานและเขามีประโยชนตองานนั้น

จากผลการวิจัยเกี่ยวกับความสําเร็จของการทํางานรวมกันพบปจจัยสําคัญ 3 ประการคอื ความตองการผูกพนั ความตองการความสาํเร็จและความตองการอํานาจ ทัง้ 3 ปจจยั มคีวามสาํคญัในสัดสวนที่เกือบจะเทากันและสิ่งที่ตองการสําหรับจุดม ุงหมายในชีวิตคือความตองการความสําเร็จในชีวิตคอืมคีวามพงึพอใจ มคีวามสขุกบัชวีติสวนตัวทีเ่ปลีย่นแปลงไปตามครรลองทีถู่กตอง มคีณุธรรม สามารถหางานทีต่นเองชอบ มคีวามสามารถพฒันาตนเองตามเปาหมายและวธีิการทีว่างไวอยางถูกตอง

จากผลงานศึกษาวิจัยมักพบปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่มีผลใหคนทํางานไดสําเร็จคือปจจัยดานความสามารถในการสรางความสัมพันธและความรวมมือกับผ ูรวมงานอ่ืน ๆ และปจจัยทางดานอารมณที่มีลักษณะสามารถควบคุมอารมณตนเองได แสดงออกอยางเหมาะสม แตเดิมจะมีความเชือ่เร่ืองการมเีชาวนปญญาสงูจะนาํไปส ูความสาํเร็จในชวีติ แตในชวง 3 ทศวรรษทีผ่านมา ต้ังแตป 1960มีการศกึษาวิจยัจาํนวนมากทีแ่สดงวาผ ูทีม่เีชาวนปญญาสงูแตตองลมเหลวตอตําแหนงผ ูบริหารสงูสดุเพราะขาดความเขาใจมนุษย ขาดการมีปฏิสัมพันธและการมีอารมณทีดี่ และยังพบวาการมีอารมณดีเปนพื้นฐานมีผลใหคนมีสุขภาพจิตดี มีความเขาใจตนเองและบุคคลอ่ืนไดงาย โดยมีลักษณะใชทั้งสมอง ทักษะและอารมณทีดี่ในการมปีฏิสัมพันธกบับคุคลอ่ืนและสามารถใชไดกบัตนเอง ทีบ่าน ทีท่ํางานและขณะออกสงัคมผ ูที่ขาดความฉลาดทางอารมณจะนําไปส ูความเครียด ความวิตกกังวลและใชความสามารถทางเชาวนปญญาที่มีอย ูไดไมเต็มที่

ความฉลาดทางอารมณเปนทักษะเฉพาะตนที่สามารถสรางข้ึนและพัฒนาไดดวยตนเอง ความฉลาดทางอารมณจะสงเสริมใหประสบความสําเร็จในดานการงานและครอบครัว ชีวิตสวนตัวและสังคม เพราะความฉลาดทางอารมณจะสรางใหตนเองเกิดความเขาใจความร ูสึกของตนเองและผ ูอ่ืนร ูจุดเดนจดุดอยของตนเอง ร ูจกับริหารควบคมุการจดัการดวยการแสดงออกทางอารมณ ความร ูสกึทีป่รากฏภายนอกไดอยางเหมาะสม ความฉลาดทางอารมณจะแบงเปน 4 สวน คือ

1. ความเขาใจตนเอง (SELF AWARENESS) เขาใจความร ูสึกและจุดม ุงหมายของตนเอง ร ูจุดเดนจุดดอยโดยไมมีอคติเขาขางตนเอง

2. ความเขาใจและเอ้ืออาทรผ ูอ่ืน (EMPATHY) และแสดงออกไดอยางเหมาะสม3. ความสามารถในการแกไขความขัดแยงทั้งภายนอกและภายในคือความเครียดใน

จิตใจ4. ความสามารถในการมคีวามคดิสรางสรรค (CREATIVITY THINKING) ดวยตนเอง

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 70: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

k k k k k

ปญหาในครอบครัวที่จะนําไปส ูความแตกแยกลวนมีรากฐานมาจากการขาดความเขาใจซึ่งกันและกัน สามไีมเขาใจภรรยา ภรรยาไมเขาใจสาม ี พอแมไมเขาใจลูก หรืออาจกลาวไดวาสมาชิกในครอบครัวขาดความเขาใจกนั ดังนัน้ การสรางและรักษาความสัมพันธในครอบครัว จึงเปนเร่ืองของการ “เอาใจเขามาใสใจเรา” โดยตระหนกัถึงความร ูสกึ ความตองการ ความหวงใยตอสมาชกิในครอบครัว

ทัศนะเกี่ยวกับการใชความฉลาดทางอารมณ (GOLEMAN 1998) ในเร่ืองการสรางและรักษาสัมพันธภาพมีองคประกอบที่สําคัญ คือ

: การเขาใจและร ูสึก มุมมอง สนใจในสิ่งที่กังวลของคนในครอบครัว: การมีจิตใจรับร ูและตอบสนองความตองการของคนในครอบครัวไดดี: การทราบความตองการและพฒันาสมาชกิในครอบครัว สงเสริมความร ู ความสามารถ

ใหถูกทางในยุคปจจุบันของสังคมไทย ปญหาเศรษฐกิจนับเปนตนเหตุสําคัญอันกอใหเกิดภาวะ

เครียดของคนในหลายครอบครัว กลยุทธการบริหารความเครียดตามกรอบความคิดของความฉลาดทางอารมณของบารออนเกีย่วกบัการควบคมุและจดัการกบัความเครียด สามารถนํามาใชไดโดยชีน้ําใหสมาชกิในครอบครัวมองโลกในแงดี สรางความสนุกสนานใหเกิดข้ึนแกคนในครอบครัว

ไทยโบราณเรายึดหลักการใหชีวิตครอบครัวมีความสุขดวยหลักสังคหะ แปลวาการสงเคราะหกันและใหปฏิบัติตามหลักสังคหวัตถุ 4 เพื่อเปนการยึดน้ําใจซึ่งกันและกันของสมาชิกในครอบครัว ดังนี้

1. ทาน การใหปนแกกัน คนที่อย ูดวยกันก็ตองปนกันกิน ปนกันใช การปนนี้รวมถึงการปนทุกขใหกันดวย ผ ูใดในครอบครัวมีทุกข มีปญหา โดยเฉพาะในยุคปจจุบันที่เต็มไปดวยปญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ สมาชิกในครอบครัวก็ควรจะปรึกษาหารือกัน

2. ปยวาจา พูดกันดวยถอยคําทีไ่พเราะ ผ ูใหญมกัใหโอวาทแกค ูบาวสาวในวันแตงงานโดยถือหลักในการพูดกันวา กอนแตงเคยพูดไพเราะอยางไร ก็ใหพูดดวยถอยคําไพเราะเชนนั้น ในการครองชีวิตในครอบครัว การพูดกันดวยถอยคําไพเราะจะทําใหผ ูรับฟงเกิดความพอใจหรือสบายใจข้ึนจากอารมณที่ข ุนมัวได

3. อัตถจริยา การชวยเหลือซึ่งกันและกัน ประพฤติตนใหเปนประโยชนตอกัน เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวผ ูหนึ่งผ ูใดทําสิ่งที่ไมถูกตอง ก็ควรแนะนําตักเตือนกัน

4. สมานัตตตา ไมยกตนขมทาน/เสมอตนเสมอปลาย วางตัวใหเหมาะสมกับที่ควรเปนตามบทบาทของการเปนพอ แม ลูก หรือสมาชิกญาติพี่นองในครอบครัว ถาสมาชิกในบานตางวางตัวไดเหมาะสมตามบทบาทและหนาที่ ความผาสุขยอมเกิดข้ึนในครอบครัว

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 71: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

เปาหมายที่สําคัญของการศึกษาก็คือการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของสังคมใหเปนบุคคลที่ มีคุณภาพที่ สังคมปรารถนาและระบบการศึกษาที่ ดีจะตองสรางใหบุคคลประสบความสําเร็จความสําเร็จในทีน่ีค้งจะรวมไปถึงความสาํเร็จในการเรียน ความสาํเร็จในการประกอบอาชพีและความสาํเร็จในชีวิต นักการศึกษาและนักจิตวิทยาการศึกษาจึงตองพยายามจัดกระบวนการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว

โดยทัว่ไปเมือ่พูดถึงคนทีป่ระสบความสาํเร็จกม็กัจะนกึถึงวาคน ๆ นัน้ตองเปนคนเกงและความเกงในที่นี้ก็ม ุงไปที่ความฉลาดทางปญญาหรือเชาวนปญญาซึ่งมี IQ เปนตัวบงชี ้ พอแมสวนใหญจึงพยายามเรงรัด พยายามใหเด็กเรียนร ูดานวิชาการใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดเพื่อใหเด็กเปนคนเกง เรียนจบในระดับสูง สามารถสอบผานการคัดเลือกเขาทํางานในตําแหนงดี ๆ เมื่อจบการศึกษาแลว แตจากประสบการณและขอเท็จจริงมักพบเสมอวาคนที่มีความฉลาดดานเชาวนปญญาหรือ IQ สูง ไมไดประสบความสําเร็จเสมอไปในดานการเรียนและการทํางานเนื่องจากมีปญหาดานการควบคุมอารมณและดานมนุษยสัมพันธ ทําใหใชศักยภาพทางเชาวนปญญาที่มีอย ูไดไมเต็มที่เพราะความฉลาดทางอารมณอย ูในระดับตํ่า

ตอมานักการศึกษาและนักจิตวิทยาจึงเร่ิมใหความสนใจและเห็นความสําคัญของ ความฉลาดทางอารมณมากข้ึน มกีารศกึษาทีน่าสนใจ เชน ผลการศกึษาของมหาวทิยาลยัฮาวารดทีท่ําการศกึษายอนหลังเกี่ยวกับความสําเร็จในการทํางาน โดยศึกษาจากผ ูเรียนจบในทศวรรษ 1940 จํานวน 95 คนเปนการศึกษาระยะยาวติดตามจนถึงวยักลางคน พบวา นักศึกษาทีเ่รียนจบและไดผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนในระดับสูง มักไมใครประสบความสําเร็จเมือ่เทยีบกบันกัศกึษาทีไ่ดคะแนนตํ่ากวาทัง้ในดานหนาทีก่ารงานและความสขุในชวีติครอบครัว ดังนัน้ ในปจจบุนัจงึใหความสนใจกบัความฉลาดทางอารมณหรือ EQ มากข้ึนเพราะมีการศึกษาทีแ่สดงวาความสําเร็จดานตาง ๆ นัน้ เปนผลมาจากความฉลาดทางอารมณถึง 80% สวนอีก 20% เปนผลมาจากความฉลาดทางเชาวนปญญา

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 72: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 73: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 74: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

1. การพฒันาความฉลาดทางอารมณ ทําไดทัง้ทีเ่ปนทางการและไมเปนทางการ อาจเกดิจากการไดสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของตนแบบ พอแมที่มีระดับความฉลาดทางอารมณสูงมักจะทําใหลกูเรียนร ูการแสดงออกทางอารมณที่ดีไปดวย เด็กที่เติบโตจากภาวะแวดลอมที่มีแตคําชมและการใหกําลังใจยอมเรียนร ูการมองโลกในแงดี มีความ มั่นใจตนเอง พอแมอาจฝกพัฒนาการดานความฉลาดทางอารมณต้ังแตเด็กอายุ 5-6 ป ที่มีพัฒนาการทางสมองพรอมแลว การปฏิบัติอยางตอเนื่องและจริงจังในชีวิตประจําวันจะชวยพัฒนาความฉลาดทางอารมณของเด็กไดอยางดีย่ิง

2. ตองอาศัยความรวมมือรวมใจของทุกฝาย พอแม ครูอาจารยจะตองรวมเรียนร ูและฝกฝนดวยเพราะความฉลาดทางอารมณเปนผลจากการมีปฏิสัมพันธในสถานการณทางสังคมและวัฒนธรรมรวมกัน

3. ตองเอาจริงเอาจังอยางตอเนื่องและตองใชเวลา การพัฒนาความฉลาดทางอารมณสวนหนึง่จะเกดิจากการชีแ้นะจากบคุคลตาง ๆ นับต้ังแตการอบรมเลี้ยงดู การสั่งสอนของครูอาจารย อีกสวนหนึ่งเกิดจากการสังเกต การเรียนร ูซึมซับพฤติกรรมและความคิดอานเขาส ูตนเอง มีงานวิจัยที่แสดงวา

- ทารกอายุ 5-6 เดือน สามารถมีปฏิกิริยาตอบสนองตอเสียงและการสื่อสารได- เมื่อเด็กอายุได 3 ป สามารถอานลักษณะของอารมณที่ปรากฏในสีหนาและแววตา- เมื่ออายุ 4 ป สามารถระบุลักษณะอารมณไดถูก 50% จากใบหนาและแววตา

ทีเ่ด็กมองเห็น- เมื่ออายุ 6 ป สามารถจําแนกลักษณะของใบหนาที่แสดงถึงความสุขและความร ูสึก

ขยะแขยงไดถูกตองถึง 75%4. ควรมีการประเมินความพรอมและความตองการกอน ควรมีการประเมินลักษณะ

ความฉลาดทางอารมณของบุคคลในขณะนั้น รวมทั้งสภาพปญหาและความตองการพัฒนาตนกอนทําการฝกสอน เด็กคนเดียวกันอาจมีสมรรถนะความฉลาดทางอารมณแตละดานแตกตางกันไปจึงตองใชเทคนิคการพัฒนาที่เหมาะสมสําหรับแตละดาน

5. การพัฒนาความฉลาดทางอารมณที่ไดผลสืบเนื่องและคงทนนั้นตองพัฒนาจากทุกระดับ นับต้ังแตการร ูจกัภาวะอารมณของตน สามารถระบุอารมณของผ ูอ่ืน การควบคุมตน การร ูจกัเอาใจเขามาใสใจเราและทกัษะทางสงัคมซึ่งมคีวามยากและซบัซอนมากข้ึนเปนลาํดับ การพฒันาความฉลาดทางอารมณจะตองมีการสลายพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคและเรียนร ูพฤติกรรมที่เหมาะสมกวาซึ่งตองกระทําอยางตอเนื่อง

6. ตองฝกในเชิงสถานการณใหทดลองเรียนร ู ปฏิบัติและทราบผลการแสดงออกการพัฒนาความฉลาดทางอารมณที่ ดีเปนผลมาจากการสามารถปฏิบัติได ไมใชเพียงแตร ู เขาใจ แตไมทําหรือทําไมได อาจทําโดยใหพบกับสถานการณจริง การบนัทกึพฤติกรรมลงในวดีิโอเทปเพือ่ใหคําติชมชี้จุดเดน จุดดอยที่ควรปรับปรุงแกไขและการสังเกตในสถานการณการปฏิบัติจริง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 75: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

7. ควรพิจารณาความแตกตางของการเรียนร ูดานสมองกับการเรียนร ูทางอารมณ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณเปนการพัฒนาสมองในสวนของระบบ Lymbic ซึ่งควบคุมอารมณความร ูสึกและแรงขับของรางกาย ไดแก การสรางแรงจูงใจที่ดี การฝกตอเนื่องเปนระยะ ๆ ในสถานการณทางสังคมและใหทราบผลการปฏิบัติซึ่งตางจากการฝกสมองดานความคิด ความเขาใจในสวนของNeocortex ซึ่งควบคุมความสามารถในการวิเคราะหหาเหตุผล หลักการและตรรกตาง ๆ

8. ควรทําการฝกเปนรายบุคคลรวมกบักจิกรรมสมัพันธในกล ุมเลก็ ๆ เร่ิมจากการสรางแรงจูงใจที่ดี ชี้ชวนใหปฏิบัติการแสดงออก การใหดูตนแบบ เปดโอกาสใหฝกในสถานการณตาง ๆ และมีการแจงรายงานผลซึ่งอาจเร่ิมตนจากการฝกมนุษยสัมพันธข้ันพื้นฐาน เชน การย้ิมแยม โอภาปราศรัยการเรียกชื่อ การแสดงความเอ้ืออาทร การมีอารมณขัน การกลาวชมเชย ขอโทษ ขอบคุณ การเผยความร ูสึกและการควบคุมอารมณโกรธ เปนตน กิจกรรมที่จัดอาจเปนเกมส กิจกรรมค ู กล ุมสัมพันธการเลนละคร การสวมบทบาทหรือสถานการณจําลอง

9. มีการติดตามประเมินผลของการพัฒนา การพัฒนาความฉลาดทางอารมณไมควรทําตามกระแสความตองการของตลาดหรือเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจโดยขาดจรรยาบรรณวิชาชีพและหลักวิชาการรองรับ รวมทั้งทําไปโดยขาดการติดตามผล

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 76: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เดิมเชื่อกันวาบุคคลที่มีความฉลาดทางเชาวนปญญาจะประสบความสําเร็จในการทํา

สิ่งตางๆ ไดดี แตในความเปนจริงพบวาผ ูที่ประสบความสําเร็จไมไดมีความสุขในชีวิตเสมอไป จึงเกิดความสนใจวาสิ่งที่นอกเหนือไปจากความฉลาดทางเชาวนปญญาทีจ่ะทาํใหบคุคลทัว่ไปประสบความสาํเร็จและมีความสุขนั้นคือสิ่งใด ซึ่งพบวาสิ่งนั้นคือความฉลาดทางอารมณนั่นเอง ความฉลาดทางอารมณเปนสิ่งที่พัฒนาได โกลแมนไดเสนอแนะวิธีการพัฒนาอารมณไว 5 ประการ ดังตอไปนี้

1. การร ูจักอารมณตนเอง เปนองคประกอบสําคัญเบื้องตนที่จะนําไปส ูการควบคุมอารมณและการแสดงออกที่เหมาะสมตอไป ข้ันตอนของการร ูจักอารมณของตนเอง เร่ิมจากการร ูตัวหรือการมีสติ

ตามปกติเมื่อคนเราเกิดอารมณใด ๆ ข้ึน เราจะตกอย ูในภาวะใด หนึ่งใน 3 ภาวะ ไดแกการถูกครอบงําดวยอารมณ ไมสามารถฝนอารมณไดและแสดงพฤติกรรมไปตามสภาพอารมณ การไมยินดียินรายกับอารมณที่เกิดข้ึนหรือละเลยไมสนใจเพื่อบรรเทาการแสดงอารมณและการร ูเทาทันอารมณซึ่งการร ูตัวจะมีพลังเหนือความร ูสึกและอารมณที่ไมดีตาง ๆ ร ูวาในสภาพอารมณนี้ควรจะทําเชนไรจึงจะเหมาะสมที่สุด

แนวทางในการพัฒนาการร ูจักอารมณตนเอง ทําไดดังนี้ คือ1.1 ใหเวลาทบทวนอารมณของตนเอง พิจารณาวาตนเปนคนที่มีลักษณะอารมณ

เชนไร คลอยตามตนเอง ผ ูอ่ืน หรือสิ่งแวดลอม ทบทวนลักษณะการแสดงออกทางอารมณ และผลยอนกลับจากการแสดงอารมณของเราวา ร ูสึกพอใจ ไมพอใจ คิดวาเหมาะสมหรือไมเหมาะสม ถาร ูสึกวาพอใจและเหมาะสมแลว ตองแนใจวาไมไดเขาขางตนเอง แลวใชใหเกิดประโยชนตอไป

1.2 ฝกใหเกิดการร ูตัวเสมอและมีสติอย ูกับการร ูตัว โดยใหร ูวาขณะนี้เรากําลังร ูสึกอยางไรกบัตัวเองหรือสิง่ทีเ่กดิข้ึนรอบ ๆ ตัว ร ูสกึสบายใจ ไมสบายใจ คดิอยางไรกบัความร ูสกึนัน้ และความคดิความร ูสึกนั้นมีผลอยางไรกับการแสดงออกของตนเอง

2. การจัดการกับอารมณของตนเอง เปนความสามารถในการควบคุมอารมณและแสดงออกทางอารมณทั้งดีและไมดีไดอยางเหมาะสมกับบคุคล สถานที ่เวลาและสถานการณ การจะจัดการกับอารมณไดอยางเหมาะสมเพยีงใดข้ึนอย ูกบัการสามารถควบคมุอารมณ ไมแสดงออกทนัททีนัใด สามารถอธิบายไดอยางสมเหตุสมผลถึงการเกิดแสดงอารมณ การแสดงพฤติกรรมที่มีผลยอนกลับในทางบวกและการแสดงออกเปนพฤติกรรมที่เหมาะสมกับบุคคล สถานที่ เวลาและสถานการณ

แนวทางการฝกการจัดการกับอารมณของตนเอง ไดแก2.1 ทบทวนวามีอะไรบางทีท่ําลงไปเพื่อตอบสนองอารมณที่เกิดข้ึนและดูดวยวาผล

ที่ตามมาเปนเชนไร2.2 เตรียมการในการแสดงอารมณ ฝกการสั่งตัวเองวาจะทําอะไรและจะไมทําอะไร2.3 ฝกการรับร ูสิ่งตาง ๆ ที่เกิดข้ึนแลว หรือที่เราตองเกี่ยวของในดานดี มอง-ฟงสิ่งดี

สรางอารมณใหแจมใส เกิดความสบายใจ2.4 ฝกการสรางความร ูสึกที่ดีตอตนเอง ผ ูอ่ืนและสิ่งอ่ืนที่อย ูรอบตัว

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 77: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

2.5 ฝกการมองหาประโยชนหรือโอกาสจากอุปสรรค โดยการเปลี่ยนมุมมองในแงดีโดยคิดวาเปนสิ่งทาทายและมีทางเลือกมากกวา 1 ทาง

2.6 ฝกการผอนคลายความเครียดที่เกิดจากอารมณไมดีโดยเลือกวิธีที่ เหมาะกับตนเอง

การจัดการกับอารมณไดอยางเหมาะสมจะทําใหเกิดความสบายใจซึ่งจะมีผลไปถึงความสําเร็จ และความสุขในการทํางาน รวมทั้งการอย ูรวมกับผ ูอ่ืน

3. การสรางแรงจูงใจใหตนเอง เปนการมองแงดีของสิ่งตาง ๆ ที่เกิดข้ึนกับตนเองและสรางความเชื่อมั่นวาเราสามารถอย ูกับสิ่งนั้นได สามารถทําไดเพื่อใหเกิดกําลังใจที่จะสรางสรรคในสิ่งที่ดี ม ุงไปส ูเปาหมายที่ต้ังไว

แนวทางในการสรางแรงจูงใจใหกับตนเอง คือ3.1 ทบทวนวาสิ่งสําคัญในชีวิตของเรามีอะไรบาง ใหจัดอันดับความสําคัญของ

ความตองการอยากได อยากม ี อยากเปน แลวพิจารณาวาการจะบรรลุสิ่งที่ตองการแตละสิ่งนั้น สิ่งใดมีทางเปนไปไดและไมได

3.2 นําความตองการที่เปนไปไดและเกิดประโยชนมาต้ังเปาหมายที่ชัดเจน ใหแกตนเอง แลววางข้ันตอนที่จะม ุงไปส ูเปาหมายนั้น

3.3 ในการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตองระวังอยาใหมีเหตุการณบางอยางมาทําใหไขวเขว วนออกนอกทางที่จะบรรลุเปาหมาย

3.4 ตองลดความสมบูรณแบบในตัวเราลง ไมใชทําทุกอยางดีที่สุดและตองไมมีการผิดพลาดเลย ฝกความยืดหย ุนในอารมณเพื่อไมใหเครียดและผิดหวัง

3.5 ฝกการมองหาประโยชนจากอุปสรรคเพือ่สรางความร ูสกึดี ๆ ทีจ่ะเปนพลังใหเกดิสิ่งดีอ่ืน ๆ ตอไป

3.6 ฝกสรางทศันคติทีดี่ หามมุมองทีดี่ในเร่ืองทีเ่ราไมพอใจ มองปญหาเปนการเรียนร ูเปนการเพิ่มพลังและแรงจูงใจใหตนเอง

3.7 หมั่นสรางความหมายในชวีิตใหแกตนเอง นึกถึงสิง่ที่สรางความภมูใิจ แมจะเปนสิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ พยายามใชสิ่งดีในตนสรางใหเกิดคุณคาทั้งแกตนเองและผ ูอ่ืน

3.8 ใหกําลังใจตนเอง คิดวาเราทําได เราจะทําและลงมือทํา4. การหย่ังร ูอารมณผ ูอื่น เปนความสามารถในการรับร ูอารมณ ความร ูสึกของ

ผ ูอ่ืน มีความเขาใจ เห็นใจผ ูอ่ืน สามารถปรับความสมดุลของอารมณตนเองและตอบสนองตอผ ูอ่ืนไดอยางสอดคลองกัน การหย่ังร ูอารมณผ ูอ่ืนและสามารถเขาใจไดจะทําใหเราร ูชองทางที่จะโนมนาวจูงใจผ ูอ่ืนใหทําในสิ่งที่เราตองการได การฝกอารมณดานนี้จะตองพยายามนึกถึงผ ูอ่ืนพอ ๆ กับการนึกถึงตนเองจึงจะรับร ูความร ูสึกของผ ูอ่ืนไดดี

แนวทางการฝกการหย่ังร ูอารมณผ ูอื่น คือ4.1 ใหความสนใจการแสดงออกของผ ูอ่ืน โดยการสังเกตสีหนา แววตา ทาทาง

การพูด น้ําเสียง ตลอดจนการแสดงออกอ่ืน ๆ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 78: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

4.2 อานอารมณความร ูสกึของผ ูอ่ืนจากสิง่ทีส่งัเกตเห็นวาเขากาํลงัมคีวามร ูสกึใด อาจตรวจสอบวาเขาร ูสึกอยางไรโดยการถาม แตตองทําในสภาพเหมาะสม มิฉะนั้นจะเปนการทําลายความร ูสึกกนัได

4.3 ทําความเขาใจอารมณและความร ูสึกของบุคคลตามสภาพที่เขาเผชิญอย ู หรือที่เรียกวา เอาใจเขามาใสใจเรา

4.4 แสดงการตอบสนองอารมณความร ูสกึของผ ูอ่ืนทีเ่ปนการแสดงวาเขาใจ เห็นใจกนัทําใหเกิดอารมณความร ูสึกที่ดีตอกัน

5. การรักษาสัมพันธภาพทีดี่ตอกัน เปนความสามารถในการอย ูรวมกัน ทํางานรวมกับผ ูอ่ืนโดยมีสัมพันธภาพที่ดีตอกันและสรางสรรคผลงานที่เปนประโยชน ผ ูที่มีความสามารถและทักษะดานนี้จะสามารถใชทั้งความคดิ อารมณและพฤติกรรมในการอย ูรวมกนัและทาํงานรวมกบับคุคลตาง ๆ ไดอยางราบร่ืน

แนวทางในการพัฒนาการรักษาสัมพันธภาพท่ีดีตอกัน คือ5.1 สรางอารมณที่ดีตอกัน ฝกการสรางความร ูสึกที่ดีตอผ ูอ่ืน เขาใจ เห็นใจผ ูอ่ืน ซึ่ง

จะทําใหการเร่ิมตนของการมีสัมพันธภาพที่ดีเกิดข้ึน5.2 ฝกการสื่อสารที่มีประสทิธิภาพ สรางความเขาใจทีต่รงกนัชดัเจน ฝกการเปนผ ูฟง

และผ ูพูดที่ดี รวมทั้งคํานึงถึงความร ูสึกของผ ูรับการสื่อสารดวย5.3 ฝกการแสดงน้ําใจ เอ้ือเฟอ ร ูจักการให การรับ การแลกเปลี่ยนใหเกิดคุณคาและ

ประโยชนสําหรับตนเองและบุคคลที่เกี่ยวของ5.4 ฝกการใหเกียรติผ ูอ่ืนอยางจริงใจ ใหการยอมรับเพราะเปนสิ่งที่ทําใหผ ูรับมีความ

ภาคภูมิใจและมีความร ูสึกที่ดีตอบแทนมา5.5 ฝกการแสดงความชื่นชอบ ชื่นชมและใหกําลังใจซึ่งกันและกันตามวาระที่

เหมาะสม การจะเกิดผลอยางแทจริงตองอาศัยความม ุงมั่น อดทนและตองอาศัยเวลาหากไดลองนําวิธีตาง ๆ ที่เหมาะสมไปทดลองปฏิบติัดูจะเห็นความเปลีย่นแปลงทีเ่กดิ

ข้ึนกับตนเองทั้งทางดานอารมณ ความคิดและพฤติกรรมที่จะมีผลตอความสําเร็จและความสุขในชีวิต

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 79: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสถานที่ทํางานจะมีสวนชวยใหบุคลากรในองคกรทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายมีสัมพันธภาพที่ดีระหวางผ ูรวมงานซึ่งจะเปนผลดีตอความสําเร็จขององคกรโดยรวม

ขอเสนอแนะในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสถานที่ทํางานเนนที่การพัฒนาตนเองและควรมีการสงเสริมความร ูความเขาใจในเร่ืองตาง ๆ ตอไปนี้

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณของตนเองเพื่อความสําเร็จในการทํางาน

ระดับความฉลาดทางอารมณไมไดถูกกาํหนดตายตัวมาจากพนัธุกรรรมและไมไดมีการพัฒนามากในชวงวัยเด็กตอนตนเหมือนไอคิว แตความฉลาดทางอารมณสวนใหญเกิดจากการเรียนร ูและสามารถดําเนินตอไปไดเร่ือย ๆ ดังนั้น ความฉลาดทางอารมณจึงเปนสิ่งที่สามารถพัฒนาไดอีก แมเขาส ูวัยทํางานแลวก็ตาม การเสริมสรางความฉลาดทางอารมณที่มีผลตอการทํางานอยางมีประสิทธิภาพมีเปาหมาย มีความสุขใจในการทํางานและสามารถทํางานรวมกับผ ูอ่ืน รวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูรวมงาน มีแนวทางหลักที่สําคัญ ๆ คือ

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสวนท่ีเก่ียวกับตน คือ การร ูเทาทันอารมณของตน บอกกับตนเองไดตลอดเวลาวาตนกําลังร ูสกึอยางไร สามารถติดตามอารมณของตนเองอย ูเสมอ และในทุกอารมณที่เปลี่ยนแปลง ซื่อสตัยตอความร ูสึกของตนเอง ไมบดิเบอืน ตระหนกัถึงขอดีและขอบกพรองของตนเองโดยร ูดวยตนเองและการที่ผ ูอ่ืนใหขอมูลยอนกลับ การยอมรับขอบกพรองเปนการเปดโอกาสใหไดปรับปรุงตนเองหรือเกิดความระมัดระวังในการแสดงอารมณมากข้ึน

การจัดการกับอารมณของตนเองอยางเหมาะสม ตระหนักวาตนคือผ ูรับผิดชอบอารมณของตนเอง เปนผ ูสรางอารมณข้ึนมาจากเหตุการณภายนอก สามารถแยกขอเท็จจริงจากการตีความหมาย เนื่องจากอารมณสวนมากเกิดจากความคิดและการตีความหรือประเมินสถานการณโดยตัวเราเอง จึงควรฝกหัดแยกขอมูลที่ไดจากประสาทสัมผัสกับการตีความ ไมยึดติดกับประสบการณเดิมซึ่งทําใหการตีความในปจจุบันอาจผิดพลาดได

ฝกใหสามารถร ูเทาทันความร ูสึกของตนเองและคลีค่ลายอารมณทางลบใหหมดไปอาจใชวิธีหันไปสนใจกับสิ่งอ่ืนเมื่อเกิดอารมณทางลบ ฝกฝนการมีสมาธิจดจออย ูกับกิจกรรมหรืองานที่ทําทําใหตองใชความตริตรองในเร่ืองนัน้ เปนการสรางความเพลนิใจข้ึนมาแทนทีค่วามร ูสกึทางลบทีม่อีย ูเดิมได

ฝกการใชอารมณใหสงเสรมิความคิดของตน โดยอารมณจะชวยปรับแตงและปรับปรุงความคิดใหเปนไปในทางทีม่ปีระโยชน มคีวามร ูสกึกลมกลนืไปกบังานซึง่เกดิข้ึนจากการทาทายทีเ่หมาะสมไมมากหรือนอยเกินไป

สรางเสริมพลังจูงใจใหตนเอง ดวยการมองและเห็นถึงความงดงามของโลกและ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 80: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

บุคคลอ่ืน บุคคลจะมีความฉลาดทางอารมณอยางแทจริงไมไดเลยถาปราศจากซึ่งความสนุทรียและงดงามในจิตใจ ดังนั้น จึงควรละจากความหมกม ุนในกิจกรรมสวนตนบาง แลวพิจารณาสิ่งรอบขาง บุคคลรอบตัวเพือ่นรวมงาน รวมทั้งตนเอง ชื่นชมในสวนดีทั้งของเขาและของเรา ความเครงเครียดของจติใจและการเห็นทุกอยางเต็มไปดวยอุปสรรคลดลง

การจัดระเบยีบความคิดและจิตใจดวยการทําสมาธ ิ ร ูตัวทุกขณะวารางกายกาํลงัทาํอะไรอย ู ร ูวาปจจุบันกําลังเกิดความสุขหรือทุกขอยางไร กําหนดจิตใจและอารมณที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใหจิตกําหนดร ูตามไปดวย

ควรโปรแกรมจิตใจของตนเอง โดยกําหนดวาตอไปนีจ้ะพยายามควบคมุอารมณของตนเองใหไดและต้ังเปาหมายชวีติหรือการทาํงานของตนเอง เมือ่บคุคลสรางพลงัจติหรือพลงัจงูใจตนเองดวยวิธีการเจริญภาวนาแลว ก็พรอมที่จะเร่ิมตนการทํางานไดเปนอยางดี

สรางความเช่ือมัน่ในความสามารถของตนเอง จากทฤษฎแีละผลการวจิยัหลายเร่ืองแสดงใหเห็นชัดเจนวาบคุคลที่มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง จะมผีลสมัฤทธ์ิในกจิการงานและการเรียนสูงกวาบุคคลที่คิดวาตนเองมีความสามารถตํ่า

มีความกลาท่ีจะตัดสินใจและกระทํา กลากระทําสิ่งที่ยากกวาที่ตนเคยทําพอสมควรซึ่งจะทําใหเพิ่มความมั่นใจตนเอง ผ ูที่มีความฉลาดทางอารมณควรเปนผ ูที่ เปดตัวเองตอประสบการณใหม ๆ เพื่อพัฒนาความสามารถของตนเอง

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสวนความสัมพันธกับผ ูอื่น

การที่บุคคลจะสามารถมีความฉลาดทางอารมณในการสรางสัมพันธภาพที่ดีกับผ ูอ่ืนได จะตองเขาใจธรรมชาติของมนุษย เขาใจความร ูสึกนึกคิดของผ ูอ่ืน มีความสามารถในการสื่อสารและถายทอดความร ูสึก มีความเมตตา กรุณา และพรอมที่จะใหผ ูอ่ืนชวยตัวเองได

บุคคลที่มีความฉลาดทางอารมณในเร่ืองที่เกี่ยวกับปฏิสัมพันธกับผ ูอ่ืนจะตองประกอบดวยการมีสมาธิในขณะฟงเพือ่เขาใจประเด็นของผ ูพดูอยางแทจริง ร ูจกัสงัเกตการเปลีย่นแปลงในสหีนา และกริิยาอาการซึ่งอาจแสดงถึงความร ูสกึเปลีย่นแปลงตอเร่ืองหรือบคุคลทีส่นทนาดวย เปนการเขาใจความร ูสกึนึกคิดของผ ูอ่ืน

ความสามารถในการส่ือสารและถายทอดความร ูสึก เมื่อเขาใจความร ูสึกของผ ูอ่ืนแลวสามารถที่จะสื่อสารและถายทอดความคดิความร ูสกึของเราใหผ ูอ่ืนทราบ จงึจะสรางสมัพันธภาพทีดี่ตอกนัได ร ูจกัเคารพความคดิของผ ูอ่ืน แสดงความคดิเห็นดวยทาทซีือ่ตรงและเปนมติร แสดงความคดิเห็นเฉพาะที่คาดวาจะเปนประโยชน ถาเปนความคดิเห็นทีแ่ตกตางไปกค็วรเสนอดวยความน ุมนวล ทาทเีปนมติร ซึง่แสดงถึงความใสใจความร ูสกึของผ ูอ่ืน ผ ูทีม่คีวามฉลาดทางอารมณจะสามารถควบคมุและปรับทาทขีองตนเพื่อรักษาสัมพันธภาพที่ดีได

ชวยใหผ ูอืน่ชวยตนเองไดในปญหาทางอารมณ หลักการสําคัญคือตองร ูอารมณของผ ูอ่ืนวากาํลังโกรธ วิตกกงัวลหรือกาํลงัหดห ู ผ ูชวยเหลอืพดูใหคลายความร ูสึกลงกอน แลวแสดงใหเห็นวาความคิดและความร ูสกึของผ ูมีปญหา มีผ ูรับฟงอยางต้ังใจ แสดงความเขาใจโดยไมตองแสดงการเห็นดวยชวยใหผ ูมีปญหามองแงมุมตาง ๆ ที่อาจนําไปส ูทางแกปญหาดวยตนเองได

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 81: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

โกลแมนไดเสนอขอแนะนําและขอพึงระวัง ดังตอไปนี้1. หาความจําเปนที่องคกรตองการจัดใหมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ ฝ า ย

บริหารตองชี้ใหเห็นวาการพัฒนาความฉลาดทางอารมณมีสวนชวยเพิ่มผลกําไร สรางสินคาและบริการที่ดีกวาและทําใหองคกรเจริญกาวหนาอยางไร ควรมีการประเมินความจําเปนอยางมีระบบ ซึ่งจะชี้แนะถึงเนื้อหาของโปรแกรมการพัฒนา

2. ทําการประเมินพนักงานแตละคนเพื่อทราบจุดเดน จุดดอย ของพนักงานแตละคนซึ่งจะทําใหการจัดฝกอบรมไดตรงและเหมาะกับความตองการของแตละคนใหมากที่สุด

3. แจงผลการประเมินดวยความระมัดระวัง เพิ่มแรงจูงใจที่พรอมรับการเปลี่ยนแปลงดวยการใหพนักงานทราบผลการประเมินในขอ 2 ผ ูแจงผลการประเมินตองมีความระมัดระวังและมีศิลปะเพื่อกันมิใหเกิดความตอตาน ไมยอมรับ ผ ูแจงผลอาจเปนบุคคลที่พนักงานยอมรับและสามารถจูงใจใหพนักงานตองการเขารับการอบรมและสรางบรรยากาศที่คนร ูสึกสะดวกใจและปลอดภัย

4. สงเสริมใหผ ูเรียนไดแสวงหาทางเลอืกเพือ่การพฒันาความฉลาดทางอารมณ ควรใหอิสระแกผ ูเขารับการพัฒนาวาเขาตองการและสมัครใจเขารับการพัฒนา มิใชถูกบังคับชี้แนะมาซึ่งจะมีผลตอความเต็มใจรับการพัฒนาในภายหลัง

5. สนับสนุนใหมีสวนรวม ผ ูบริหารพึงสนับสนุนการเขารับพัฒนาความฉลาดทางอารมณเพื่อเปนการใหความมั่นใจและเห็นชอบเชิงนโยบายแกผ ูเขารับการอบรม โปรแกรมที่ผ ูบริหารใหความเห็นชอบจะมีสวนจูงใจใหพนักงานร ูสึกมีอิสสระในการเขารวม โดยเฉพาะความฉลาดทางอารมณซึ่งเปนทักษะที่สงผลตอการปฏิบัติงานในทางออม

6. ผูกโยงเปาหมายของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณเขากับคานิยมสวนบุคคลของพนักงาน การที่ผ ูรับการพัฒนาเล็งเห็นประโยชนวาจะสงเสริมตนไดเชนไร ยอมมีผลตอแรงจูงใจในการเรียนร ูไปใชกับการทํางานได ทําใหโอกาสประสบความสําเร็จมีมากข้ึน

7. ปรับระดับความคาดหวัง ผ ูเขารับการอบรมตองมีความเชื่อมั่นวาการพัฒนาความฉลาดทางอารมณเปนสิ่งที่ทําไดและสงผลตอเปาหมายที่พึงประสงค ใหประโยชนมิใชแตตัวพนักงานเองแตยังใหประโยชนในระดับทีม ผ ูรวมงานและองคกรดวย

8. ประเมินระดับความพรอมของพนักงาน มีการเตรียมความพรอมทางรางกายและจิตใจที่จะเขารับการฝกอบรมและเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมบางอยางของตนอยางเอาจริงเอาจังและอยางตอเนื่อง เปลี่ยนความคิดตอตานมาส ูการยอมรับและสรางแผนปฏิบัติปรับปรุงอยางเปนรูปธรรม

9. เสริมสรางสายสมัพนัธทีดี่ระหวางวทิยากรและผ ูเขารับการพฒันา ผ ูฝกหรือวทิยากรพึงแสดงความสนใจ เอ้ืออาทร เปดเผยตน สรางความสัมพันธที่ดีกับผ ูเขารับการฝกอบรม

10. สงเสริมใหการเปลี่ยนแปลงที่เกดิข้ึนมาจากการริเร่ิมชีน้ําตนเอง ความสามารถหรือทักษะทางอารมณจะไดผลเมื่อผ ูเขารับการพัฒนาเลือกเสริมสรางในสิ่งที่ตนมีความตองการ กําหนดแนวทางการพัฒนาใหเหมาะสมกับความพรอมและความสนใจของตน ขณะเดียวกันผ ูใหการอบรมก็ตองมีความยืดหย ุน ปรับใหเหมาะกับความตองการของผ ูรับการพัฒนาดวย

11. กําหนดเปาหมายใหชัดเจน เปาหมายที่ทาทาย เฉพาะเจาะจง ชัดเจน ชวยใหผ ูรับการพัฒนาร ูสึกวาความฉลาดทางอารมณดานตาง ๆ อย ูในวิสัยที่ตนทําได เชน สามารถควบคุมการแสดงอารมณโกรธตอหนาผ ูคนไดดี เปนเปาหมายที่ชัดเจนกวา สามารถเปลีย่นแปลงพฤติกรรมทีไ่มดีของ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 82: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ตนไดซึ่งเปนเปาหมายที่คลุมเครือ12. จําแนกเปาหมายออกเปนลําดับข้ันตอนที่ปฏิบัติได การพัฒนาระดับองคประกอบ

ของความฉลาดทางอารมณหลายประการตองใชเวลาฝกฝนไปหลาย ๆ สถานการณทางสังคม จึงควรแบงระยะการฝกอยางไมเปนทางการกับคนค ุนเคยไปจนถึงสถานการณทีเ่ปนทางการกับคนไมค ุนเคย เปนตนและเพิ่มความยากข้ึนไปเปนลําดับ

13. เปดและแสวงหาโอกาสฝกพฒันาความฉลาดทางอารมณ การฝกทกัษะใหเรียนร ูจดุออนของตนเองและปฏิบติัแกไข จะชวยใหเกิดความเขาใจและจดจําไดมากข้ึน สามารถถายโอนพฤติกรรมดังกลาวไปในสถานการณทีค่ลายคลึงกันไดงายข้ึน

14. แจงผลการฝกหัดบอยคร้ังมากข้ึน การแจงผลหรือการใหขอมูลยอนกลับเปนการประเมินวาการเรียนร ูของผ ูเขารับการพัฒนาเปนไปตามวัตถุประสงคหรือไม ทั้งยังเปนการรักษาแรงจูงใจที่ดีในการเรียนร ูอีกดวย

15. อาศัยวิธีการตาง ๆ ของการเรียนร ูเชิงประสบการณ โดยการใหผ ูเรียนไดแสดงอากปักริยาตาง ๆ อยางเปนรูปธรรมและมกีารโตตอบสือ่สารกนัไดทนัทวงท ี แทนการบอกใหร ูหรือทําใหด ูอาจใชการอภิปรายกล ุม การสวมบทบาท การจําลองสถานการณ การใหเลนเกมส ซึง่เปดโอกาสใหแสดงความร ูสึก อารมณที่ตองการได

16. เสริมสรางกาํลงัใจ โดยใหกาํลงัใจและคาํชมอยางตอเนือ่งระหวางการทาํกจิกรรมกล ุมของทีมโดยมีพี่เลี้ยงผ ูใหคําแนะนําปรึกษา คอยใหกําลังใจ

17. ใชตนแบบ โดยการสงัเกตพฤติกรรมการพดู การแกปญหาจากผ ูทีม่คีวามเหมาะสมถือเปนตนแบบของผ ูมีความฉลาดทางอารมณสูงยอมจะเปนการเรียนร ูที่สรางความประทับใจ จดจํา ใหแกผ ูรับการพัฒนา

18. เพิ่มพูนแงคิด มุมมอง การใหผ ูรับการพัฒนาไดแสดงความคิดเห็น มุมมองของตนวาไดเกดิการเรียนร ู มคีวามสําคญัไมนอยทีจ่ะสะทอนความคดิ ความร ูสกึและภาวะอารมณของตนออกมาเปนการเพิ่มพูนการร ูจักตนเองและเกื้อกูลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในที่สุด

19. ปองกันการทอถอย ในบางกรณีผ ูรับการพัฒนาอาจจะเกิดความทอแทเนื่องดวยอุปสรรคหรือขออางตาง ๆ ดังนั้น อาจหาทางปองกันมิใหเกิดความร ูสึกเชนนี้โดยการขจัดปญหาอุปสรรคใหกําลังใจ ติดตามความคืบหนาและสรางแรงจูงใจใหแกผ ูรับการพัฒนา

20. เปดโอกาสใหไดประยุกตสิง่ทีไ่ดเรียนร ูเขากบัการปฏิบติังาน การใหแรงเสริมดวยการยอมรับ การสื่อสาร ใหกําลังใจ การเตือน ความทรงจํา เปนวิธีที่ดีในการไดมีโอกาสแสดงพฤติกรรมที่มีความฉลาดทางอารมณของตนเขาส ูการปฏิบัติงานในหนาที่

21. สรางวัฒนธรรมองคกรใหเกดิการเรียนร ูบรรยากาศของทีท่ํางาน พงึเอ้ือใหมีการถายโอนความร ู แนวปฏิบติัเกีย่วกบัพฒันาทางสงัคมและอารมณทีพ่นกังานไดเรียนร ูเพือ่การทํางานทีดี่และการทํางานเปนทีม

22. ขจดัอุปสรรคเชงิสถานการณ เชน วัฒนธรรมองคกรที่เนนการทาํดีเพือ่ใหตนเองเดนการทํางานเปนทีมไมได การใหรางวัลเฉพาะรายบุคคล การเนนคนเกงเปนสําคัญ เปนตน

23. ตรวจสอบวาพนักงานมีผลการปฏิบัติงานดีข้ึนหรือไม ผลการปฏิบัติงานอาจปรากฎใหเห็นไดหลัง 18 เดือน ทั้งควรมีภาวะแวดลอมที่เกื้อหนุนดวย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 83: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

24. ดําเนนิการประเมนิผลอยางตอเนือ่ง พจิารณาจากผลการประเมนิทีไ่ดวาบรรล ุ เปาหมายที่กําหนดไวเพียงใด อาจมีการประเมินกอนและหลังการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ

อนุสติเก่ียวกับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ ควรพิจารณาประเด็นตอไปนี้1. ศึกษาขอมูล แนวคิด แนวปฏิบัติ ของความฉลาดทางอารมณใหเขาใจ2. ออกแบบพัฒนาความฉลาดทางอารมณโดยคํานึงถึงระดับวุฒิภาวะ อายุและ

พัฒนาการทางสังคมของผ ูเรียนดวย3. กําหนดเปาหมายเฉพาะและชดัเจนของการพฒันาวาม ุงทีจ่ะแกไข และหรือเสริมสราง

ทักษะทางอารมณใดใหแกเด็กหรือผ ูเรียน4. เนื้อหาของหลักสูตร ควรครอบคลุมองคประกอบตาง ๆ ซึง่ถือวาเปนตัวแทนทีดี่ของ

ความฉลาดทางอารมณ5. คัดเลือกผ ูที่ จะเปนวิทยากรที่เอ้ืออํานวยกิจกรรมของการพัฒนาความฉลาดทาง

อารมณดวยความระมัดระวัง6. ออกแบบและดําเนินการพัฒนาความฉลาดทางอารมณที่สามารถทําไดหลายวิธี7. กิจกรรมที่ใชในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณควรเนนการเสริมสรางใหผ ูเรียน

ไดเรียนร ูจากประสบการณ8. ระบุวาใครที่เปนผ ูมีสวนไดสวนเสีย9. กําหนดวิธีการประเมินความสําเร็จของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณที่

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 84: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เด็กทีม่ีความฉลาดทางอารมณสูงมักจะเปนผ ูเรียนร ูไดดี ร ูสกึดีตอตนเองและผ ูอ่ืน สามารถเผชญิกบัความเครียดได ไมแสดงพฤติกรรมทีก่อใหเกดิปญหาความขัดแยงกับเพื่อนฝูง ไมเกี่ยวของกับสารเสพยติด สามารถควบคุมอารมณโกรธไดดี เปนที่ชื่นชมและไดรับการยอมรับจากเพื่อนฝูง

การอบรมเลี้ยงดูดวยบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตยในครอบครัวเปนสิ่งสําคัญตอการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ โดยสมาชิกในครอบครัวมีความไววางใจ รับฟงความคิดเห็นของกันและกันมีการสื่อสารที่เปดเผย ตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการทํารายทางจิตใจและอารมณไมวาดวยคําพูดหรือการกระทํา พอแมจะเปนฝายแสวงหาความเขาใจกอน แทนทีจ่ะตองใหลูก ๆ เขาใจตน ผ ูเปนพอแมจะตองแสดงความเปนผ ูมีความฉลาดทางอารมณสูงเสียกอนจึงจะเสริมสรางใหลูกมีความฉลาดทางอารมณที่ดีได

พื้นฐานการสรางบรรยากาศในครอบครัวที่เอ้ือตอการพัฒนาความฉลาดทางอารมณไดแก

l การพิจารณาตนเอง โดยเฉพาะร ูเทาทันภาวะทางอารมณ ความตองการและความร ูสึกของตน

l การแสดงพฤติกรรมและอารมณที่คงเสนคงวาเปนการสรางความเชื่อมั่นl จําไววา การใกลชิดตอกัน ไมไดหมายถึงการถอดจากแมแบบl แมวาเราร ูจักคนในทุกแงมุมไมไดหมายความวาเราเขาใจเขาทั้งหมดl เฝาระวังความทรงจําเกี่ยวกับอารมณตาง ๆ ในวัยเด็กของตนซึ่งอาจเปนตัว

ขัดขวางการพัฒนาl ใหความเกื้อหนุนภาวะอารมณของสมาชิกทุกคน ตลอดทุกวัยของชีวิตไมใช

สงเสริมความฉลาดทางอารมณเฉพาะในวัยเด็กเทานั้น

ข้ันตอนการฝกทักษะทางอารมณเพ่ือพัฒนาความฉลาดทางอารมณ มีข้ันตอน 5 ประการ ไดแก1. ร ูเทาทัน หย่ังร ูในความร ูสึกของเด็ก พอแมควรแสดงความเขาใจ ยอมรับ เห็น

อกเห็นใจ เอ้ืออาทร ใหความสําคัญกับสิ่งที่ลูกสนใจแทนการตําหน ิบังคับ วิจารณ หรือลงโทษ ขณะเดียวกันพอแมเองก็จะตองเฝาระวังความร ูสึกและอารมณของตนเองที่จะไมแสดงออกในลักษณะที่ขาดการควบคุมซึ่งเปนตัวอยางที่ไมดีสําหรับลูก

2. ใชโอกาสหรือสถานการณแตละเรื่องสรางความใกลชิดสนิทสนม โดยใหขอมูลมุมมองตาง ๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการแกปญหาไดอยางเหมาะสม เชน เด็กเกิดความต่ืนตระหนกเมื่อดูรายการที่เปนเร่ืองต่ืนเตน ชวนใหหวาดกลัว พอแมอาจเขาไปนั่งใกลเด็ก ปลอบใจและอธิบายดวยเหตุผลเพื่อสรางภูมิค ุมกันใหกลาเผชิญสภาพการณที่มีลักษณะคลายคลึงกัน

3. รับฟงความร ูสึกและอารมณของเด็กดวยความตั้งใจ เอ้ืออาทรและพยายามตรวจสอบความร ูสึกของเด็กโดยพิจารณาจากสถานการณ พฤติกรรม ภาษาทาทางและอากัปกิริยาที่แสดงออก

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 85: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในขณะที่รับฟงพอแมอาจสะทอนหรือสรุปในสิ่งที่ไดยินไดฟงมา พรอมกับหาเหตุผลอธิบายใหเด็กเขาใจในแงมุมอ่ืนบาง แตไมควรสรุปหรือชี้นํา

4. ฝกใหเด็กระบุภาวะอารมณความร ูสึกของตนไดอยางถกูตอง แทนการเกบ็กดไวหรือระบายออกโดยขาดการควบคุม การแสดงอารมณที่เปดเผย ตรงไปตรงมา เปนลักษณะพื้นฐานของผ ูมคีวามฉลาดทางอารมณทีดี่ ร ูตัววากาํลงัโกรธ เสยีใจ นอยใจ อิจฉา เพือ่นําไปส ูการบริหาร จดัการกบัอารมณไดอยางถูกตองดวยตนเอง

5. กําหนดขอบเขตของการชวยเหลือพัฒนาความฉลาดทางอารมณของเด็ก เมือ่พอแมเห็นวาเด็กเขาใจอารมณทีส่งผลตอพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของตนและเลง็เห็นพฤติกรรมทีพ่ึงปฏิบตั ิ พอแมควรแสดงใหเด็กทราบวาการมอีารมณตาง ๆ เปนเร่ืองปกติธรรมดา แตควรปรับปรุงวธีิการแสดงออกที่ขาดการควบคุมและควรใหเหมาะกับบุคคล เวลา สถานที่และสถานการณ

ขอคิดในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณของเด็ก1. ใหเด็กซึมซับมาตรฐานทางศีลธรรมของศาสนา เชน ในศาสนาพุทธอาจใหร ูจักและ

จดจําศีล 52. ฝกใหเด็กแสดงความเมตตากรุณา ชวยเหลอืผ ูอ่ืนโดยไมเลอืกโอกาส ผ ูทีม่คีวามฉลาด

ทางอารมณสูงยอมสามารถทําใหผ ูอ่ืนเปนสุขไดโดยไมเลือกโอกาสและเวลา3. ใหปฏิบติังานที่เปนการบริการชุมชน ซึ่งอาจสอดแทรกเขาเปนสวนหนึ่งของหลักสูตร

การเรียนการสอนเพื่อใหเกิดการเรียนร ูชีวิตในแงมุมตาง ๆ กฎกติกาทางสงัคมและการทาํงานเพือ่สวนรวม4. ฝกการพดูความสตัยจริงและประพฤติปฏิบติัทีส่อดคลองกบัคาํพดู ดวยการสรางความ

ไววางใจดวยคณุความดี ความตรงไปตรงมา ไมพดูปด เคารพความเปนสวนตัวของเด็ก การพดูคยุกนั เกีย่วกับคุณคาของจริยธรรมระหวางสมาชิกในครอบครัว

5. นําอารมณทางลบมาเปนอุทาหรณ เชน ความละอายหรือความร ูสึกผิดตอพฤติกรรมบางอยางในอดีต เชน การลกัขโมยของเด็กแลวถูกจับได พอแมใหนําของมาคนืและกลาวคําขอโทษซึ่งเปนเหตุการณที่ควรจดจําและยับย้ังชั่งใจไมปฏิบัติซ้ําอีก

6. ฝกเด็กใหคิดและตีความตาง ๆ ตามความเปนจริงเกี่ยวกับการแสดงออกทางอารมณอาจนําเร่ืองจากนิยาย นิทาน บทภาพยนตรหรือละครมาอธิบายประกอบเปนตัวอยางของการเปนผ ูเผชิญความเปนจริงไดดี

7. ฝกเด็กใหมองโลกในแงดีจากการเปนตนแบบของพอแม8. เพิ่มความฉลาดทางอารมณดวยการเตือนตนเอง ใชความคิดแกความร ูสึก เชน การ

เตือนสติตนเอง พดูคุยกบัตัวเองเชงิชี้แนะโดยทําอยางร ูตัว เปนการสรางสติที่จะควบคมุอารมณของตน อาจสรางจินตภาพ เชน เมื่อเกิดความเครียดโดยสมมุติตัวเองวาอย ูในสถานที่สวยงามและที่ตนเองใฝฝนจะไปเทีย่วพกัผอน ทําใหเกิดความผอนคลายและมกีาํลงัใจที่จะตอส ูปญหาอุปสรรคตอไป ไมหมกม ุนอย ูกับความทกุขอยางเดียว

9. การใหฟงดนตรีบรรเลงเบา ๆ ที่มีจังหวะชาหรือใหดูภาพเขียนนามธรรม สอบถามวาภาพนัน้ทําใหเขาร ูสกึอยางไร และการใหมองภาพที่มรีายละเอียดตาง ๆ แลวใหปดตา นกึภาพไวในสมองแลวใหรายงานวา ภาพนั้นมีรายละเอียดใดบาง เปนตน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 86: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

k k k k k

10. ฝกเด็กใหเร่ิมร ูจักวิธีการแกปญหา ฝกการมองปญหาทั้งในแงบวกและลบ ไมใชมองดานเดียวเพือ่คดิแกปญหาดวยทางเลือกหลาย ๆ ทาง แลวพจิารณาความเปนไปไดของแตละทางเลอืกและตัดสนิใจวิธีที่เหมาะสมและดีที่สุด

11. ปฏิสัมพนัธทีพ่อแมมีตอลกูจะมผีลตอทักษะทางสงัคมทีเ่ด็กมตีอผ ูอ่ืน ฝกใหเด็กรับร ูเรียนร ู ตีความ ตอบสนองและวางตนในสถานการณตาง ๆ ทางสังคม สามารถแกไขขอขัดแยงดวยการประนีประนอมและเสริมทักษะในการพูดคุยของเด็กในสถานการณตาง ๆ

12. สรางทักษะความเปนผ ูมีอารมณขัน เด็กที่ตลก ราเริง มักเปนที่ชื่นชมของเพื่อนพอแมควรเปนตนแบบทีดี่ของความเปนผ ูมอีารมณขันและใชอารมณขันเปนเคร่ืองมอืในการสอนคณุคาหรือคานิยมในชีวิตในการสรางมิตรและละลายความตึงเครียด

13. ฝกใหเด็กสามารถสรางและรักษาสายสมัพันธที่ดีกบัเพื่อนได ร ูจกัการคบเพือ่นและมีเพื่อนสนิท

14. ฝกใหเด็กมีโอกาสเขาสงัคมกบักล ุมเพื่อนเพศเดียวกันและตางเพศ มโีอกาสเขารวมงานทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการของสังคม การร ูจักคนแปลกหนาที่ไมค ุนเคย การเขากล ุมกิจกรรมนอกหลักสูตรตามทักษะที่ตนสนใจหรือกิจกรรมที่ชุมชนจัดใหมีข้ึน

15. ฝกเด็กใหร ูจั กมารยาทสวนตนและมารยาททางสังคมเพื่อใหเขากับผ ูอ่ืนไดและประสบความสําเร็จในการเรียน การทํางาน

16. ฝกเด็กใหมีความสามารถในการสรางแรงจงูใจทีดี่ กลาเผชิญปญหาและอุปสรรค ใหร ูสึกวาเปนสิ่งทาทายและลงมือปฏิบัติใหไปส ูเปาหมายที่สามารถทําได

17. ฝกใหเด็กมีความเพยีรพยายาม ร ูจกับริหารเวลาใหเกิดประโยชนสงูสดุ แสวงหางานอดิเรกที่ทําใหเกิดความร ูสึกวาตนไดเรียนร ูและสนุกสนานไปดวย

18. ฝกใหเด็กร ูจักยอมรับขอผิดพลาดและความลมเหลวของตน ใหเด็กไดร ูวาไมมีใครจะสมบูรณแบบไปหมดทุกเร่ืองและการทําอะไรผิดพลาดเปนสิ่งที่เกิดข้ึนไดกับทุกคนและใหร ูสึกวาผิดเปนครู

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 87: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ผ ูที่มีระดับความฉลาดทางอารมณสูงมักมีความมั่นใจในตนเอง เรียนร ูไดเร็ว มีความสุขมีความคิดเห็นเกี่ยวกบัคนและมองโลกในแงดี ปรับตัวกบัสถานการณตาง ๆ ไดเหมาะสม สามารถบริหารจัดการกับอารมณของตนเองและผ ูอ่ืนได และมีปญหาพฤติกรรมนอย

ผ ูบริหาร ครูอาจารย เจาหนาที่ของโรงเรียนและนกัเรียนควรถือเปนหนาที่ในการรวมกันพัฒนาความฉลาดทางอารมณในระดับบุคคล ระดับกล ุมและระดับองคกรไปพรอม ๆ กัน ครูอาจารยตองเสริมสรางบรรยากาศการเรียนร ูที่เปนประชาธิปไตย ใหความเคารพและการรับฟง สงเสริมใหนักเรียนนักศึกษา เห็นวาความคิด ความร ูสึกของตนไดรับการยอมรับ มีความสําคัญและมีความหมาย

หนาที่ของครูอาจารยในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ ไดแก ชวยเหลือใหผ ูเรียนไดเขาใจความร ูสึก อารมณของตน สามารถใชคําศัพทเกี่ยวกับสภาวะอารมณได มีการแสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสม ฝกฝนการใหความเอ้ืออาทรกับผ ูอ่ืนมากกวาม ุงกํากับ ควบคุม นอกจากนี ้ครูอาจารยก็ควรตองเรียนร ู เขาใจอารมณของตนเองดวยและตองปฏิบัติตามสิ่งที่ตนพรํ่าสอน

การพัฒนาความฉลาดทางอารมณในสถานศึกษาควรคํานึงถึงวัยและฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของผ ูเรียนดวยเพื่อการจัดรูปแบบการฝกอบรมไดเหมาะสม

ตัวอยางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณซึ่งจะทําไดในนักเรียนชั้นประถม 6มีข้ันตอนดังนี้

ข้ันที ่1 : หยุดคิดใครครวญ คิดกอนพูด กอนทํา ควบคุมภาวะความร ูสึกและอารมณของตนโดยใหเรียนร ูเกี่ยวกับการควบคุมความเครียด ควบคุมการหายใจเขา-ออก และฝกการเจริญสมาธิ

ข้ันที ่2 : ระบุสิ่งที่เปนปญหา เผยความร ูสึกของตนและความร ูสึกของผ ูอ่ืนข้ันที ่3 : กําหนดเปาหมายของการปรับปรุงพัฒนาข้ันที่ 4 : คิดแสวงหาทางออกหรือแนวทางแกไขมากกวา 1 แนวทางข้ันที ่5 : คิดถึงผลลัพธไวลวงหนา หาแนวทางแกปญหาแตละเร่ืองข้ันที ่6 : ทดลองปฏิบัติแตละแนวทางแกปญหาที่คิดไว

อนึง่ การพฒันาความฉลาดทางอารมณควรทําควบค ูไปกบัการพฒันาทางสงัคมดวย โดยม ุงเนนใหบุคคลรับผิดชอบตอการเสริมสรางความฉลาดทางอารมณของตนในทักษะ 8 ดานคือ

ทักษะที ่1 : การตระหนักร ูอารมณตาง ๆ ของตนในแตละหวงเวลาทักษะที ่2 : ความสามารถเขาใจและใสใจอารมณตาง ๆ ของผ ูอ่ืนทักษะที ่3 : ความสามารถใชคําศัพทเกี่ยวกับสภาวะอารมณและการ

แสดงออกที่เหมาะสม

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 88: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ทักษะที ่4 : ความสามารถในการมีสวนเกี่ยวของกับเหตุการณตาง ๆ ไดอยางเห็นอกเห็นใจ

ทักษะที ่5 : ความสามารถจําแนกประสบการณของอารมณภายในตนเองออกจากการแสดงอารมณออกมาใหปรากฏ

ทักษะที ่6 : ความสามารถในการปรับตัวและเกี่ยวของสัมพันธกับลักษณะอารมณที่ไมพึงประสงค รวมทั้งเหตุการณที่ขมข่ืน

ทักษะที ่7 : ความสามารถสื่อสารหรือแสดงออกทางอารมณในการมีสัมพันธภาพกับผ ูอ่ืนได

ทักษะที ่8 : การสรางความร ูสึกวาตนมีความสามารถบริหารจัดการอารมณไดดี

การพฒันาความฉลาดทางอารมณมผีลใหปญหาตาง ๆ ในโรงเรียนลดลง เชน การทํารายตนเอง การแสดงความกาวราว การเขาหาสารเสพยติด การถูกพักและไลออกจากโรงเรียน และการทะเลาะวิวาท เปนตน ขณะเดียวกันก็สงเสริมใหนักเรียนมีความรับผิดชอบ กลาแสดงสิทธิของตน เปนที่ร ูจักชอบพอในหม ูเพื่อนฝูง ร ูจักเห็นอกเห็นใจและเขาใจผ ูอ่ืน มีทักษะในการแกไขขอขัดแยงไดดี มีความร ูสึกที่ดี ผูกพันตอครอบครัวและโรงเรียน ในกรณีของเด็กกล ุมพิเศษ ผลของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณมีสวนสงเสริมพฤติกรรมที่ดีข้ึนในชั้นเรียน มีทักษะทางสังคม กลาแสดงตนมากข้ึนและสามารถระบุลักษณะอารมณของตนได จึงอาจกลาวไดวาผลของการพัฒนาความฉลาดทางอารมณจะมีสวนสรางคุณลักษณะทางจิตใจในทางบวกไดมากข้ึนและลดการแสดงอารมณ ความร ูสกึในทางลบซึง่เปนผลดีตอชวีติและอนาคตของเด็กอยางแนนอน

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 89: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ในโรงเรียนแหงหนึง่ทีอ่เมริกามกีารขานชือ่นักเรียนในชัน้ดวยวิธีทีแ่ปลกใหม คอืนอกจาก

นักเรียนจะตอบวามาหรือไมมา นกัเรียนแตละคนจะตองบอกดวยวาตนมคีวามร ูสกึอยางไร เชน วนันีอ้ารมณดี ต่ืนเตน กังวลเล็กนอย มีความสุขสงบ เปนตน

ชั้นเรียนที่มีกิจกรรมนี้เรียกวา Self-science ซึง่เปนวชิาเกีย่วกบัความร ูสกึทัง้ของตนเองและผ ูอ่ืนที่ทําลายความสัมพันธระหวางบุคคล เนื้อหาวิชาที่ครูจะตองใหความสนใจคือรูปแบบทางอารมณในชีวติของเด็ก แนวการสอนจะรวมการนาํความเครียดและประสบการณเลวรายทีผ่านมาในชวีติของเด็กมาเปนเร่ืองที่จะพูดคุยกันในแตละวัน ชั้นเรียนลักษณะนี้บางทีก็เรียกวา การพัฒนาทางสังคมและทักษะชีวิตบางคนก็อางถึงแนวคิดของการดเนอรเกี่ยวกับความฉลาดดานบุคคล เปาหมายของการสอนแบบนี้คือการเพิ่มประสิทธิภาพทางสงัคมและอารมณในเด็กนอกเหนอืจากหลกัสตูรการสอนตามปกติซึง่ไมไดเปนการสอนเฉพาะสาํหรับเด็กทีม่ปีญหาเทานัน้ แตเปนการพฒันาทกัษะและความเขาใจทีม่คีวามสาํคญักบัเด็กทุก ๆ คน

หลักสูตรการสอนเกี่ยวกับอารมณเร่ิมมีมานานแลวต้ังแต ค.ศ.1960 ซึ่งเดิมเรียกวาการศึกษาดานอารมณ (affective education) โดยมีแนวคิดที่วาผ ูเรียนเร่ืองจิตวิทยาและแรงจูงใจจะเขาใจบทเรียนไดอยางลึกซึ้งเมื่อมีประสบการณโดยตรงมากกวาจะรับฟงการสอนแตเพียงอยางเดียว ในปจจุบันหลักสูตรเหลานี้ไดรับความนิยมแพรหลายและถือเปนโปรแกรมการปองกันปญหาดานตาง ๆ เชน การสูบบุหร่ีในเด็กวัยร ุน การใชสารเสพยติด การต้ังครรภ การออกจากโรงเรียนกอนกาํหนดและพฤติกรรมกาวราวรุนแรง เปนตน อยางไรก็ตาม โครงการปองกันนี้มักมีนักจิตวิทยาที่ทํางานวิจัยและการทดลองเปนผ ูสอนซึ่งความหวังตอไปก็คือโครงการที่จะถายทอดและฝกใหครูทั่วไปในโรงเรียนสามารถดําเนินการไดเอง

กลยุทธที่มีความละเอียดออนและมีประสิทธิภาพในโครงการปองกันจะรวมการใหความร ูเกี่ยวกับปญหา เชน โรคเอดสและสารเสพยติดที่เกดิข้ึนในชวีติของเด็กเมือ่เร่ิมเผชญิกบัสิง่เหลานี ้แตบทเรียนสําคัญที่สอนก็คือการพัฒนาความสามารถที่จะตระหนักถึงอันตรายใหญหลวง และตอส ูเอาชนะปญหาไดซึ่งก็คือความฉลาดทางอารมณนั่นเอง

การนําความร ูเกี่ยวกับอารมณเขามาสอนในโรงเรียนเปนสิง่ใหมทีไ่มเคยทํามากอน ซึง่จะทําใหอารมณและชีวิตทางสังคมเปนเร่ืองสําคัญแทนการคิดวาเปนเพยีงปญหาทีไ่มพึงประสงคอยางหนึ่งในชีวิตประจําวันของเด็ก หรือเมื่อปญหาเหลานี้นําไปส ูความเดือดรอนในหองเรียนก็จะมีการพยายามทําใหปญหาลดลงและบางคร้ังก็พาเด็กไปพบครูแนะแนวหรืออาจารยใหญ

สําหรับชั้นเรียนเมื่อมองดูคร้ังแรกจะร ูสึกวาไมใครสลักสําคัญและดูเหมือนจะแกปญหาที่ไดผลไมมากนัก การจัดชั้นเรียนจะมีลักษณะคลายเปนการดูแลเด็กอยางดีที่บานและมีบทเรียนยอย ๆที่แยกออกมา แตก็เปนบทเรียนที่มีความหมาย เปนการสอนที่ทําอยางสม่ําเสมอและตลอดชวงระยะเวลาหลายปจึงเปนวธีิเรียนร ูเร่ืองอารมณทีไ่ดรับการปลกูฝงทลีะเลก็ละนอยใหเด็กมปีระสบการณซ้ําแลวซ้ําอีกซึง่เปนการทําใหระบบประสาทในสมองไดบนัทกึไวในความทรงจําและนํามาใชไดเมือ่ตองเผชญิกบัความคบัของใจหรือร ูสึกไมสบายใจ แมวาบทเรียนเร่ืองอารมณจะดูนาเบือ่ แตผลที่ไดกค็ือมนษุยที่มคีวามพรอมสมบรูณแบบ ซึ่งเปนบุคคลสําคัญที่จะอย ูไดอยางมีความสุขในอนาคต

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 90: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

กิจกรรม

ตัวอยางการสอนเร่ืองความรวมมือสําหรับนักเรียนชั้น ป.5 คือการใหเลนเกมที่เรียกวา“เกมการรวมมือกันตอรูปสี่เหลี่ยม” โดยใหนักเรียนแบงเปนทีมเพื่อตอภาพที่ตัดเปนชิ้นสวนเล็ก ๆ และใหตอเขาดวยกันเปนรูปสี่เหลี่ยม มีกติกาขอหามวานักเรียนแตละคนจะพูดไมไดและไมสามารถแสดงทาทางไดเลย

ครูแบงนักเรียนเปน 3 กล ุม แตละกล ุมไดรับมอบหมายใหทํางานแยกกันโตะละกล ุม มีผ ูสังเกตการณซึ่งค ุนเคยกับเกมนี ้3 คน คอยประเมินนักเรียนตามแบบฟอรม เชน นักเรียนคนใดในกล ุมที่เปนผ ูนําในการจัดการกับปญหา ใครเปนตัวตลกและใครคอยรบกวนกล ุม

นักเรียนจะเทชิ้นสวนทั้งหมดลงบนโตะและเร่ิมตนทํางานภายใน 1 นาทหีรือประมาณนั้นจะพบวานักเรียนทีมหนึ่งมีความสามารถที่เห็นไดเดนชัดและสามารถทํางานเสร็จภายในเวลา 2-3 นาทีกล ุมที่ 2 ซึ่งมีนักเรียน 4 คน ตางคนตางแยกกันทํางานไปพรอม ๆ กัน แตละคนจัดการกับชิ้นสวนของตนเองตามลําพัง แตงานก็ไมดําเนินไปเทาใดนัก ตอจากนั้นจึงเร่ิมเปลี่ยนเปนเขามาทํางานรวมกันอยางชา ๆจนกระทั่งสามารถตอชิ้นสวนไดสําเร็จ แตกล ุมที่ 3 ยังคงพยายามอยางขะมักเขมนจนเกือบจะตอชิ้นสวนบางชิ้นไดถูกตอง แตกม็องดูเปนรูปสีเ่หลีย่มทีโ่ยเยเพราะไมมดีานทีข่นานกนั อยางไรกต็าม นกัเรียน 3 คนในกล ุมนี้ก็ยังพยายามที่จะรวมมือกันใหเหมือนกับอีก 2 กล ุมที่ทําเสร็จแลว เห็นไดชัดวานักเรียนเครียดมากเพราะทํางานไมไดดังใจและพยายามมองหาชิ้นสวนบนโตะดวยความกังวล ต่ืนเตน หยิบชิ้นสวนที่คิดวาจะเปนไปไดตอเขากับรูปสี่เหลี่ยมที่เกือบจะเสร็จสมบูรณแลว แตก็ตองพบกับความผิดหวังเพราะตอไดไมพอดี ชั่วขณะหนึ่งดูเหมือนความเครียดจะคอยคลี่คลายไปเมื่อนักเรียนคนหนึ่งหยิบชิ้นสวน 2 ชิ้นข้ึนปดตาและทําทาเหมอืนกบัจะใหเปนหนากากซึง่เพือ่นรวมกล ุมกพ็ากนัหัวเราะคกิคกั เหตุการณนีถื้อเปนชวงเวลาสําคัญของกิจกรรมในบทเรียนนี้

ครูไดใหกําลังใจนักเรียนกล ุมนี้และบอกใหทั้ง 2 กล ุมที่ทําเสร็จแลวชวยบอกใบวิธีการตอชิ้นสวนใหแกนักเรียนที่กําลังทํางานอย ู เด็กคนหนึ่งเขาไปที่กล ุมซึ่งกําลังพยายามอยางหนัก และชี้ไปที่ชิ้นสวน 2 ชิน้ทีย่ื่นออกมาจากรูปสีเ่หลีย่ม แลวแนะนําใหกลบัชิน้สวนทัง้ 2 นีล้ง ทนัใดนัน้เองเด็กคนหนึง่ทีก่าํลงัขมวดคิ้วอยางต้ังใจจะทํางานใหสําเร็จก็เกิดความเขาใจวาจะตอชิ้นสวนอยางไร เมื่อลงมือทําถูกตองใน 2-3ชิ้นแรกก็สามารถเรียงชิ้นตอ ๆ ไปไดสําเร็จ มีเสียงปรบมืออยางพรอมเพรียงกันเมื่อนักเรียนกล ุมที่ 3 วางชิ้นสวนอันสุดทายใหเขาที่เปนรูปสี่เหลี่ยมที่สมบูรณ

ประเด็นในการอภิปราย

ขณะที่ในชั้นมีการอภิปรายโตแยงเกี่ยวกับวัตถุประสงคของบทเรียนเร่ืองการทํางานรวมกันเปนทีม ก็ไดมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นอ่ืน ๆ ตามมาดวย ทัคเคอรผ ูไดรับมอบหมาย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 91: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ใหเปนผ ูสังเกตการณของกล ุมซึ่งสวมเสื้อยืดมีขอความที่อกเสื้อวา “จงมีความรับผิดชอบ” ราวกับจะเนนบทบาทที่ไดรับแตงต้ังอยางเปนทางการของตนไดพูดกับเพื่อนชื่อราหแมนอยางเอาจริงเอาจัง และดวยน้ําเสียงที่เปนการโตแยงวา “เธอก็สามารถจะหยิบชิ้นสวนใหเพื่อนได และนี่ไมใชการทําทาบอกใบนี่นา”

ราหแมนขัดข้ึนอยางมีอารมณและยํ้าวา “นั่นแหละ..เปนการแสดงทาบอกใบชัด ๆ เลย”ครูสังเกตเห็นการโตเถียงดวยเสยีงทีดั่งข้ึนทกุทแีละทําทาจะกลายเปนการแสดงความกาวราวจนตองเดินไปที่โตะของนักเรียน เร่ืองนี้เปนประเด็นที่สําคัญมากที่แสดงถึงการแลกเปลี่ยนความร ูสึกรุนแรงซึง่เกดิข้ึนเองโดยไมไดต้ังใจ ชวงเวลานีแ้หละทีบ่ทเรียนซึง่นกัเรียนไดเรียนร ูจะบรรลถึุงขอสรุปไดและเปนเวลาทีจ่ะไดเร่ิมการสอนบทเรียนใหมซึ่งมีประโยชนตอไป ครูสวนใหญจะร ูดีวาการประยุกตกิจกรรมเขากับบทเรียนในลักษณะที่จะคงอย ูในความทรงจําของนักเรียน

ครูใหขอเสนอแนะวา “นีไ่มใชเปนการวิพากษวิจารณ นักเรียนตางรวมมือกันอยางดี แตทัคเคอรพยายามพูดสิ่งที่เขาตองการจะพูดกับราหแมนดวยน้ําเสียงที่ดูไมเปนการวิจารณนะ”

ทัคเคอรซึ่งขณะนี้มีอารมณสงบลง พูดกับราหแมนวา “เธอก็แคใสชิ้นสวนตรงที่เธอเห็นวาพอดีซึง่ทาํใหเพือ่น ๆ เขาใจวาเธอคดิอยางไรโดยไมเปนการแสดงทาทางบอกใบ เพยีงแตทําใหเทานัน้”

ราหแมนตอบโตดวยน้ําเสียงโกรธเกร้ียววา “เธออาจจะทําแบบนี้ก็ได” ขณะที่พูดก็เกาศีรษะซึ่งแสดงการเคลื่อนไหวที่ทําเปนซื่อ ไรเดียงสาและพูดตอไปวา “ก็เขาไมใหแสดงทาทางนี่นา”

เห็นไดชัดวาราหแมนมีความโกรธมากกวาจะนึกถึงเร่ืองการโตเถียงวาอะไรเปนการแสดงทาทางบอกใบหรือไมเปน เขามักจะชําเลืองมองที่ใบประเมินผลที่ทัคเคอรไดบันทึกไว ซึ่งแมวาจะยังไมไดมีการพูดถึง แตก็เห็นไดวานั่นเปนจุดที่กอใหเกิดความเครียดระหวางทัคเคอรและราหแมน เพราะในใบประเมินผลที่ทคัเคอรไดเขียนไว เขาไดเติมชือ่ของราหแมนในชองที่เวนไววา “เปนคนกอกวน”

ครูสังเกตเห็นวาราหแมนกําลังมองใบประเมินที่ทําใหเขาโกรธ และเสี่ยงพูดเดาข้ึนกับทัคเคอรวา “ราหแมนร ูสึกวาเธอใชคําพูดในทางลบวาเขาเปนตัวกอกวน เธอหมายความวาอยางไร”

ตอนนีท้ัคเคอรพดูข้ึนอยางประนปีระนอมวา “ฉันไมไดหมายความวาเปนการกอกวนทีแ่ย”ราหแมนไมยอมรับคําพูดนี ้แตเขาก็พูดข้ึนดวยเสียงที่สงบลงวา “นั่นมันเปนการพูดเกิน

เลยไป ตามความเห็นของฉัน”ครูไดยํ้าถึงวิธีการทางบวกในการมองปญหาโดยกลาววา “ทัคเคอรพยายามจะพูดวา

สิ่งทีถื่อเปนการกอกวนอาจเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกดิความคดิที่แวบข้ึนมาระหวางที่กาํลงัจนมมุกไ็ด”ราหแมนแยงข้ึนดวยทาทีทีม่ีเหตุผลมากข้ึนวา “จะถือเปนการกอกวนกเ็มือ่ฉนัทําทาทาง

แบบนี้ ขณะที่ทุกคนกําลังใชสมาธิในการทํางานอย ู” แลวเขาก็ทําทาทางตลก ทําตาเหลือก แกมปองและบอกวา “อยางนี้แหละถึงจะเรียกวากอกวน”

ครูพยายามคลี่คลายอารมณโดยพูดกับทัคเคอรวา “ในการใหความชวยเหลือ เธอไมไดหมายความวาราหแมนจะกอกวนในทางไมดี แตเธอสือ่ความหมายอีกอยางหนึ่งที่ไมตรงกบัสิง่ทีต่องการพูดราหแมนตองการใหเธอไดยินและยอมรับความร ูสึกของเขา และราหแมนกําลังบอกวาการใชคําวา กอกวน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 92: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ดูจะไมยุติธรรม เพราะเขาไมชอบที่จะใหใครวาเขาเชนนั้น”ตอจากนั้นครูไดพูดกับราหแมนวา “ฉันชอบวิธีที่เธอกลาแสดงออกในการพูดกับทัคเคอร

เธอไมไดโจมตีเขา แตกค็งไมพอใจทีม่คีนเรียกเธอวาคนกอกวน เมือ่เธอเอาชิน้สวน 2 ชิน้ข้ึนไปปดตา ดูเหมอืนวาเธอกําลังร ูสึกไมไดดังใจและตองการจะใหเกดิความสวางข้ึนมาอยางฟาแลบ แตทคัเคอรบอกวานัน่เปนการกอกวนเพราะเขาไมเขาใจความต้ังใจของเธอ ใชไหม?”

นักเรียนทั้ง 2 คน พยักหนาเปนเชิงเห็นดวย ขณะทีน่ักเรียนคนอ่ืน ๆ ชวยกนัเกบ็ชิน้สวนใหเรียบรอย เหตุการณเลก็ ๆ ที่เกดิข้ึนในชั้นเรียนกม็าถึงตอนจบ ครูถามวา “นกัเรียนร ูสกึดีข้ึนไหม? หรือวายังมสีิง่ใดที่ไมพอใจอย ู?”

ราหแมนพูดข้ึนดวยเสียงที่ออนลงในตอนนี้เมื่อเขาร ูสึกวามีคนรับฟงและเขาใจเขาทัคเคอรก็พยักหนาเห็นดวยเชนกัน พรอมกับย้ิม นักเรียนทั้งสองสังเกตเห็นวานักเรียนคนอ่ืน ๆ ไดพากันออกจากหองเพื่อไปเขาเรียนชั่วโมงตอไปแลว ทัคเคอรและราหแมนจึงพรอมใจกันวิ่งออกไปจากหองอยางรวดเร็ว

หลงัการเกิดปญหา : ทีไ่มไดกลายเปนการตอส ูเมื่อเร่ิมกล ุมคร้ังใหม ขณะที่นักเรียนตางหาที่นั่งกันเรียบรอยแลว ครูไดสรุปแยกแยะสิ่ง

ทีไ่ดเกดิข้ึนทัง้หมด โดยพดูถึงการโตเถียงทีเ่ผ็ดรอนและเมือ่แตละคนสงบลง กท็ําใหไดเรียนร ูวธีิการแกปญหาความขัดแยง ครูสรุปใหนกัเรียนฟงวา “สาเหตุทีท่ําใหเร่ิมมกีารขัดแยงกนัซึง่เห็นไดชดัเจนคอืการไมสือ่ความหมาย การคิดเอาเองและดวนสรุป การสื่อความหมายแบบรุนแรงซึ่งทําใหผ ูฟงลําบากใจที่จะรับฟงวาเรากําลังพูดอะไร”

นักเรียนในชั้นของ Self-science ไดเรียนร ูวาประเด็นสําคัญไมใชการหลีกเลี่ยงความขัดแยงโดยสิ้นเชิง แตเปนการคลีค่ลายความไมเห็นดวยและความโกรธไมพอใจ กอนทีจ่ะกลายเปนการตอส ูกันอยางเปดเผย จากบทเรียนทีแ่ลวจะไดเห็นวธีิวาทคัเคอรและราหแมนจดัการกบัขอขัดแยงอยางไร เชน ทัง้สองคนตางพยายามอธิบายเหตุผลของตนทีไ่มเพิม่ความขัดแยงใหมากข้ึน ไดมกีารสอนการมคีวามเชือ่มัน่ในการแสดงออก (ตางจากกาวราวหรือสมยอมในระดับชั้นประถม 3 มากอน) ซึ่งเปนการแสดงความร ูสึกอยางตรงไปตรงมา แตในลกัษณะทีไ่มลงทายดวยความกาวราว ขณะทีเ่ร่ิมโตเถียงกนั นกัเรียนทัง้ 2 คนตางไมมองหนากันเลย แตในตอนตอมานกัเรียนแตละคนเร่ิมมทีาททีีแ่สดงถึงการฟงอยางต้ังใจและหันมาเผชญิหนากัน มองตากันและมีการสื่อสารที่เปนการชี้แนะซึ่งทําใหคนพูดร ูวามีคนรับฟงสิ่งที่เขากําลังพูดอย ู

โดยการอธิบายที่นําไปส ูการกระทําประกอบกับการใหความชวยเหลือของครูทําใหนักเรียนเขาใจวา “ความเชือ่มั่นในการแสดงออก” และ “การรับฟงอยางต้ังใจ” ไมใชเปนเพียงประโยคทีไ่มมีความหมายในการสอนเทานั้น แตเปนการแสดงปฏิกิริยาที่นักเรียนสามารถไดขอคิดในขณะที่เขาตองการสิ่งเหลานี้อยางรีบดวนที่สุด

ความสามารถในการควบคุมอารมณเปนเร่ืองที่ทําไดยากเปนพิเศษเนื่องจากทักษะ

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 93: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ที่ตองการ เมื่อบุคคลอย ูในสภาวะที่หยอนความสามารถมากที่สุดที่จะรับขอมูลและเรียนร ูวิธีใหมในการโตตอบก็คือขณะที่เขาเกิดอารมณเสียนั่นเอง การใหคําแนะนําในชวงเวลานี้จะเปนการชวยไดมาก ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา “ไมวาผ ูใหญหรือนักเรียนชั้นประถม 5 ก็ตองการความชวยเหลือใหสามารถร ูตัวเวลาที่เกิดอารมณเสียเหมือนกัน ในชวงเวลานั้นหัวใจจะเตนแรง เหงื่อมือออก กระวนกระวายและพยายามจะฟงใหชัดเจน ขณะที่ตองควบคุมตนเองใหผานสถานการณนี้ไปได โดยไมตองสงเสยีงรองกร๊ีดกราด กลาวโทษหรือปดปากสนิทเปนการปองกันตนเอง ในกรณีของทัคเคอรและราหแมนนั้น ทั้ง 2 คนพยายามแสดงความคิดเห็นของตนเองโดยไมมีการโทษอีกคนหนึ่ง เรียกชื่อเสีย ๆ หาย ๆ หรือตะโกน และไมถึงกับปลอยใหความร ูสึกนําไปส ูการเยาะเยย ชกตอย หรือตัดบทโดยเดินออกจากหองไป ซึ่งจะเปนสิ่งที่ทําใหทั้ง 2 คนตองทําสงครามกันเต็มที่แทนการควบคุมตนเองเพื่อแกขอขัดแยง”

ปญหาทีเ่ปนเรือ่งอภปิรายในแตละวนัเมื่อเร่ิมตนบทเรียน Self-science ดังที่เคยปฏิบัติมา จํานวนนักเรียนมีไมมากเทาวันนี้

ในเวลาที่มีนักเรียนจํานวนนอย เมื่อนักเรียนคนหนึ่ง สองคน สามคน แสดงความร ูสึกแย ก็มีคนถามข้ึนวา“เธอตองการพดูถึงสาเหตุทีท่ําใหร ูสกึเชนนัน้หรือไม” และถานักเรียนตองการ (ไมมกีารกดดันใหพดูในสิง่ทีไ่มตองการ) กม็กีารเปดโอกาสใหพดูถึงเร่ืองทีไ่มสบายใจและพยายามหาวธีิทีส่รางสรรคในการจดัการกบัปญหา

ปญหาที่ถูกหยิบยกข้ึนมาจะแตกตางกันไปสําหรับนักเรียนแตละชั้นในชั้นประถมตน ๆปญหาที่พูดถึงมากที่สุดคือการเยาแหยคนอ่ืน ร ูสึกถูกกีดกันไมใหเขากล ุมและความกลัว ในเด็กชั้นประถม6 ปญหาจะแตกตางออกไป เชน ความร ูสกึนอยใจทีไ่มมคีนขอนดัไปเที่ยวหรือไมไดรับความสนใจจากเพือ่นเพื่อนชอบทําตัวเด็กกวาวัยและปญหาที่นักเรียนร ูสึกวาหลีกเลี่ยงไดยาก เชน โดนนักเรียนที่โตกวาแกลงเพื่อนชอบสูบบุหร่ีและคอยมาชวนใหสูบดวย

เร่ืองเหลานี้คอนขางมีความสําคัญในชีวิตของเด็กและจะปรากฏใหเห็นเสมอ ๆ รอบ ๆโรงเรียน ในโรงอาหาร บนรถโรงเรียนหรือทีบ่านเพือ่น บอยทเีดียวทีเ่ด็ก ๆ จะเกบ็ปญหาไวกบัตนเอง คดิซ้ําไปซ้ํามาคนเดียวตอนกลางคืน ไมมีใครชวยเปนค ูคิดให แตในชัน้เรียน Self-science เร่ืองดังกลาวจะกลายเปนหัวขออภิปรายกันในวันนั้น

การอภิปรายในแตละคร้ังจะเปนสาระสําคญัซึง่เปนเปาหมายของบทเรียน Self-science ซึง่ใหความกระจางแกเด็กในการร ูจักตนเองและการมีสัมพันธภาพกับผ ูอ่ืน แมวาจะมีการเตรียมการสอนลวงหนาแตก็สามารถยืดหย ุนได เมื่อเกิดปญหาเชนในกรณีของความขัดแยงระหวางทัคเคอรและราหแมน ซึ่งก็สามารถคลี่คลายไปได เร่ืองราวที่นักเรียนเสนอข้ึนมาถือเปนตัวอยางในชีวิตจริงที่ทั้งนักเรียนและครูสามารถประยุกตทักษะที่ไดเรียนร ูมา เชน วิธีการคลี่คลายปญหาที่ทําใหค ูพิพาทสงบลงได

บทเรยีนการสอน “ความฉลาดทางอารมณ”หลักสูตร Self-science ไดรับการพจิารณาวาเปนแมแบบในการสอนเร่ืองความฉลาดทาง

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 94: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]

อารมณมาเปนเวลาเกือบ 20 ป ซึ่งบางคร้ังบทเรียนก็คอนขางจะมีความละเอียดออนดังที่ครูผ ูสอนหลายคนกลาววา “เมื่อมีการสอนเร่ืองความโกรธ เรามักจะชวยใหนักเรียนเขาใจวาเปนเร่ืองปลายเหตุและใหพยายามคนหาเหตุที่ซอนอย ูในสวนลกึวาทีจ่ริงแลวเปนความร ูสึกนอยใจหรืออิจฉา ใชหรือไม” เด็ก ๆ จะไดเรียนร ูวา เรามักมีทางเลือกเสมอในการแสดงออกทางอารมณที่ดีกวาในชีวิตของเรา

เนื้อหาของบทเรียน Self-science จะเกีย่วโยงเขากบัสวนประกอบของความฉลาดทางอารมณไดเกอืบทั้งหมด ทักษะสาํคัญทีเ่สนอแนะใหจะเปนการปองกันปญหาในระยะแรกเพื่อชวยไมใหเด็กตองเผชิญกับปญหาที่คกุคามอย ู บทเรียนที่ไดจะรวมเร่ืองการร ูจกัตนเอง การรับร ูอารมณและบอกลักษณะอารมณได การเห็นความแตกตางระหวางความคิด ความร ูสึก การแสดงปฏิกิริยาโตตอบ ร ูวาความคิดหรือความร ูสึกมีอิทธิพลตอการตัดสินใจอยางไร ร ูผลของการใชทางเลือกใหม ประยุกตความเขาใจเพื่อใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาเร่ืองการใชยา การสูบบุหร่ี และเร่ืองทางเพศ การร ูจักตนเองจะรวมถึงการร ูจุดเดนจุดดอยและการมองตนเองในทางบวก แตเปนไปตามความเปนจริงเพื่อหลกีเลี่ยงการตกหลมุพรางของการร ูสึกมั่นใจตนเองเกินไป

บทเรียนที่สําคัญอ่ืน ๆ คือการเนนที่การจัดการกับอารมณ : รับร ูวาอะไรอย ูเบื้องหลังอารมณ (เชน ความนอยใจนําไปส ูความโกรธ) และเรียนร ูวธีิจดัการกบัความวติกกงัวล ความโกรธ และความเศราเสียใจ เร่ืองที่เนนอีกเร่ืองหนึ่งคือการมีความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการกระทําและปฏิบัติตามทีไ่ดตกลงไว

สําหรับบทเรียนเกี่ยวกบัความสามารถทางสงัคมทีเ่ปนหัวใจสาํคญัคือการรับร ู และเขาใจความร ูสึกของผ ูอ่ืนและรับฟงความร ูสึกของเขา นับถือความแตกตางที่แตละคนแสดงความร ูสึกตอสิ่งตาง ๆมีการยํ้าความสาํคัญของสมัพนัธภาพซึง่รวมถึงการเรียนร ูที่จะเปนผ ูรับฟงที่ดีและการร ูจกัต้ังคาํถาม ความสามารถในการแยกความแตกตางระหวางการพูดและการกระทําของบุคคล ปฏิกิริยาโตตอบและการตัดสินของตัวนักเรียนเอง การสามารถแสดงออกดวยความเชือ่มัน่แทนการโกรธหรือสมยอมและเรียนร ูศลิปะของการรวมมือ การคลี่คลายขอขัดแยงและการเจรจาตอรองประนีประนอม

การสอนบทเรียน Self-science ไมมกีารแบงระดับชัน้ โดยแทจริงแลวชวีติกค็อืการสอบไลนั่นเอง แตในชวงชั้นประถมปลายที่นักเรียนจะยายไปเขาโรงเรียนอ่ืน ก็จะมีการสอบปากเปลาเกี่ยวกับบทเรียน Self-science ตัวอยางคําถามในการสอบ เชน “ใหบอกวธีิการทีเ่หมาะสมในการชวยเพือ่นคลีค่ลายความขัดแยงกบันกัเรียนบางคนทีส่งสยัวาจะมปีญหาการใชยาเสพยติด หรือนกัเรียนทีช่อบแหยเพือ่น” หรือ “อะไรคือวิธีการที่ดีในการจัดการกับความเครียด ความโกรธ และความกลัว”

ระดับชั้นเรียนท่ีสอน Self-science

นักจิตวิทยาและผ ูที่ มีพื้นความร ูด านจิตวิทยาพัฒนาการจะทราบดีวาควรสอนบทเรียน Self-science กับเด็กอายุระดับใดไดบางเพื่อชวยใหเด็กเรียนร ูเ ร่ืองอารมณ เชน ในระดับ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 95: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ประถมตนๆ อาจมีการสอนบทเรียนพื้นฐานในเร่ือง การร ูจักตนเอง สัมพันธภาพระหวางบุคคลและความสามารถในการตัดสินใจ

ตัวอยางการสอนนักเรียนระดับประถมหนึ่ง จะใหเด็กนั่งลอมเปนวงกลมและเลนกับกอนไมสีเ่หลีย่มทีม่คีําเกีย่วกบัความร ูสกึเขียนไวในแตละดานเชน เสยีใจ ต่ืนเตน เมือ่นกัเรียนหมนุดานใดข้ึนกจ็ะใหนักเรียนบรรยายหรือเลาถึงความร ูสึกนั้นวาเปนอยางไร เปนแบบฝกหัดจะชวยใหนักเรียนมีความชัดเจนในการเกี่ยวโยงความร ูสึกเขากับคําพูด ซึ่งชวยใหนักเรียนมีความเขาใจและยอมรับความร ูสึกของผ ูอ่ืนเมื่อไดยินวานกัเรียนคนอ่ืนมคีวามร ูสึกแบบเดียวกับตน

ในระดับชัน้ประถม 4 และ 5 ซึง่เปนชวงระยะเวลาทีค่วามสมัพนัธระหวางเด็กอายุเดียวกนัมีความสําคัญอยางย่ิงในชวีติของเด็ก เด็กจะไดรับการสอนใหรักษาสมัพนัธภาพทีดี่กบัเพือ่น การเขาใจและยอมรับความร ูสึกของผ ูอ่ืน การควบคุมความตองการที่รุนแรง และการจัดการกับอารมณ มีการสอนทักษะในการอานความร ูสึกจากสีหนาคนอ่ืน ซึ่งมีการเนนความสําคัญอยางมากของเร่ืองนี้ในระดับชั้นประถม 5สําหรับบทเรียนเกี่ยวกับการควบคุมความตองการที่รุนแรง จะทํา “โปสเตอรไฟแดงไฟเขียว” และขอปฏิบัติ6 ข้ันตอน คือ

ไฟแดง : 1. หยุด สงบจิตใจและคิดกอนการกระทําไฟเหลือง : 2. พูดถึงปญหาและบอกวาทานร ูสึกอยางไร

3. ต้ังเปาหมายในทางบวก4. คิดถึงการหาทางออกหลาย ๆ ทาง5. คิดลวงหนาถึงผลที่จะตามมา

ไฟเขียว : 6. เดินหนาและลองทําตามแผนที่ดีที่สุดการใช “โปสเตอรไฟแดงไฟเขียว” จะนํามาใชในกรณ ีเชน ขณะทีน่ักเรียนกาํลงัจะระเบดิ

อารมณโกรธ แยกตัวเมือ่มอีารมณโกรธเพยีงเลก็นอยหรือรองไหเมือ่ถูกเยาแหย การใชวธีินีจ้ะชวยใหนกัเรียนร ูข้ันตอนทีเ่ปนรูปธรรมในการจัดการกับสถานการณที่เกดิข้ึนขณะนัน้ นอกจากการจดัการกบัความร ูสกึแลวยังแสดงถึงวิธีการทีม่ปีระสทิธิภาพและการเรียนร ูใหติดเปนนสิัยในการจดัการกบัการแสดงออกทางอารมณที่ขาดการควบคุม ใหคิดกอนแสดงการกระทําตามความร ูสึก วิธีการนี้อาจใหเปนแนวทางในการจัดการกับวัยร ุนกล ุมเสี่ยงและนักเรียนที่ระดับอายุสูงกวานี้

ในระดับประถม 6 บทเรียนจะเกีย่วโดยตรงมากกวากบัความย่ัวยุและความกดดันทางเพศการใชยาเสพยติด การด่ืมเหลาซึ่งเร่ิมเขามาในชีวิตของนักเรียน ในระดับมัธยมศึกษาตอนตนซึ่งเปนระยะที่วัยร ุนตองเผชิญกับความไมแนใจเกี่ยวกับความเปนจริงในสังคมและความสามารถในการใชมุมมองที่หลากหลายจะมกีารสอนทีเ่นนปญหาทัง้ทีเ่ปนของนกัเรียนเองและทีเ่กีย่วของกบัผ ูอ่ืน ตัวอยางเชนในกรณีของนักเรียนวัยร ุนชายคนหนึ่งที่ร ูสึกโกรธมากเพราะเห็นเพื่อนหญิงของตนกําลังพูดกับนักเรียนชายคนอ่ืนนักเรียนจะไดรับการชวยใหสามารถพิจารณาวาอาจมีอะไรเกิดข้ึนระหวางนักเรียนอีก 2 คน ตามทัศนะของเขาเองดวยมากกวาจะตรงเขาไปหาเร่ืองโดยการประจันหนากัน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 96: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

]ความเขาใจเรื่องอารมณกับงานปองกัน

ไดมีการพัฒนาโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพในการเขาใจเร่ืองอารมณตามปญหาเฉพาะที่เกิดข้ึน เชน การใชความรุนแรง หลักสูตรการสอนที่มีประโยชนในการปองกันโปรแกรมหนึ่ง คือ“การคลี่คลายขอขัดแยงดวยวิธีการสรางสรรค” เปนโปรแกรมที่ใหความสนใจกบัการจดัการกบัการโตเถียงระหวางนักเรียนในสนามเด็กเลนหรือบริเวณโรงเรียนซึ่งจะนําไปส ูเหตุการณที่รุนแรงและเกิดอันตรายผ ูที่ริเร่ิมทําโปรแกรมนี้กลาววาประโยชนของโปรแกรมไมเพียงแตมีผลดีตองานปองกันปญหาเทานั้น แตนักเรียนจะไดเรียนร ูว าเขามีวิธีมากมายในการจัดการกับความขัดแยงนอกเหนือจากการสมยอมหรือพฤติกรรมกาวราว นกัเรียนจะไดเรียนวธีิการทีจ่ะยืนหยัดเพือ่สทิธิของตนเองโดยไมตองใชวิธีการรุนแรงและเปนทักษะชีวิตซึ่งไมไดสอนเฉพาะในนักเรียนที่เสี่ยงตอการมีพฤติกรรมรุนแรงเทานั้น

ในแบบฝกหัดหนึ่งจะมีการใหนักเรียนคิดถึงข้ันตอนหนึ่งไมวาจะมีความสําคัญนอยเพียงใด แตสามารถปฏิบติัไดในความเปนจริง แลวใหเลนสวมบทบาทแบบเลนละครโดยใหมีพีส่าวที่กาํลงัพยายามทําการบาน เกดิเบือ่นองสาวทีเ่ปดเทปเพลงแร็ปเสยีงดังมาก เมือ่เกดิหงดุหงดิไมพอใจจงึใชวธีิปดเทปทั้ง ๆ ที่นองสาวขอไมใหทําเชนนัน้ ใหนกัเรียนในชัน้รวมกนัออกความคิดเห็นวาจะแกปญหาอยางไรจงึจะเปนที่พอใจของทั้งพี่สาวและนองสาว

แนวทางการคลี่คลายความขัดแยงไดนําไปใชตอนอกหองเรียน เชน สนามเด็กเลนและโรงอาหารในกรณีที่มีปญหาวาจะเกิดการใชอารมณรุนแรงข้ึน มีการฝกนักเรียนบางคนใหทําหนาที่เปนผ ูไกลเกลี่ยซึ่งจะสอนไดในชั้นประถมปลาย เมื่อนกัเรียนเกดิมีปญหาความขัดแยง ผ ูทําหนาที่ไกลเกลี่ยกจ็ะไปชวยเหลือใหตกลงกนัได

ผ ูไกลเกลี่ยจะไดเรียนร ูการใชคําพูดที่ทําใหค ูพิพาทที่มีปญหาร ูสึกวาผ ูไกลเกลี่ยไมมีความลําเอียง วิธีการแกปญหาจะรวมการนั่งลงพดูคุยกบัค ูพิพาทและชวยใหทั้งสองฝายรับฟงซึง่กนัและกนัโดยไมขัดคอหรือสบประมาทอีกฝายหนึ่ง เมื่อค ูพิพาทมีอารมณสงบลงก็จะเปดโอกาสใหแตละฝายพูดซ้ําซอนตามที่ตนเขาใจเพือ่ยืนยันวาตนไดรับฟงอีกฝายหนึ่งอยางชัดเจนและถูกตองแลว ตอจากนัน้ทุกคนจะรวมกันคิดถึงขอยุติที่แตละฝายยอมรับได การตกลงกันในขอยุติมักจะทําเปนลายลักษณอักษร

นอกจากโปรแกรมการสอนเพื่อการไกลเกลี่ยแลว ยังมีการสอนใหนักเรียนคิดแตกตางออกไปเกี่ยวกับความขัดแยงในตอนแรก นกัเรียนคนหนึง่ทีไ่ดรับการสอนไดแสดงความเห็นวาความคดิของเขาเปลี่ยนแปลงไป ในตอนแรกเมือ่มคีนมาพดูจาหาเร่ืองหรือทําอะไรบางอยางกบัเขา สิง่แรกทีค่ดิไดคอืตองส ูตอบหรือทําอยางใดอยางหนึ่งเปนการตอบแทน แตเมื่อไดเขาเรียนในโปรแกรมการไกลเกลี่ยแลว เขามีวิธีคิดในทางบวกมากข้ึน เชน ถามีใครมาทําไมดีกับเขา เขาก็จะไมคิดถึงการโตตอบกลับในทางลบ แตจะพยายามหาวิธีแกปญหาในทางบวก ซึ่งนักเรียนเหลานี้ก็ไดเผยแพรสิ่งที่เขาไดเรียนร ูมาใหกับบุคคลอ่ืน ๆในชุมชนของเขาดวย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 97: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

นอกจากการคลีค่ลายความขัดแยงจะมีผลในแงการปองกันพฤติกรรมรุนแรงแลว ยังชวยใหมีประสิทธิภาพทางอารมณดีข้ึนอีกดวย เชน การไดร ูความร ูสึกของตนเอง วิธีการควบคุมอารมณรุนแรงหรือความเศรามีความสําคัญตอการปองกันพฤติกรรมรุนแรงพอ ๆ กับการจัดการกับความโกรธ การฝกอบรมสวนใหญจะเกี่ยวของกับอารมณพื้นฐาน เชน การตระหนักร ูความร ูสึกที่หลากหลาย สามารถบอกไดวาเปนความร ูสกึอะไร และการเขาใจยอมรับความร ูสกึของผ ูอ่ืน ผ ูสอนสรุปวาแผนการสอนทีเ่พิม่ความเขาใจและเอาใจใสซึ่งกันและกันในหม ูนักเรียนทําใหลดการตอส ู การทําตัวเหนือคนอ่ืนและการเรียกลอชื่อลงไดอยางมาก

บทเรียนการสอนเร่ืองอารมณในโรงเรียนมีผลดีในดานตาง ๆ ดังนี้การร ูจักอารมณตนเอง

- ชวยทําใหร ูอารมณและเรียกชื่ออารมณที่เกิดข้ึนได- สามารถเขาใจสาเหตุของความร ูสึกไดดีข้ึน- ร ูจักความแตกตางระหวางความร ูสึกกับการกระทํา

การจัดการกับอารมณ- สามารถจัดการกับความโกรธไดดีข้ึนและทนตอความผิดหวังไดมากข้ึน- ลดการใชวาจาขมข ู การตอส ูและการกอกวนในหองเรียน- สามารถแสดงความโกรธไดอยางเหมาะสมโดยไมตองมีการตอส ู- มีอารมณคางและแสดงออกรุนแรงนอยลง- มีพฤติกรรมกาวราวหรือทํารายตนเองนอยลง- มีความร ูสึกในทางบวกมากข้ึนตอตนเอง โรงเรียนและครอบครัว- จัดการกับความเครียดไดดีข้ึน- ร ูสึกวาเหวและวิตกกังวลดานสังคมนอยลง

ผลจากการควบคุมอารมณ- มีความรับผิดชอบเพิ่มข้ึน- มีสมาธิและความเอาใจใสกับงานเฉพาะหนาดีข้ึน- มีผลการสอบความสําเร็จดานการเรียนสูงข้ึน

การเขาใจและยอมรบัความร ูสกึของผ ูอ่ืน- สามารถยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอ่ืน- สามารถเขาใจ ยอมรับและมีความร ูสึกไวในการรับร ูความร ูสึกของผ ูอ่ืน- รับฟงผ ูอ่ืนไดดีข้ึน

]

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 98: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

การสรางสมัพนัธภาพ- เพิ่มความสามารถในการวิเคราะหและเขาใจในสัมพันธภาพ- คลี่คลายความขัดแยงและเจรจาตอรองความคิดเห็นไมตรงกันไดดีข้ึน- สามารถแกปญหาดานสัมพันธภาพไดดีข้ึน- สามารถแสดงความเชื่อมั่นและมีทักษะในการสื่อความหมาย- เปนที่ชอบพอของกล ุมและชอบเขาสังคม มีความเปนมิตรและเขากล ุมเพื่อน- เพื่อนฝูงจะเขามาคบหาดวยมากข้ึน- มีความหวงใยและเห็นใจผ ูอ่ืนมากข้ึน- เขาสังคมมากข้ึนและทําตัวกลมกลืนกับกล ุม- มีความรวมมือและชวยเหลือผ ูอ่ืนมากข้ึน- มีความเปนประชาธิปไตยมากข้ึนในการจัดการกับผ ูอ่ืน

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 99: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 100: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

หมายถึง ความสามารถในการร ูจัก เขาใจและควบคุมอารมณของตนเองไดสอดคลองกับวัย มีการประพฤติปฏิบัติตนในการอย ูรวมกบัผ ูอืน่อยางเหมาะสมและมีความสุข ความฉลาดทางอารมณเปนคุณลักษณะพ้ืนฐานสําคญัท่ีจะนาํไปส ูความเปนผ ูใหญ ท้ังความคิด อารมณ และพฤติกรรม

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กจะชวยใหครู/ผ ูดูแลเด็ก ไดทราบถึงจุดดีจุดเดนของลักษณะความฉลาดทางอารมณท่ีควรสงเสริมและจุดออนท่ีควรพัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป รวมท้ังสามารถใชในการติดตามเพ่ือดูพัฒนาการทางอารมณวามีความกาวหนามากนอยเพียงใดเมื่ออายุเพ่ิมขึ้น

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็ก ประเมินคุณลักษณะ 3 ดาน คือ1. ดานด ีเปนความพรอมทางอารมณท่ีจะอย ูรวมกับผ ูอืน่ โดยประเมินจากการร ูจักอารมณ การมีน้าํใจ

และการร ูวาอะไรถูกอะไรผิด2. ดานเกง คอืความพรอมท่ีจะพัฒนาตนไปส ูความสําเรจ็ โดยประเมนิจากความกระตอืรอืรน/สนใจใฝร ู การปรบั

ตวัตอการเปล่ียนแปลง และการกลาพูดกลาบอก3. ดานสขุ คอืความพรอมทางอารมณท่ีทําใหเกดิความสุข โดยประเมนิจากการมคีวามพอใจ ความอบอ ุนใจ และ

ความสนุกสนานราเริงความฉลาดทางอารมณ ประเมินไดโดยการตอบขอความท่ีเกี่ยวของกับอารมณ ความร ูสึกและพฤติกรรมของเด็กท่ี

แสดงออกในลักษณะตางๆ ในชวง 4 เดอืนท่ีผานมา แมวาบางประโยคอาจจะไมตรงกบัท่ีเดก็เปนอย ูกต็าม ขอใหทานเลือกคาํตอบท่ีใกลเคียงกับท่ีเด็กเปนอย ูจริงมากท่ีสุด การตอบตามความเปนจริงและตอบทุกขอจะทําใหทานไดร ูจักเด็กและหาแนวทางในการพัฒนาเด็กใหดียิ่งขึ้นได

มีคาํตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคอื ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ัง เปนประจําการประเมินใหใชความร ูสึกของผ ูประเมินเปนหลัก แตกรณีท่ีไมแนใจใหใชเกณฑตอไปนี้เปนแนวทางในการประเมิน

ไมเปนเลย หมายถึงไมเคยปรากฏเปนบางครั้ง หมายถึงนาน ๆ ครั้ง หรือทําบางไมทําบางเปนบอยครั้ง หมายถึงทําบอย ๆ หรือเกือบทุกครั้งเปนประจาํ หมายถึงทําทุกครั้งเมื่อเกิดสถานการณนั้น

การประเมินมีขอพึงระวังดังนี้1. ผ ูตอบแบบประเมินจะตองร ูจั กหรือค ุนเคยกับเด็กเปนอยางดีไมนอยกวา 6 เดือน เพ่ือจะไดมีโอกาสให

ขอมูลเกี่ยวกับเด็กไดอยางละเอียดและถูกตอง2. ผ ูตอบแบบประเมิน ตองตอบตามท่ีเด็กเปนอย ูจริง3. ถาผ ูตอบมีความร ูต่าํกวา ป. 6 ควรใชวิธีการสัมภาษณโดยผ ูท่ีนาํแบบประเมินไปใช4. ไมควรนาํผลการประเมินไปเปรียบเทียบกับเด็กอื่น วากลาวตาํหนิเดก็ หรือใชเปนขอตัดสินในการคัดเลือกเด็ก

ในโอกาสตางๆ

c

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก) 1

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 101: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

เปนบอยครั้ง

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้ เปนประจํา

ขอความตอไปนี้ เปนการอธิบายถึงอารมณ ความร ูสึ กและพฤติกรรมของเด็กในชวง 4 เดือนท่ีผานมาโปรดใสเคร่ืองหมาย “ 3” ในชองท่ีทานคดิวาตรงกบัตวัเดก็มากท่ีสดุ มคีาํตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สาํหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ัง เปนประจํา

1. บอกความร ูสึกของตนเองไดเม่ือถูกถาม เชน ร ูสึกดีใจ เสียใจ โกรธไมชอบ ไมพอใจ

2. มักโอบกอดหรือคลอเคลียคนที่ตนรัก3. ย้ิมแยมเม่ือเลนกับเพ่ือน4. แสดงความเห็นใจเม่ือเห็นเพ่ือนหรือผ ูอื่นทุกขรอน เชน บอกวาสงสาร

เขาไปปลอบ หรือเขาไปชวย5. หยุดการกระทําที่ไมดีเม่ือเห็นสีหนาไมพอใจของผ ูใหญ6. รองไหงอแงเวลาไปโรงเรียนหรือสถานที่ที่ไมอยากไป7. กลัวสิ่งที่อย ูในจินตนาการ เชน ผี สัตวประหลาด8. เอาแตใจตนเอง9. กลัวคนแปลกหนา

10. เต็มใจแบงปนสิ่งของใหคนอื่น ๆ เชน ขนม ของเลน11. ชวนคนอื่นใหเลนดวยกัน12. สงสาร ไมทํารายสัตว13. บอกผ ูใหญเม่ือเพ่ือนหรือคนในครอบครัวไมสบาย14. ใจดีกับเด็กที่เล็กกวา15. อาสาชวยผ ูอื่น เชน งานบาน เก็บของที่เกะกะ16. ไมชวยเหลือเม่ือไดรับการขอรอง

17. เชื่อฟงและทําตามที่ผ ูใหญตองการ18. บอกขอโทษหรือเขามาประจบเม่ือทําผิด19. ไมเลนของที่เปนอันตราย เชน ไมขีดไฟ ปล๊ักไฟ มีด หลังจากไดรับ

การหามปรามจากผ ูใหญ20. ไหวขอบคุณเม่ือผ ูอืน่ใหของโดยผ ูใหญไมตองบอก21. ไหวหรือสวัสดีเม่ือพบผ ูใหญ22. บอกใหคอยก็ไมงอแง23. อดทนได รอคอยได ไมลงมือลงเทา24. เรยีกรองเอาแตใจตนเอง

25. ชางสังเกตและต้ังคําถามผ ูใหญถึงสิ่งตาง ๆ ที่ไดพบเห็น26. มักอยากร ูอยากเห็นกับของเลนหรือสิ่งแปลกใหม27. กลาซักถามหรือแสดงทาทีสนใจเม่ือมีขอสงสัย28. สนใจ ร ูสึกสนุกกับงานหรือกิจกรรมการเรียนร ูใหม ๆ29. ชอบเดินสํารวจเม่ืออย ูในสถานที่ใหม ๆ30. ต้ังใจฟงเม่ือผ ูใหญตอบเรื่องที่อยากร ู

31. รองไหเม่ือไปโรงเรียน32. เม่ือไมไดของเลนที่อยากไดก็สามารถเลนของอื่นแทน33. ยอมรับคําอธิบายเม่ือไมไดสิ่งที่ตองการ34. เขากับเด็กคนอื่น ๆ ไดงายเม่ือเริ่มร ูจักกัน35. หงดุหงิดเม่ือตองเปล่ียนแปลงจากสิ่งทีค่ ุนเคย36. ไมชอบไปในสถานที่ไมค ุนเคย เชน บานญาติ บานเพ่ือนของพอแม

รวมขอ 1-9

รวมขอ 10-16

รวมขอ 17-24

รวมขอ 25-30

รวมขอ 31-36

คะแนน

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก)2

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 102: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง เปนประจํา คะแนน

37. กลาบอกเรือ่งทีต่นเองทําผิดพลาดใหผ ูใหญฟง38. บอกผ ูใหญเม่ือทําของเสียหาย39. กลาปฏิเสธเม่ือผ ูใหญจะชวยเหลือเพราะเด็กอยากทําดวยตนเอง40. บอกความตองการของตนเองใหผ ูอื่นร ู41. บอกปฏิเสธเม่ือมีผ ูชวนเลนสิ่งที่ไมชอบ42. กลาพูด กลาคุย ทักทายตอบกลับผ ูอื่น

43. เม่ือไดรับคําชมเชย มักบอกเลาใหคนอื่นร ู44. ชวยเหลือตนเองมากขึ้นเม่ือไดรับคําชม45. ชอบเอาผลงานที่ทําเสร็จมาใหผ ูใหญดู46. พอใจที่ผ ูใหญชมวาเปนเด็กดี

47. ชวยเหลือตัวเองไดดีเม่ือผ ูใหญใหกําลังใจ48. ไมหวาดกลัวเม่ือตองอย ูกับคนที่ไมค ุนเคย49. ร ูจักเผื่อแผความรักใหคนอื่น เชน กอด ปลอบนองหรือเด็กที่เล็กกวา

50. รวมเลนสนุกสนานกับคนอื่น ๆ ได51. ร ูจกัคนหาของมาเลนเพ่ือสรางความสนุกสนานเพลิดเพลิน52. ถึงแมไมไดเลนก็สนกุกับการดูคนอื่นเลนได53. เม่ือเห็นคนอื่นเลนสนุกก็อยากเขาไปเลนสนุกดวย54. แสดงอารมณสนุกรวมตามไปกับสิ่งที่เห็น เชน รองเพลง กระโดดโลดเตน

หัวเราะเฮฮา55. เก็บตัว ไมเลนสนุกสนานกับเด็กคนอื่น ๆ

รวมขอ 37-42

รวมขอ 43-46

รวมขอ 47-49

รวมขอ 50-55

กล ุมที่ 1 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 1 คะแนนเปนบางครัง้ ให 2 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 3 คะแนนเปนประจํา ให 4 คะแนน

กล ุมที่ 2 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 4 คะแนนเปนบางครัง้ ให 3 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 2 คะแนนเปนประจํา ให 1 คะแนน

แบงเปน 2 กล ุม ดังนี้

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก) 3

กล ุมที่ 2 ไดแกขอกล ุมที่ 1 ไดแกขอ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 103: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก)4

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 104: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก) 5

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 105: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

3 คะแนน 164 คะแนน 8 225 คะแนน 13 286 คะแนน 11 19 17 337 คะแนน 9 14 3 22 21 39 28 คะแนน 12 12 17 7 25 25 45 69 คะแนน 15 15 20 11 28 30 50 10

10 คะแนน 17 17 23 15 31 34 56 1311 คะแนน 2 20 19 26 19 34 38 62 1712 คะแนน 5 23 22 29 23 37 43 67 2013 คะแนน 8 26 24 31 27 40 47 2414 คะแนน 11 29 26 34 31 43 51 2715 คะแนน 14 31 29 37 35 46 55 3116 คะแนน 17 34 31 40 39 49 60 3517 คะแนน 19 37 34 43 43 52 3818 คะแนน 22 40 36 46 47 55 4219 คะแนน 25 43 38 49 51 58 4520 คะแนน 28 45 41 52 55 61 4921 คะแนน 31 48 43 54 59 64 5222 คะแนน 34 51 45 57 63 67 5623 คะแนน 37 54 48 60 67 70 6024 คะแนน 40 56 50 63 71 73 6325 คะแนน 43 59 5226 คะแนน 46 62 5527 คะแนน 49 65 5728 คะแนน 52 68 6029 คะแนน 54 6230 คะแนน 57 6431 คะแนน 60 6732 คะแนน 63 6933 คะแนน 6634 คะแนน 6935 คะแนน 7236 คะแนน 75

คะแนนดิบท่ีได

ดี เกง สุข1.1ร ูจัก

อารมณ

1.2มีน้าํใจ

1.3ร ูวาอะไรถกู

อะไรผิด

2.1กระตือรือรน

สนใจใฝร ู

2.2ปรับตัวตอการเปลีย่นแปลง

2.3กลาพูดกลาบอก

3.1มีความพอใจ

3.2อบอ ุนใจ

3.3สนกุสนานราเริง

ตารางเปรียบเทียบคะแนนท่ีได กบัเกณฑปกติคะแนนที (T-Score Norms) ของความฉลาดทางอารมณในแตละดาน ของเด็กอายุ 3-5 ป ฉบับครู/ผ ูดูแลเด็ก

* คาคะแนนไดจากการสํารวจความฉลาดทางอารมณเด็กจํานวน 1,300 คน ทั่วประเทศในป พ.ศ. 2545

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก)6

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 106: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

1. ดานดี

2. ดานเกง

ผ ูใหญท่ีเกี่ยวของกับการดูแลเด็กควรทําส่ิงเหลานี้ใหสม่าํเสมอในชีวิตประจาํวันเพ่ือเสรมิสรางความฉลาดทางอารมณใหกับเด็ก

1.1 การร ูจักอารมณ เมื่อเด็กมีอารมณเกิดขึ้น เชน โกรธ โมโห ผ ูใหญควรชวยใหเด็กร ูจักอารมณของตนเอง อันเปนพ้ืนฐานของการควบคุมอารมณไดในอนาคต โดยไมตาํหนิเดก็ แตควรแสดงทาทีท่ีเขาใจเชน โอบกอดเด็ก จะทําใหเด็กร ูสึกผอนคลาย และผ ูใหญควรถามเพ่ือเปนการใหเด็กทบทวนอารมณของตนเอง เชน “หนรู ูตวัหรอืเปลาวากาํลังโกรธ” “หนรู ูสึกวาใครๆ ก็พากนัรักนองมากกวาหนูใชไหม”

1.2 มีนํ้าใจ ผ ูใหญควรสอนใหเด็กร ูจักแบงปนส่ิงของใหคนอื่น หรือกลาวชมเมื่อเด็กชวยเหลือผ ูอื่นทําส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ท้ังนี้เพ่ือประโยชนของตัวเด็กเองและการอย ูรวมกับคนอื่น

1.3 ร ูวาอะไรถกูอะไรผดิ เมือ่เดก็ทําผดิ เชน เดนิชนผ ูอืน่โดยไมไดตัง้ใจ ควรสอนเดก็ใหร ูจกักลาวคาํขอโทษ เพราะการเดนิชนผ ูอืน่อาจจะทําใหเขาเจบ็หรอืไมพอใจได การขอโทษทําใหผ ูอืน่ไมถือโทษโกรธเด็ก

2.1 กระตือรือรน/สนใจใฝร ู ผ ูใหญควรมีทาทีสนใจเมื่อเด็กมขีอสงสัยหรอืซักถาม เพราะเดก็วยันีม้กัมีความสนใจ อยากร ูอยากเห็นส่ิงแปลกใหมรอบตัว นอกจากนี ้ผ ูใหญควรสงเสริมใหเด็กร ูจักวิธีคนหาคาํตอบอยางงายท่ีสอดคลองกับวัยของเด็ก

2.2 ปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปล่ียนแปลงเด็กมักจะเกิดความหวั่นไหว ดังนั้น ผ ูใหญควรปลอบใจ ใหความมัน่ใจเดก็เพ่ือใหเดก็ร ูสึกอบอ ุนใจและปรบัตวัได นอกจากนี ้ผ ูใหญควรใหเดก็ไดพบปะคนอื่นๆ นอกบานบาง เชน พาไปเท่ียวบานญาติ บานเพ่ือน หรือเลนกับเพ่ือนนอกบานซึ่งจะทําใหเด็กไดเรียนร ูเกี่ยวกับการอย ูรวมกับคนอื่นหรือส่ิงแวดลอมรอบตัว

2.3 กลาพูดกลาบอก เมือ่เด็กบอกความร ูสึก หรือแสดงความคิดเห็น ผ ูใหญควรรบัฟงดวยความสนใจและถามเหตผุล ทาทีของผ ูใหญจะเปนการสนับสนนุใหเดก็มีความมัน่ใจในตนเอง และผ ูใหญก็จะเขาใจเด็กมากขึ้นดวย

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก) 7

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 107: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

3.1 มีความพอใจ ผ ูใหญควรสนับสนุนใหเดก็ทําอะไรดวยตนเองหรือแสดงความสามารถเฉพาะตัวเมื่อเด็กทําไดผ ูใหญควรกลาวชมเชย จะทําใหเด็กเกิดความภูมิใจและมีความสุข

3.2 อบอ ุนใจ เด็กทุกคนตองการใหผ ูใหญอย ูใกลชิด คอยปกปองและใหกาํลังใจ โดยเฉพาะเวลาเด็กเริ่มทําอะไรดวยตนเองเปนครั้งแรก เพราะจะทําใหเด็กร ูสึกอบอ ุนใจ ไมกังวล มีความมั่นคงทางอารมณ และกลาท่ีจะทําส่ิงตาง ๆ ดวยตนเองในระยะตอไป

3.3 สนุกสนานราเริง ผ ูใหญควรเปดโอกาสใหเดก็ไดเลน หรอืรวมสนกุสนานเฮฮากบัเพ่ือนเพราะเปนส่ิงท่ีจาํเปนตอชีวิตเด็ก ท้ังนี้พอแมอาจจะมีสวนชวยกระต ุนโดยการรวมกิจกรรมกับเด็ก ส่ิงเหลานีจ้ะเปนการฝกใหเด็กเปนคนอารมณด ีและเปนการชวยผอนคลายอารมณท่ีข ุนมวัท้ังหลายไดเปนอยางดี สําหรับเด็กท่ีมีทาทางหงอยเหงา ผ ูใหญไมควรละเลย แตควรสนับสนุนใหเด็กรวมในกจิกรรมท่ีสนุกสนานกบัผ ูอืน่

นอกจากแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณท่ีกลาวมาแลว หากสนใจรายละเอียดเพ่ิมเติมทานอาจจะหาความร ูไดจากค ูมือการพัฒนาความฉลาดทางอารมณเด็กอาย ุ3-11 ป ของกรมสุขภาพจิต

3. ดานสุข

ลิขสิทธิ์ของกรมสุขภาพจิตสํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับครู/ผ ูดูแลเด็ก)8

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 108: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

c

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 1

หมายถึง ความสามารถในการร ูจัก เขาใจและควบคุมอารมณของตนเองไดสอดคลองกับวัย มีการประพฤติปฏบิัติตนในการอย ูรวมกับผ ูอืน่อยางเหมาะสมและมีความสุข ความฉลาดทางอารมณเปนคุณลักษณะพ้ืนฐานสําคญัท่ีจะนาํไปส ูความเปนผ ูใหญ ท้ังความคิด อารมณ และพฤติกรรม

การประเมนิความฉลาดทางอารมณเดก็จะชวยใหพอแม ผ ูปกครอง ไดทราบถึงจดุดจีดุเดนของลักษณะความฉลาดทางอารมณท่ีควรสงเสริมและจุดออนท่ีควรพัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป รวมท้ังสามารถใชในการติดตามเพ่ือดูพัฒนาการทางอารมณวามีความกาวหนามากนอยเพียงใดเมื่ออายุเพ่ิมขึ้น

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็ก ประเมินคุณลักษณะ 3 ดาน คือ1. ดานด ีเปนความพรอมทางอารมณท่ีจะอย ูรวมกบัผ ูอื่น โดยประเมินจากการร ูจักอารมณ การมีน้าํใจ และ

การร ูวาอะไรถูกอะไรผิด2. ดานเกง คอืความพรอมท่ีจะพัฒนาตนไปส ูความสําเรจ็ โดยประเมนิจากความกระตอืรอืรน/สนใจใฝร ู การปรบั

ตวัตอการเปล่ียนแปลง และการกลาพูดกลาบอก3. ดานสุข คือความพรอมทางอารมณท่ีทําใหเกิดความสุข โดยประเมินจากการมีความพอใจ ความอบอ ุน

ใจ และความสนุกสนานราเริงความฉลาดทางอารมณ ประเมินไดโดยการตอบขอความท่ีเกีย่วของกบัอารมณ ความร ูสึกและพฤตกิรรมของเดก็

ท่ีแสดงออกในลักษณะตางๆ ในชวง 4 เดือนท่ีผานมา แมวาบางประโยคอาจจะไมตรงกับท่ีเดก็เปนอย ูกต็าม ขอใหทานเลือกคาํตอบท่ีใกลเคียงกับท่ีเด็กเปนอย ูจริงมากท่ีสุด การตอบตามความเปนจริงและตอบทุกขอจะทําใหทานไดร ูจักเด็กและหาแนวทางในการพัฒนาเดก็ใหดียิ่งขึ้นได

มีคําตอบท่ีเปนไปได 4 คําตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ังเปนประจํา การประเมนิใหใชความร ูสึกของผ ูประเมนิเปนหลัก แตกรณีท่ีไมแนใจใหใชเกณฑตอไปนีเ้ปนแนวทางในการประเมนิ

ไมเปนเลย หมายถึงไมเคยปรากฏเปนบางครั้ง หมายถึงนาน ๆ ครั้ง หรือทําบางไมทําบางเปนบอยครั้ง หมายถึงทําบอย ๆ หรือเกือบทุกครั้งเปนประจาํ หมายถึงทําทุกครั้งเมื่อเกิดสถานการณนั้น

การประเมินมีขอพึงระวังดังนี้1. ผ ูตอบแบบประเมินจะตองร ูจักหรือค ุนเคยกับเด็กเปนอยางดีไมนอยกวา 6 เดือน เพ่ือจะไดมีโอกาสใหขอมูล

เกี่ยวกับเด็กไดอยางละเอียดและถูกตอง2. ผ ูตอบแบบประเมิน ตองตอบตามท่ีเด็กเปนอย ูจริง3. ถาผ ูตอบมีความร ูต่าํกวา ป. 6 ควรใชวิธีการสัมภาษณโดยผ ูท่ีนาํแบบประเมินไปใช4. ไมควรนาํผลการประเมนิไปเปรียบเทียบกับเดก็อืน่ วากลาวตาํหนเิดก็ หรือใชเปนขอตดัสินในการคดัเลือกเดก็

ในโอกาสตางๆ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 109: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ขอความตอไปนี้เปนการอธิบายถึงอารมณ ความร ูสึกและพฤติกรรมของเด็กในชวง 4 เดือนท่ีผานมา โปรดใสเครื่องหมาย “ 3” ในชองท่ีทานคิดวาตรงกับตัวเด็กมากท่ีสุด มีคาํตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางครั้ง เปนบอยครั้ง เปนประจาํ

1. บอกความร ูสึกของตนเองไดเม่ือถูกถาม เชน ร ูสึกดีใจ เสียใจ โกรธ ไมชอบ ไมพอใจ2. มักโอบกอดหรือคลอเคลียคนที่ตนรัก3. ย้ิมแยมเม่ือเลนกับเพ่ือน4. แสดงความเห็นใจเม่ือเห็นเพ่ือนหรือผ ูอื่นทุกขรอน เชน บอกวาสงสาร เขาไป

ปลอบหรือเขาไปชวย5. หยุดการกระทําที่ไมดีเม่ือเห็นสีหนาไมพอใจของผ ูใหญ6. รองไหงอแงเวลาไปโรงเรียนหรือสถานที่ที่ไมอยากไป7. กลัวสิ่งที่อย ูในจินตนาการ เชน ผี สัตวประหลาด8. เอาแตใจตนเอง9. กลัวคนแปลกหนา

10. เต็มใจแบงปนสิ่งของใหคนอื่น ๆ เชน ขนม ของเลน11. ชวนคนอื่นใหเลนดวยกัน12. สงสาร ไมทํารายสัตว13. บอกผ ูใหญเม่ือเพ่ือนหรือคนในครอบครัวไมสบาย14. ใจดีกับเด็กที่เล็กกวา15. อาสาชวยผ ูอื่น เชน งานบาน เก็บของที่เกะกะ16. ไมชวยเหลือเม่ือไดรับการขอรอง

17. เชื่อฟงและทําตามที่ผ ูใหญตองการ18. บอกขอโทษหรือเขามาประจบเม่ือทําผิด19. ไมเลนของทีเ่ปนอนัตราย เชน ไมขีดไฟ ปลัก๊ไฟ มีด หลงัจากไดรบัการหามปรามจากผ ูใหญ20. ไหวขอบคุณเม่ือผ ูอืน่ใหของโดยผ ูใหญไมตองบอก21. ไหวหรือสวัสดีเม่ือพบผ ูใหญ22. บอกใหคอยก็ไมงอแง23. อดทนได รอคอยได ไมลงมือลงเทา24. เรยีกรองเอาแตใจตนเอง

25. ชางสังเกตและต้ังคําถามผ ูใหญถึงสิ่งตาง ๆ ที่ไดพบเห็น26. มักอยากร ูอยากเห็นกับของเลนหรือสิ่งแปลกใหม27. กลาซักถามหรือแสดงทาทีสนใจเม่ือมีขอสงสัย28. สนใจ ร ูสึกสนุกกับงานหรือกิจกรรมการเรียนร ูใหม ๆ29. ชอบเดินสํารวจเม่ืออย ูในสถานที่ใหม ๆ30. ต้ังใจฟงเม่ือผ ูใหญตอบเรื่องที่อยากร ู

31. รองไหเม่ือไปโรงเรียน32. เม่ือไมไดของเลนที่อยากไดก็สามารถเลนของอื่นแทน33. ยอมรับคําอธิบายเม่ือไมไดสิ่งที่ตองการ34. เขากับเด็กคนอื่น ๆ ไดงายเม่ือเริ่มร ูจักกัน35. หงดุหงิดเม่ือตองเปล่ียนแปลงจากสิ่งทีค่ ุนเคย36. ไมชอบไปในสถานที่ไมค ุนเคย เชน บานญาติ บานเพ่ือนของพอแม

รวมขอ 1-9

รวมขอ 10-16

รวมขอ 17-24

รวมขอ 25-30

รวมขอ 31-36

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง

เปนประจํา คะแนน

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)2

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 110: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

37. กลาบอกเรือ่งทีต่นเองทําผิดพลาดใหผ ูใหญฟง38. บอกผ ูใหญเม่ือทําของเสียหาย39. กลาปฏิเสธเม่ือผ ูใหญจะชวยเหลือเพราะเด็กอยากทําดวยตนเอง40. บอกความตองการของตนเองใหผ ูอื่นร ู41. บอกปฏิเสธเม่ือมีผ ูชวนเลนสิ่งที่ไมชอบ42. กลาพูด กลาคุย ทักทายตอบกลับผ ูอื่น

43. เม่ือไดรับคําชมเชย มักบอกเลาใหคนอื่นร ู44. ชวยเหลือตนเองมากขึ้นเม่ือไดรับคําชม45. ชอบเอาผลงานที่ทําเสร็จมาใหผ ูใหญดู46. พอใจที่ผ ูใหญชมวาเปนเด็กดี

47. ชวยเหลือตัวเองไดดีเม่ือผ ูใหญใหกําลังใจ48. ไมหวาดกลัวเม่ือตองอย ูกับคนที่ไมค ุนเคย49. ร ูจักเผื่อแผความรักใหคนอื่น เชน กอด ปลอบนองหรือเด็กที่เล็กกวา

50. รวมเลนสนุกสนานกับคนอื่น ๆ ได51. ร ูจกัคนหาของมาเลนเพ่ือสรางความสนุกสนานเพลิดเพลิน52. ถึงแมไมไดเลนก็สนกุกับการดูคนอื่นเลนได53. เม่ือเห็นคนอื่นเลนสนุกก็อยากเขาไปเลนสนุกดวย54. แสดงอารมณสนุกรวมตามไปกับสิ่งที่เห็น เชน รองเพลง กระโดดโลดเตน หัวเราะเฮฮา55. เก็บตัว ไมเลนสนุกสนานกับเด็กคนอื่น ๆ

รวมขอ 50-55

รวมขอ 37-42

รวมขอ 43-46

รวมขอ 47-49

แบงเปน 2 กล ุม ดังน้ีc

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง

เปนประจํา คะแนน

กล ุมท่ี 2 ใหคะแนนแตละขอดังน้ีไมเปนเลย ให 4 คะแนนเปนบางครัง้ ให 3 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 2 คะแนนเปนประจํา ให 1 คะแนน

กล ุมท่ี1 ใหคะแนนแตละขอดังน้ีไมเปนเลย ให 1 คะแนนเปนบางครัง้ ให 2 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 3 คะแนนเปนประจํา ให 4 คะแนน

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 3

กล ุมท่ี 2 ไดแกขอกล ุมท่ี 1 ไดแกขอ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 111: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

กราฟนีจ้ะทําใหทราบโดยสังเขปวาเดก็มรีะดับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณอย ูในระดับใด มคีวามจาํเปนตองพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ มากนอยเพียงใด

คะแนนท่ีอย ูในแถบ บงบอกวาเด็กมีความฉลาดทางอารมณอย ูในเกณฑท่ีดี ควรสงเสริมและรักษาคุณลักษณะนี้ใหคงไว

คะแนนท่ีอย ูในแถบ บงบอกวาเด็กควรไดรับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆใหดียิ่งขึ้น ผ ูใหญควรรวมกันสงเสริมใหเด็กพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ อยางตอเนื่อง

คะแนนท่ีอย ูต่ํากวาแถบ บงบอกวาเด็กจําเปนตองไดรับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ ใหดียิ่งขึ้น ผ ูใหญตองชวยกันเอาใจใสพัฒนาความฉลาดทางอารมณเด็กอยางจริงจังและสม่าํเสมอ

กลาวโดยสรุป หากคะแนนของเด็กแตกตางจากชวงคะแนนของเด็กสวนใหญท่ีไดจากการสํารวจ ไมวาคะแนนจะมากหรอืนอยกต็าม ผ ูใหญควรตระหนกัและสงเสริมใหเดก็ประพฤตปิฏบิตัใิหเหมาะสมตามแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณแตละดาน

คะแนนไดจากการสํารวจความฉลาดทางอารมณเด็กจํานวน 1,300 คน จากทั่วประเทศ ในป พ.ศ. 2545

ดาน 1.1 ร ูจกัอารมณ ขอ 1-9ดี 1.2 มีน้าํใจ ขอ 10-16

1.3 ร ูวาอะไรถูกอะไรผิด ขอ 17-24ดาน 2.1 กระตอืรอืรน/สนใจใฝร ู ขอ 25-30เกง 2.2 ปรบัตวัตอการเปลีย่นแปลง ขอ 31-36

2.3 กลาพดูกลาบอก ขอ 37-42ดาน 3.1 มีความพอใจ ขอ 43-46สุข 3.2 อบอ ุนใจ ขอ 47-49

3.3 สนกุสนานราเรงิ ขอ 50-55

เมื่อใหคะแนนครบทุกขอแลว ใหรวมคะแนนในแตละดานยอยท้ัง 9 ดาน แลวนาํคะแนนแตละดานมาใสในชองผลรวมของคะแนนในกราฟความฉลาดทางอารมณ หลังจากนัน้ใหนาํคะแนนท่ีไดไปทําเครือ่งหมาย 5ลงบนเสนประในกราฟความฉลาดทางอารมณแลวลากเสนเช่ือมระหวางเครื่องหมาย 5 ใหตอกัน แลวพิจารณาดูวามีคะแนนในดานใดท่ีสูงหรือต่าํกวาชวงคะแนนของเด็กสวนใหญ

องคประกอบ การรวม ผลรวมความฉลาดทางอารมณ คะแนน ของ

คะแนน

c

c

0 5 10 15 20 25 30 35

0 5 10 15 20 25 30 3525

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)4

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 112: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ผ ูใหญท่ีเกี่ยวของกับการดูแลเด็กควรทําส่ิงเหลานี้ใหสม่าํเสมอในชีวิตประจาํวันเพ่ือเสรมิสรางความฉลาดทางอารมณใหกับเด็ก

1.1 การร ูจักอารมณ เมื่อเด็กมีอารมณเกิดขึ้น เชน โกรธ โมโห ผ ูใหญควรชวยใหเด็กร ูจักอารมณของตนเองอันเปนพ้ืนฐานของการควบคุมอารมณไดในอนาคต โดยไมตําหนิเด็ก แตควรแสดงทาทีท่ีเขาใจ เชนโอบกอดเด็ก จะทําใหเด็กร ูสึกผอนคลาย และผ ูใหญควรถามเพ่ือเปนการใหเด็กทบทวนอารมณของตนเองเชน “หนูร ูตัวหรือเปลาวากาํลังโกรธ” “หนูร ูสึกวาใคร ๆ ก็พากันรักนองมากกวาหนูใชไหม”

1.2 มนํ้ีาใจ ผ ูใหญควรสอนใหเดก็ร ูจกัแบงปนส่ิงของใหคนอืน่ หรอืกลาวชมเมือ่เดก็ชวยเหลือผ ูอืน่ทําส่ิงใดส่ิงหนึง่ท้ังนี้เพ่ือประโยชนของตัวเด็กเองและการอย ูรวมกับคนอื่น

1.3 ร ูวาอะไรถูกอะไรผิด เมื่อเดก็ทําผดิ เชน เดินชนผ ูอื่นโดยไมไดตั้งใจ ควรสอนเด็กใหร ูจักกลาวคาํขอโทษเพราะการเดินชนผ ูอื่นอาจจะทําใหเขาเจ็บหรือไมพอใจได การขอโทษทําใหผ ูอื่นไมถือโทษโกรธเด็ก

2.1 กระตือรือรน/สนใจใฝร ู ผ ูใหญควรมีทาทีสนใจเมื่อเด็กมีขอสงสัยหรือซักถาม เพราะเด็กวัยนี้มักมีความสนใจ อยากร ูอยากเห็นส่ิงแปลกใหมรอบตัว นอกจากนี ้ผ ูใหญควรสงเสริมใหเด็กร ูจักวิธีคนหาคาํตอบอยางงายท่ีสอดคลองกับวัยของเด็ก

2.2 ปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการเปล่ียนแปลงเด็กมักจะเกิดความหวั่นไหว ดังนั้น ผ ูใหญควรปลอบใจ ใหความมั่นใจเดก็เพ่ือใหเดก็ร ูสึกอบอ ุนใจและปรับตัวได นอกจากนี ้ผ ูใหญควรใหเดก็ไดพบปะคนอืน่ๆนอกบานบาง เชน พาไปเท่ียวบานญาติ บานเพ่ือน หรือเลนกับเพ่ือนนอกบาน ซึ่งจะทําใหเด็กไดเรียนร ูเกี่ยวกับการอย ูรวมกับคนอื่นหรือส่ิงแวดลอมรอบตัว

2.3 กลาพูดกลาบอก เมือ่เดก็บอกความร ูสึก หรอืแสดงความคดิเห็น ผ ูใหญควรรับฟงดวยความสนใจ และถามเหตุผล ทาทีของผ ูใหญจะเปนการสนับสนุนใหเด็กมีความมั่นใจในตนเอง และผ ูใหญก็จะเขาใจเด็กมากขึ้นดวย

2. ดานเกง

c

1. ดานดี

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 5

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 113: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

3.1 มีความพอใจ ผ ูใหญควรสนับสนุนใหเดก็ทําอะไรดวยตนเองหรือแสดงความสามารถเฉพาะตัว เมื่อเดก็ทําไดผ ูใหญควรกลาวชมเชย จะทําใหเด็กเกิดความภูมิใจและมีความสุข

3.2 อบอ ุนใจ เดก็ทุกคนตองการใหผ ูใหญอย ูใกลชิด คอยปกปองและใหกาํลังใจ โดยเฉพาะเวลาเด็กเริม่ทําอะไรดวยตนเองเปนครั้งแรก เพราะจะทําใหเด็กร ูสึกอบอ ุนใจ ไมกังวล มีความมั่นคงทางอารมณ และกลาท่ีจะทําส่ิงตาง ๆ ดวยตนเองในระยะตอไป

3.3 สนุกสนานราเริง ผ ูใหญควรเปดโอกาสใหเด็กไดเลน หรือรวมสนุกสนานเฮฮากับเพ่ือนเพราะเปนส่ิงท่ีจาํเปนตอชีวติเดก็ ท้ังนีพ้อแมอาจจะมสีวนชวยกระต ุนโดยการรวมกจิกรรมกบัเด็ก ส่ิงเหลานีจ้ะเปนการฝกใหเด็กเปนคนอารมณด ีและเปนการชวยผอนคลายอารมณท่ีข ุนมวัท้ังหลายไดเปนอยางด ีสําหรบัเดก็ท่ีมทีาทางหงอยเหงาผ ูใหญไมควรละเลย แตควรสนับสนุนใหเด็กรวมในกิจกรรมท่ีสนุกสนานกับผ ูอื่น

3. ดานสุข

ลิขสิทธิ์ของกรมสุขภาพจิตสํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-5 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)6

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 114: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

c

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู) 1

หมายถึง ความสามารถในการร ูจัก เขาใจและควบคุมอารมณของตนเองไดสอดคลองกับวัย มีการประพฤติปฏิบัติตนในการอย ูรวมกับผ ูอื่นอยางเหมาะสมและมีความสุข ความฉลาดทางอารมณเปนคุณลักษณะพ้ืนฐานสําคัญท่ีจะนาํไปส ูความเปนผ ูใหญ ท้ังความคิด อารมณและพฤติกรรม

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กจะชวยใหครูไดทราบถึงจุดดีจุดเดนของลักษณะความฉลาดทางอารมณท่ีควรสงเสริมและจุดออนท่ีควรพัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป รวมท้ังสามารถใชในการติดตามเพ่ือดูพัฒนาการทางอารมณวามีความกาวหนามากนอยเพียงใดเมื่ออายุเพ่ิมขึ้น

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็ก ประเมินคุณลักษณะ 3 ดาน คือ1. ดานด ีเปนความพรอมทางอารมณท่ีจะอย ูรวมกบัผ ูอืน่ โดยประเมนิจากการควบคมุอารมณ การใสใจและ

เขาใจอารมณผ ูอื่น และการยอมรับผิด2. ดานเกง คอืความพรอมท่ีจะพัฒนาตนไปส ูความสําเรจ็ โดยประเมนิจากการม ุงมัน่พยายาม การปรบัตวั

ตอปญหา และการกลาแสดงออกอยางเหมาะสม3. ดานสุข คือความพรอมทางอารมณท่ีทําใหเกิดความสุข โดยประเมินจากการมีความพอใจในตนเอง

การร ูจักปรับใจ และความรื่นเริงเบิกบานความฉลาดทางอารมณ ประเมนิไดโดยการตอบขอความท่ีเกีย่วของกบัอารมณ ความร ูสึกและพฤตกิรรมของ

เดก็ท่ีแสดงออกในลักษณะตางๆ ในชวง 4 เดอืนท่ีผานมา แมวาบางประโยคอาจจะไมตรงกบัท่ีเดก็เปนอย ูกต็าม ขอใหทานเลือกคาํตอบท่ีใกลเคียงกบัท่ีเดก็เปนอย ูจรงิมากท่ีสุด การตอบตามความเปนจรงิและตอบทุกขอจะทําใหทานไดร ูจกัเด็กและหาแนวทางในการพัฒนาเด็กใหดียิ่งขึ้นได

มคีาํตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สําหรบัขอความแตละประโยคคอื ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ังเปนประจํา การประเมินใหใชความร ูสึกของผ ูประเมินเปนหลัก แตกรณีท่ีไมแนใจใหใชเกณฑตอไปนี้เปนแนวทางในการประเมิน

ไมเปนเลย หมายถึงไมเคยปรากฏเปนบางครั้ง หมายถึงนาน ๆ ครั้ง หรือทําบางไมทําบางเปนบอยครั้ง หมายถึงทําบอย ๆ หรือเกือบทุกครั้งเปนประจาํ หมายถึงทําทุกครั้งเมื่อเกิดสถานการณนั้น

การประเมินมีขอพึงระวังดังนี้1. ผ ูตอบแบบประเมินจะตองร ูจักหรือค ุนเคยกับเด็กเปนอยางดีไมนอยกวา 6 เดือน เพ่ือจะไดมีโอกาสให

ขอมูลเกี่ยวกับเด็กไดอยางละเอียดและถูกตอง2. ผ ูตอบแบบประเมิน ตองตอบตามท่ีเด็กเปนอย ูจริง3. ถาผ ูตอบมีความร ูต่าํกวา ป. 6 ควรใชวิธีการสัมภาษณโดยผ ูท่ีนาํแบบประเมินไปใช4. ไมควรนาํผลการประเมนิไปเปรยีบเทียบกบัเดก็อืน่ วากลาวตาํหนเิดก็ หรอืใชเปนขอตดัสินในการคดัเลือก

เด็กในโอกาสตางๆ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 115: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ขอความตอไปนี้ เปนการอธิบายถึงอารมณ ความร ูสึกและพฤติกรรมของเด็กในชวง 4 เดือนท่ีผานมาโปรดใสเคร่ืองหมาย “ 3” ในชองท่ีทานคดิวาตรงกบัตวัเดก็มากท่ีสดุ มคีาํตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สาํหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ัง เปนประจํา ไมเปน

เลยเปน

บางครัง้เปน

บอยครั้ง เปนประจํา คะแนน

1 ไมใชกําลังเวลาโกรธหรือไมพอใจ2 ร ูจกัรอคอยเม่ือยังไมถงึคราวหรอืเวลาของตน3 ยับย้ังที่จะทําอะไรตามอําเภอใจตนเอง4 ตองการอะไรตองไดทนัที5 เม่ือมีอารมณโกรธ ตองใชเวลานานกวาจะหายโกรธ6 หมกม ุนกับการเลนมากเกินไป7 ชี้แจงเหตุผลแทนการใชกําลัง

8 ชวยปกปอง ดูแล และชวยเหลือเด็กที่เล็กกวา9 เห็นอกเห็นใจเม่ือผ ูอื่นเดือดรอน

10 ใสใจหรือร ูวาใครชอบอะไร ไมชอบอะไร11 เปนที่พ่ึงไดเม่ือเพ่ือนตองการความชวยเหลือ12 ระมัดระวังที่จะไมทําใหผ ูอื่นเดือดรอนหรือเสียใจ13 ไมชวยเหลือหรือไมใหความรวมมือกับผ ูอื่น14 ร ูจกัใหกําลังใจผ ูอืน่15 ร ูจกัรับฟงผ ูอื่น16 ร ูจักแสดงความหวงใยผ ูอื่น

17 มักสารภาพเม่ือทําผิด18 ไมชอบแกลงเพ่ือน19 ยอมรับวาผิดเม่ือถูกถาม20 เม่ือทําผิด มักแกตัววาไมไดต้ังใจ21 ยอมรับกฎเกณฑ เชน ยอมรับการลงโทษเม่ือทําผิด22 ร ูจกัขอโทษ23 ยอมรับคําตําหนิหรือตักเตือนเม่ือทําผิด

24 มีความต้ังใจเม่ือทําสิ่งตางๆ ที่สนใจ25 มีสมาธิในการทํางาน เชน อานหนังสือไดนานๆ26 พยายามทํางานที่ยากใหสําเร็จไดดวยตนเอง เชน การบาน การฝมือ27 สนุกกับการแกปญหายากๆ หรือทาทาย เชน ปญหาการบาน

ของเลนที่แปลกๆ ใหมๆ28 เฉ่ือยชา ไมสนใจที่จะทํางานใหเสร็จ29 บนหรือตอรองวางานตางๆ ยากเกินกวาที่จะทําไดทั้งๆ ที่ยังไมไดลงมือทํา30 ทํางานตอไปจนเสร็จแมวาเพ่ือนๆ ไปเลนแลวก็ตาม

31 ไมทอใจเม่ือประสบกับความผิดหวัง32 หาทางตกลงกับเพ่ือนหรือเด็กคนอื่นเม่ือเกิดขดัแยงกัน33 ไมเอะอะโวยวายเม่ือพบปญหาหรือความย ุงยาก34 ร ูจักรอจังหวะหรือรอคอยเวลาที่เหมาะสมในการแกปญหา35 เม่ือมีปญหา จะคิดหาวิธีแกหลายๆ ทาง36 รวมกิจกรรมที่ตนไมชอบ หรือไมถนัดกับผ ูอื่นได

รวมขอ 1-7

รวมขอ 8-16

รวมขอ 17-23

รวมขอ 24-30

รวมขอ 31-36

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู)2

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 116: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

37 ทักทายหรือทําความร ูจักกับเพ่ือนใหม38 กลาแสดงความสามารถทีมี่อย ูตอหนาคนหม ูมาก39 กลาซักถามขอสงสัย40 เม่ือถูกถาม ใชวิธีนิ่งเฉย แทนการตอบวาไมร ู41 มักจะใชขออางเม่ือไมกลาทําอะไร42 ไมกลาออกความเห็นเม่ืออย ูกับผ ูอื่น

43 เลาถึงความสาํเรจ็ของตนเองใหผ ูใหญฟง44 ไมอายในสิ่งที่ตนมีอย ู เชน ฐานะบาน อาชีพของพอแม รูปรางหนาตา

ความสามารถของตนเอง ฯลฯ45 ภูมิใจที่ตนเองมีจุดดีหรือความสามารถพิเศษบางอยาง เชน เรียนเกง

เลนกีฬาเกง เลนดนตรีได46 ภูมิใจที่ไดรับความไววางใจจากผ ูใหญ เชน ดูแลนอง ดูแลสัตวเล้ียง

ชวยเหลืองานผ ูใหญ47 นอยใจงาย48 ร ูสึกนอยเนื้อตํ่าใจที่ส ูคนอื่นไมได

49 พอใจกับผลการเรียนที่ได แมจะไมดีเดนมากนัก50 เม่ือไมไดสิ่งทีต่องการก็ร ูจกัยอมรับสิง่ทดแทนอยางอืน่ได51 แมเกมหรือกีฬาแพก็ไมเสียใจนาน52 แมเปนสิ่งที่ไมจําเปนก็เรียกรองที่จะเอาใหไดตามที่ตองการ53 หงุดหงิดอย ูนานเม่ือไมไดด่ังใจ54 เม่ือทําอะไรไมไดตามตองการจะผิดหวังมาก เชน บน คร่ําครวญ หรือซึม

55 มีอารมณขัน56 เลนสนุกสนานหรือลอกันเลนสนุกๆ ได57 เม่ืออย ูคนเดียวก็ร ูจักหาสิ่งมาทําใหตัวเองเพลิดเพลินได58 ร ูจักผอนคลายอารมณดวยการดูหนัง ฟงเพลง เลนสนุก วาดรูป

พูดคุยกับเพ่ือน59 เปนคนแจมใส ย้ิมงาย หัวเราะงาย60 สนุกกับการแขงขันแมจะร ูวาไมชนะ

รวมขอ 37-42

รวมขอ 43-48

รวมขอ 49-54

รวมขอ 55-60

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง เปนประจํา คะแนน

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู) 3

กล ุมที่ 1 ไดแกขอ

กล ุมที่ 2 ไดแกขอ

c

กล ุมที่ 1 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 1 คะแนนเปนบางครัง้ ให 2 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 3 คะแนนเปนประจํา ให 4 คะแนน

กล ุมที่ 2 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 4 คะแนนเปนบางครัง้ ให 3 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 2 คะแนนเปนประจํา ให 1 คะแนน

แบงเปน 2 กล ุม ดังนี้

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 117: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู)4

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 118: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู) 5

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 119: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

3 คะแนน4 คะแนน5 คะแนน6 คะแนน 22 11 11 7 97 คะแนน 10 13 13 25 14 14 10 128 คะแนน 13 15 16 27 17 17 14 159 คะแนน 16 15 18 18 30 20 20 17 18

10 คะแนน 19 17 20 20 33 23 23 20 2111 คะแนน 22 19 23 23 35 26 26 23 2412 คะแนน 25 21 25 25 38 29 29 27 2613 คะแนน 28 22 28 27 41 32 32 30 2914 คะแนน 31 24 30 30 43 35 35 33 3215 คะแนน 34 26 33 32 46 38 38 36 3516 คะแนน 37 28 35 34 49 41 41 40 3817 คะแนน 40 30 38 37 51 44 44 43 4118 คะแนน 43 32 40 39 54 47 48 46 4319 คะแนน 46 34 43 41 57 50 51 49 4620 คะแนน 48 36 45 44 59 53 54 53 4921 คะแนน 51 38 48 46 62 56 57 56 5222 คะแนน 54 40 50 48 64 59 60 59 5523 คะแนน 57 42 53 51 67 62 63 63 5824 คะแนน 60 44 55 53 70 65 66 66 6025 คะแนน 63 45 58 5526 คะแนน 66 47 60 5827 คะแนน 69 49 63 6028 คะแนน 72 51 65 6229 คะแนน 5330 คะแนน 5531 คะแนน 5732 คะแนน 5933 คะแนน 6134 คะแนน 6335 คะแนน 6536 คะแนน 67

คะแนนดิบท่ีได

ดี เกง สุข1.1

ควบคุมอารมณ

1.2ใสใจและเขาใจอารมณผ ูอืน่

1.3ยอมรับผิด

2.1ม ุงม่ันพยายาม

2.2ปรับตัวตอปญหา

2.3กลาแสดงออก

3.1 พอใจในตนเอง

3.2ร ูจักปรับใจ

3.3ร่ืนเริงเบิกบาน

ตารางเปรียบเทียบคะแนนท่ีได กบัเกณฑปกตคิะแนนที (T-Score Norms) ของความฉลาดทางอารมณในแตละดาน ของเด็กอายุ 6-11 ป ฉบับครู

* คาคะแนนไดจากการสํารวจความฉลาดทางอารมณเด็กจํานวน 1,300 คน ทั่วประเทศในป พ.ศ. 2545

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู)6

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 120: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

1. ดานดี

ผ ูใหญท่ีเกี่ยวของกับการดูแลเด็กควรทําส่ิงเหลานี้ใหสม่าํเสมอในชีวิตประจําวันเพ่ือเสรมิสรางความฉลาดทางอารมณใหกับเด็ก

1.1 ควบคุมอารมณ ผ ูใหญควรสอนเด็กวาอารมณท่ีไมดี เชน โกรธ ไมพอใจนั้น เปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นไดแตตองร ูจักควบคุมเพราะหากไมควบคุมจะเกิดผลเสียติดตามมา เชน โกรธแลวทํารายคนอื่นหรือทําลายขาวของ ผ ูใ หญควรสอนใหเด็กร ูจั กควบคุมอารมณตนเอง เมื่อเด็กตองเผชิญสถานการณท่ีทําใหเกดิอารมณนั้น ใหเดก็ร ูจกัชะลอความพล ุงพลาน โดยหันไปสนใจเรือ่งอืน่ หรอืนับ 1-10 หากเด็กควบคุมอารมณของตนเองได ผ ูใหญควรชมเชยวาเปนคนเกงเพ่ือใหเดก็ภูมิใจท่ีควบคุมตนเองได ถาในสถานการณนั้นเด็กยังควบคุมอารมณตนเองไมได ใหเด็กเดินเล่ียงไปกอน หลังจากนั้นใหเด็กร ูจักระบายอารมณในทางท่ีเหมาะสม เชน เตะบอล วิ่งรอบบาน เปนตน

1.2 ใสใจและเขาใจอารมณผ ูอื่น ผ ูใหญควรฝกใหเด็กร ูจักรับฟงผ ูอื่น และกลาวใหกาํลังใจหรือปลอบใจผ ูอืน่เวลาท่ีเขาไมสบายใจ เพราะการรบัฟงผ ูอืน่จะทําใหร ูวาผ ูอืน่คดิอยางไร เขาใจคนอืน่มากขึน้มีเพ่ือนมากขึน้ เหมอืนกบัการผูกมติรตองผูกท่ีใจ

1.3 ยอมรับผิด เมื่อเดก็ทําผดิ ผ ูใหญควรบอกเด็กวาเด็กทําอะไรผดิ ทําใหเกิดความเสียหายอยางไรใหโอกาสเด็กช้ีแจงเหตผุล สวนเกณฑในการลงโทษเปนเรือ่งท่ีตกลงกันวาจะยอมรับโทษมากนอยเพียงใด แตท้ังนี้ควรพยายามหลีกเล่ียงการลงโทษดวยการเฆี่ยนตี เชน อาจลงโทษโดยการตัดคาขนม งดออกไปเลนนอกบานกับเพ่ือนช่ัวคราว งดดูรายการทีวีหรือเลนเกม เปนตน ถาเด็กยังไมร ูสํานกึ อาจใชการตเีตอืนใหร ูวาส่ิงท่ีทํานัน้ไมถูกตอง เปนการหยุดพฤติกรรม แตไมใชการตเีพ่ือระบายความโกรธหรือเสียหนาของผ ูใหญ

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู) 7

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 121: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

2. ดานเกง

3. ดานสุข

2.1 ม ุงมั่นพยายาม ผ ูใหญควรสอนใหเด็กมีความม ุงมั่นในการทําส่ิงใดส่ิงหนึ่งใหนานขึ้นและทําใหสําเรจ็ เชน การอานหนงัสือ หรือการทําการบาน โดยอาจพูดวา “ตั้งใจอานนะลูก” หรอื “ทําใหสําเรจ็นะลูก” หรือสอนใหเด็กใหกาํลังใจตนเอง เชน “เกือบจะเสร็จแลว” “ทนอีกนิด” เปนตนท้ังนีก้็เพ่ือเปนการฝกใหเด็กมีสมาธิอย ูกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งใหนานขึ้นและทําจนสําเรจ็

2.2 ปรับตัวตอปญหา การฝกใหเด็กแกไขปญหาจะทําใหเด็กพ่ึงตนเองได ผ ูใหญควรใหเด็กมีประสบการณในการแกไขปญหาดวยตนเอง สอนวาการแกไขปญหาเปนเรื่องทาทาย หัดใหเด็กหาสาเหตุของปญหา หาทางออกของปญหาหลายๆ ทาง และเลือกทางออกท่ีมีผลเสียตอตนเองและผ ูอื่นนอยท่ีสุด

2.3 กลาแสดงออกอยางเหมาะสม ผ ูใหญควรเปดโอกาสใหเดก็พูดถึงความร ูสึกและความคดิเห็นหรอืความสามารถของตนเอง กระต ุนหรือสนับสนุนเมื่อเด็กมีทาทีตองการการแสดงออกและความช่ืนชม จะทําใหเด็กมีความมั่นใจและมีความเปนตัวของตัวเองมากขึ้น

3.1 พอใจในตนเอง ผ ูใหญควรยกยองชมเชยเมื่อเด็กทําส่ิงตางๆ ไดสําเรจ็ เพ่ือใหเด็กร ูสึกภูมิใจวาตนเองมีความสามารถและร ูสึกมีคุณคา หากเด็กร ูสึกวาตนเองมีปมดอย ส ูคนอื่นไมได ผ ูใหญควรใหกาํลังใจวาแตละคนมคีวามสามารถเฉพาะตวัแตกตางกนัไป ไมมีใครท่ีเกงเหมอืนกับคนอืน่หมดทุกอยาง เชนหนมูคีวามสามารถเดนในเรื่อง......หนูควรภูมิใจในความสามารถท่ีหนูมีอย ู

3.2 ร ูจักปรับใจ ผ ูใหญควรสอนใหเด็กร ูจักปรับใจ โดยเมื่อเด็กร ูสึกผิดหวัง ผ ูใหญควรตั้งคาํถามเพ่ือใหเดก็ทําความเขาใจกับปญหา ไดคิดและร ูจักทําใจบาง เชน ถามวา ถาไมไดเกมกดแลวเสียอะไรบาง ถาเสียความสนกุสนานจะหาความสนุกสนานจากส่ิงอืน่ทดแทนไดหรือไม หรอือาจจะใหเดก็ร ูจักชะลอเวลาท่ีจะไดส่ิงท่ีตองการ เชน ใหสะสมเงินคาขนมเพ่ือซื้อของเลน เปนตน

3.3 ร่ืนเริงเบิกบาน เวลาท่ีเดก็อารมณไมด ีผ ูใหญควรแนะนาํใหเด็กร ูจกัผอนคลายอารมณของตนเองเชน อานการตูนขาํขัน ดูหนงัหรือฟงเพลงท่ีสนุกครึกครื้น วาดรูป พูดคุยหรือเลนสนุกสนานกับเพ่ือน เปนตน หรือพอแมอาจหาส่ิงท่ีเด็กชอบเลนแลวสนุกสนาน ใหทําในยามวางเพ่ือความสุขรวมกัน

นอกจากแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณท่ีกลาวมาแลว หากสนใจรายละเอียดเพ่ิมเติมทานอาจจะหาความร ูไดจากค ูมือพัฒนาความฉลาดทางอารมณเด็กอาย ุ3-11ป ของกรมสุขภาพจิต

ลิขสิทธิ์ของกรมสุขภาพจิตสํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับครู)8

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 122: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

c

หมายถึง ความสามารถในการร ูจัก เขาใจและควบคุมอารมณของตนเองไดสอดคลองกับวัย มีการประพฤติปฏิบตัิตนในการอย ูรวมกับผ ูอืน่อยางเหมาะสมและมีความสุข ความฉลาดทางอารมณเปนคุณลักษณะพ้ืนฐานสําคัญท่ีจะนาํไปส ูความเปนผ ูใหญ ท้ังความคิด อารมณและพฤติกรรม

การประเมินความฉลาดทางอารมณเดก็จะชวยใหพอแม ผ ูปกครอง ไดทราบถึงจุดดจีดุเดนของลักษณะความฉลาดทางอารมณท่ีควรสงเสริมและจุดออนท่ีควรพัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป รวมท้ังสามารถใชในการติดตามเพ่ือดูพัฒนาการทางอารมณวามีความกาวหนามากนอยเพียงใดเมื่ออายุเพ่ิมขึ้น

การประเมินความฉลาดทางอารมณเด็ก ประเมินคุณลักษณะ 3 ดาน คือ1. ดานด ี เปนความพรอมทางอารมณท่ีจะอย ูรวมกับผ ูอื่น โดยประเมินจากการควบคุมอารมณ การใสใจและ

เขาใจอารมณผ ูอื่น และการยอมรับผิด2. ดานเกง คือความพรอมท่ีจะพัฒนาตนไปส ูความสําเร็จ โดยประเมินจากการม ุงมั่นพยายาม การปรับตัว

ตอปญหา และการกลาแสดงออกอยางเหมาะสม3. ดานสุข คือความพรอมทางอารมณท่ีทําใหเกดิความสุข โดยประเมินจากการมคีวามพอใจในตนเอง การร ูจัก

ปรับใจ และความรื่นเริงเบิกบานความฉลาดทางอารมณ ประเมินไดโดยการตอบขอความท่ีเกีย่วของกับอารมณ ความร ูสึกและพฤติกรรมของเด็ก

ท่ีแสดงออกในลักษณะตางๆ ในชวง 4 เดือนท่ีผานมา แมวาบางประโยคอาจจะไมตรงกบัท่ีเดก็เปนอย ูกต็าม ขอใหทานเลือกคาํตอบท่ีใกลเคยีงกบัท่ีเดก็เปนอย ูจริงมากท่ีสุด การตอบตามความเปนจรงิและตอบทุกขอจะทําใหทานไดร ูจกัเดก็และหาแนวทางในการพัฒนาเด็กใหดียิง่ขึ้นได

มีคําตอบท่ีเปนไปได 4 คาํตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางคร้ัง เปนบอยคร้ังเปนประจํา การประเมนิใหใชความร ูสึกของผ ูประเมนิเปนหลัก แตกรณีท่ีไมแนใจใหใชเกณฑตอไปนีเ้ปนแนวทางในการประเมนิ

ไมเปนเลย หมายถึงไมเคยปรากฏเปนบางครั้ง หมายถึงนาน ๆ ครั้ง หรือทําบางไมทําบางเปนบอยครั้ง หมายถึงทําบอย ๆ หรือเกือบทุกครั้งเปนประจาํ หมายถึงทําทุกครั้งเมื่อเกิดสถานการณนั้น

การประเมินมีขอพึงระวังดังนี้1. ผ ูตอบแบบประเมินจะตองร ูจักหรือค ุนเคยกับเด็กเปนอยางดีไมนอยกวา 6 เดือน เพ่ือจะไดมีโอกาสใหขอมูล

เกี่ยวกับเด็กไดอยางละเอียดและถูกตอง2. ผ ูตอบแบบประเมิน ตองตอบตามท่ีเด็กเปนอย ูจริง3. ถาผ ูตอบมีความร ูต่าํกวา ป. 6 ควรใชวิธีการสัมภาษณโดยผ ูท่ีนาํแบบประเมินไปใช4. ไมควรนาํผลการประเมนิไปเปรยีบเทียบกับเด็กอื่น วากลาวตาํหนิเดก็ หรือใชเปนขอตดัสินในการคดัเลือกเดก็

ในโอกาสตางๆ

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 1

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 123: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง

ขอความตอไปนี้เปนการอธิบายถึงอารมณ ความร ูสึกและพฤติกรรมของเด็กในชวง 4 เดือนที่ผานมา โปรดใสเครื่องหมาย “ 3”ในชองที่ทานคิดวาตรงกับตัวเด็กมากที่สุด มีคําตอบที่เปนไปได 4 คําตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมเปนเลย เปนบางครั้งเปนบอยครั้ง เปนประจํา

1 ไมใชกําลังเวลาโกรธหรือไมพอใจ2 ร ูจกัรอคอยเม่ือยังไมถงึคราวหรอืเวลาของตน3 ยับย้ังที่จะทําอะไรตามอําเภอใจตนเอง4 ตองการอะไรตองไดทนัที5 เม่ือมีอารมณโกรธ ตองใชเวลานานกวาจะหายโกรธ6 หมกม ุนกับการเลนมากเกินไป7 ชี้แจงเหตุผลแทนการใชกําลัง

8 ชวยปกปอง ดูแล และชวยเหลือเด็กที่เล็กกวา9 เห็นอกเห็นใจเม่ือผ ูอื่นเดือดรอน

10 ใสใจหรือร ูวาใครชอบอะไร ไมชอบอะไร11 เปนที่พ่ึงไดเม่ือเพ่ือนตองการความชวยเหลือ12 ระมัดระวังที่จะไมทําใหผ ูอื่นเดือดรอนหรือเสียใจ13 ไมชวยเหลือหรือไมใหความรวมมือกับผ ูอื่น14 ร ูจกัใหกําลังใจผ ูอืน่15 ร ูจกัรับฟงผ ูอื่น16 ร ูจักแสดงความหวงใยผ ูอื่น

17 มักสารภาพเม่ือทําผิด18 ไมชอบแกลงเพ่ือน19 ยอมรับวาผิดเม่ือถูกถาม20 เม่ือทําผิด มักแกตัววาไมไดต้ังใจ21 ยอมรับกฎเกณฑ เชน ยอมรับการลงโทษเม่ือทําผิด22 ร ูจกัขอโทษ23 ยอมรับคําตําหนิหรือตักเตือนเม่ือทําผิด

24 มีความต้ังใจเม่ือทําสิ่งตาง ๆ ที่สนใจ25 มีสมาธิในการทํางาน เชน อานหนังสือไดนาน ๆ26 พยายามทํางานที่ยากใหสําเร็จไดดวยตนเอง เชน การบาน การฝมือ27 สนุกกับการแกปญหายาก ๆ หรือทาทาย เชน ปญหาการบาน

ของเลนที่แปลก ๆ ใหม ๆ28 เฉ่ือยชา ไมสนใจที่จะทํางานใหเสร็จ29 บนหรือตอรองวางานตาง ๆ ยากเกินกวาที่จะทําไดทั้ง ๆ ที่ยังไมไดลงมือทํา30 ทํางานตอไปจนเสร็จแมวาเพ่ือน ๆ ไปเลนแลวก็ตาม

31 ไมทอใจเม่ือประสบกับความผิดหวัง32 หาทางตกลงกับเพ่ือนหรือเด็กคนอื่นเม่ือเกิดขดัแยงกัน33 ไมเอะอะโวยวายเม่ือพบปญหาหรือความย ุงยาก34 ร ูจักรอจังหวะหรือรอคอยเวลาที่เหมาะสมในการแกปญหา35 เม่ือมีปญหา จะคิดหาวิธีแกหลายๆ ทาง36 รวมกิจกรรมที่ตนไมชอบ หรือไมถนัดกับผ ูอื่นได

รวมขอ 1-7

รวมขอ 8-16

รวมขอ 17-23

รวมขอ 24-30

รวมขอ 31-36

เปนประจํา คะแนน

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)2PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 124: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

รวมขอ 43-48

ไมเปนเลย

เปนบางครัง้

เปนบอยครั้ง

เปนประจํา คะแนน

รวมขอ 49-54

กล ุมที่ 1 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 1 คะแนนเปนบางครัง้ ให 2 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 3 คะแนนเปนประจํา ให 4 คะแนน

กล ุมที่ 2 ใหคะแนนแตละขอดังนี้ไมเปนเลย ให 4 คะแนนเปนบางครัง้ ให 3 คะแนนเปนบอยครั้ง ให 2 คะแนนเปนประจํา ให 1 คะแนน

37 ทักทายหรือทําความร ูจักกับเพ่ือนใหม38 กลาแสดงความสามารถทีมี่อย ูตอหนาคนหม ูมาก39 กลาซักถามขอสงสัย40 เม่ือถูกถาม ใชวิธีนิ่งเฉย แทนการตอบวาไมร ู41 มักจะใชขออางเม่ือไมกลาทําอะไร42 ไมกลาออกความเห็นเม่ืออย ูกับผ ูอื่น

43 เลาถึงความสาํเร็จของตนเองใหผ ูใหญฟง44 ไมอายในสิ่งที่ตนมีอย ู เชน ฐานะบาน อาชีพของพอแม รูปรางหนาตา

ความสามารถของตนเอง ฯลฯ45 ภูมิใจที่ตนเองมีจุดดีหรือความสามารถพิเศษบางอยาง เชน เรียนเกง เลนกีฬาเกง

เลนดนตรีได46 ภูมิใจที่ไดรับความไววางใจจากผ ูใหญ เชน ดูแลนอง ดูแลสัตวเล้ียง ชวยเหลืองานผ ูใหญ47 นอยใจงาย48 ร ูสึกนอยเนื้อตํ่าใจที่ส ูคนอื่นไมได

49 พอใจกับผลการเรียนที่ได แมจะไมดีเดนมากนัก50 เม่ือไมไดสิ่งทีต่องการก็ร ูจกัยอมรับสิง่ทดแทนอยางอืน่ได51 แมเกมหรือกีฬาแพก็ไมเสียใจนาน52 แมเปนสิ่งที่ไมจําเปนก็เรียกรองที่จะเอาใหไดตามที่ตองการ53 หงุดหงิดอย ูนานเม่ือไมไดด่ังใจ54 เม่ือทําอะไรไมไดตามตองการจะผิดหวังมาก เชน บน คร่ําครวญ หรือซึม

55 มีอารมณขัน56 เลนสนุกสนานหรือลอกันเลนสนุก ๆ ได57 เม่ืออย ูคนเดียวก็ร ูจักหาสิ่งมาทําใหตัวเองเพลิดเพลินได58 ร ูจักผอนคลายอารมณดวยการดูหนัง ฟงเพลง เลนสนุก วาดรูป พูดคุยกับเพ่ือน59 เปนคนแจมใส ย้ิมงาย หัวเราะงาย60 สนุกกับการแขงขันแมจะร ูวาไมชนะ

รวมขอ 37-42

รวมขอ 55-60

แบงเปน 2 กล ุม ดังน้ี

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 3

กล ุมที่ 2 ไดแกขอกล ุมที่ 1 ไดแกขอ

c

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 125: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

กราฟนีจ้ะทําใหทราบโดยสังเขปวาเดก็มรีะดับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณอย ูในระดับใด มคีวามจาํเปนตองพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ มากนอยเพียงใด

คะแนนท่ีอย ูในแถบ บงบอกวาเด็กมีความฉลาดทางอารมณอย ูในเกณฑท่ีดี ควรสงเสริมและรักษาคุณลักษณะนี้ใหคงไว

คะแนนท่ีอย ูในแถบ บงบอกวาเด็กควรไดรับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆใหดียิ่งขึ้น ผ ูใหญควรรวมกันสงเสริมใหเด็กพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ อยางตอเนื่อง

คะแนนท่ีอย ูต่าํกวาแถบ บงบอกวาเด็กจําเปนตองไดรับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้นๆ ใหดียิ่งขึ้น ผ ูใหญตองชวยกันเอาใจใสพัฒนาความฉลาดทางอารมณเด็กอยางจริงจังและสม่าํเสมอ

กลาวโดยสรุป หากคะแนนของเด็กแตกตางจากชวงคะแนนของเด็กสวนใหญท่ีไดจากการสํารวจ ไมวาเด็กจะไดคะแนนมากหรือนอยกวาก็ตาม พอแมควรตระหนักถึงการสงเสริมใหเด็กประพฤติปฏิบัติตนใหเหมาะสมตามแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณแตละดาน

เมื่อใหคะแนนครบทุกขอแลว ใหรวมคะแนนในแตละดานยอยท้ัง 9 ดาน แลวนาํคะแนนแตละดานมาใสในชองผลรวมของคะแนนในกราฟความฉลาดทางอารมณ หลังจากนั้นใหนาํคะแนนท่ีไดไปทําเครือ่งหมาย 5ลงบนเสนประในกราฟความฉลาดทางอารมณแลวลากเสนเช่ือมระหวางเครือ่งหมาย 5 ใหตอกนั แลวพิจารณาดูวามีคะแนนในดานใดท่ีสูงหรือต่าํกวาชวงคะแนนของเด็กสวนใหญ

c

c

คะแนนไดจากการสํารวจความฉลาดทางอารมณในเด็กจํานวน 1,300 คน จากทั่วประเทศ ในป พ.ศ. 2545

ดาน 1.1ควบคุมอารมณ ขอ 1-7ดี 1.2 ใสใจและเขาใจอารมณผ ูอื่น ขอ 8-16

1.3 ยอมรับผิด ขอ 17-23ดาน 2.1ม ุงม่ันพยายาม ขอ 24-30เกง 2.2ปรับตัวตอปญหา ขอ 31-36

2.3กลาแสดงออกอยางเหมาะสม ขอ 37-42ดาน 3.1พอใจในตนเอง ขอ 43-48สุข 3.2 ร ูจักปรับใจ ขอ 49-54

3.3 ร่ืนเริงเบิกบาน ขอ 55-60

องคประกอบ การรวม ผลรวมความฉลาดทางอารมณ คะแนน ของ

คะแนน

0 5 10 15 20 25 30 35

0 5 10 15 20 25 30 3525

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)4

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 126: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

1. ดานดี

2. ดานเกง

ผ ูใหญท่ีเกีย่วของกบัการดแูลเดก็ควรทําส่ิงเหลานีใ้หสม่าํเสมอในชวีติประจาํวนัเพ่ือเสริมสรางความฉลาดทางอารมณใหกบัเดก็

1.1 ควบคุมอารมณ ผ ูใหญควรสอนเด็กวาอารมณท่ีไมดี เชน โกรธ ไมพอใจนั้น เปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนได แตตองร ูจักควบคุมเพราะหากไมควบคุมจะเกิดผลเสียติดตามมา เชน โกรธแลวทํารายคนอืน่ หรือทําลายขาวของ ผ ูใหญควรสอนใหเดก็ร ูจกัควบคมุอารมณตนเอง เมือ่เดก็ตองเผชญิสถานการณท่ีทําใหเกิดอารมณนัน้ ใหเดก็ร ูจกัชะลอความพล ุงพลาน โดยหันไปสนใจเร่ืองอืน่หรือนับ 1-10 หากเด็กควบคุมอารมณของตนเองได ผ ูใหญควรชมเชยวาเปนคนเกงเพ่ือใหเด็กภูมิใจท่ีควบคมุตนเองได ถาในสถานการณนั้นเด็กยงัควบคุมอารมณตนเองไมได ใหเด็กเดินเล่ียงไปกอน หลังจากนั้นใหเด็กร ูจักระบายอารมณในทางท่ีเหมาะสม เชน เตะบอล วิ่งรอบบาน เปนตน

1.2 ใสใจและเขาใจอารมณผ ูอื่น ผ ูใหญควรฝกใหเด็กร ูจักรับฟงผ ูอื่น และกลาวใหกําลังใจหรือปลอบใจผ ูอืน่เวลาท่ีเขาไมสบายใจ เพราะการรับฟงผ ูอืน่จะทําใหร ูวาผ ูอืน่คดิอยางไร เขาใจคนอืน่มากข้ึน มีเพ่ือนมากข้ึน เหมอืนกบัการผกูมิตรตองผกูท่ีใจ

1.3 ยอมรับผิด เมื่อเด็กทําผิด ผ ูใหญควรบอกเด็กวาเด็กทําอะไรผิด ทําใหเกิดความเสียหายอยางไร ใหโอกาสเด็กชี้แจงเหตุผล สวนเกณฑในการลงโทษเปนเร่ืองท่ีตกลงกันวาจะยอมรับโทษมากนอยเพียงใด แตท้ังนี้ควรพยายามหลีกเล่ียงการลงโทษดวยการเฆ่ียนตี เชน อาจลงโทษโดยการตัดคาขนม งดออกไปเลนนอกบานกับเพ่ือนชั่วคราว งดดูรายการทีวีหรือเลนเกม เปนตน ถาเด็กยังไมร ูสํานึก อาจใชการตีเตือนใหร ูวาส่ิงท่ีทํานั้นไมถูกตอง เปนการหยดุพฤตกิรรม แตไมใชการตเีพ่ือระบายความโกรธหรือเสียหนาของผ ูใหญ

2.1 ม ุงม่ันพยายาม ผ ูใหญควรสอนใหเดก็มคีวามม ุงมัน่ในการทําส่ิงใดส่ิงหนึง่ใหนานข้ึนและทําใหสําเร็จ เชน การอานหนงัสือหรือการทําการบาน โดยอาจพูดวา “ตัง้ใจอานนะลูก” หรือ “ทําใหสําเร็จนะลูก” หรือสอนใหเด็กใหกําลังใจตัวเอง เชน “เกือบจะเสร็จแลว” “ทนอีกนิด”เปนตน ท้ังนี้ก็เพ่ือเปนการฝกใหเด็กมีสมาธิอย ูกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งใหนานข้ึนและทําจนสําเร็จ

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง) 5

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 127: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

2.2 ปรับตัวตอปญหา การฝกใหเด็กแกไขปญหาจะทําใหเด็กพ่ึงตนเองได ผ ูใหญควรใหเด็กมีประสบการณในการแกไขปญหาดวยตนเอง สอนวาการแกไขปญหาเปนเร่ืองทาทาย หัดใหเด็กหาสาเหตุของปญหา หาทางออกของปญหาหลายๆ ทาง และเลือกทางออกท่ีมีผลเสียตอตนเองและผ ูอืน่นอยท่ีสุด

2.3 กลาแสดงออกอยางเหมาะสม ผ ูใหญควรเปดโอกาสใหเดก็พูดถึงความร ูสึกและความคดิเห็นหรือความสามารถของตนเอง กระต ุนหรือสนบัสนนุเมือ่เดก็มทีาทีตองการการแสดงออกและความชืน่ชม จะทําใหเดก็มคีวามมัน่ใจและมคีวามเปนตวัของตวัเองมากข้ึน

3.1 พอใจในตนเอง ผ ูใหญควรยกยองชมเชยเมื่อเด็กทําส่ิงตางๆ ไดสําเร็จ เพ่ือใหเด็กร ูสึกภูมิใจวา ตนเองมคีวามสามารถและร ูสึกมคีณุคา หากเดก็ร ูสึกวาตนเองมปีมดอย ส ูคนอืน่ไมได ผ ูใหญควรใหกําลังใจวาแตละคนมีความสามารถเฉพาะตัวแตกตางกันไป ไมมีใครท่ีเกงเหมือนกับคนอืน่หมดทุกอยาง อยางเชนหนมูคีวามสามารถเดนในเร่ือง......หนคูวรภูมใิจในความสามารถท่ีหนมูีอย ู

3.2 ร ูจักปรับใจ ผ ูใหญควรสอนใหเด็กร ูจักปรับใจ โดยเมื่อเด็กร ูสึกผิดหวัง ผ ูใหญควรตั้งคําถามเพ่ือใหเดก็ทําความเขาใจกับปญหา ไดคดิ และร ูจักทําใจบาง เชน ถามวา ถาไมไดเกมกดแลวเสียอะไรบาง ถาเสียความสนุกสนานจะหาความสนุกสนานจากส่ิงอืน่ทดแทนไดหรือไม หรืออาจจะใหเด็กร ูจักชะลอเวลาท่ีจะไดส่ิงท่ีตองการ เชน ใหสะสมเงินคาขนมเพ่ือซื้อของเลนเปนตน

3.3 ร่ืนเริงเบิกบาน เวลาท่ีเด็กอารมณไมดี ผ ูใหญควรแนะนําใหเด็กร ูจักผอนคลายอารมณของตนเอง เชน อานการตูนขําขัน ดูหนังหรือฟงเพลงท่ีสนุกครึกคร้ืน วาดรูป พูดคุยหรือเลนสนุกสนานกับเพ่ือน เปนตน หรือพอแมอาจหาส่ิงท่ีเด็กชอบเลนแลวสนุกสนาน ใหทําในยามวางเพ่ือความสุขรวมกนั

นอกจากแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณท่ีกลาวมาแลว หากสนใจรายละเอียดเพ่ิมเติม ทานอาจจะหาความร ูไดจากค ูมือพัฒนาความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 3-11 ปของกรมสุขภาพจิต

3. ดานสุข

ลิขสิทธิ์ของกรมสุขภาพจิตสํานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณเด็กอายุ 6-11 ป (สําหรับพอแม/ผ ูปกครอง)6

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 128: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

c

คือ ความสามารถทางอารมณในการดาํเนนิชีวิตอยางสรางสรรคและมีความสุข

การร ูจักความฉลาดทางอารมณของตนเองเพ่ือการพัฒนาและการใชศักยภาพตนเองในการดําเนินชีวิตครอบครัว การทํางานและการอย ูรวมกับผ ูอื่นไดอยางมีความสุขและประสบความสําเรจ็

กรมสุขภาพจิตไดตระหนักถึงความสําคัญของความฉลาดทางอารมณ จึงไดสรางแบบประเมินสําหรับประชาชนเพ่ือใชประเมินตนเอง

แบบประเมินนี้เปนประโยคท่ีมีขอความเกี่ยวของกับอารมณและความร ูสึกท่ีแสดงออกในลักษณะตาง ๆแมวาบางประโยคอาจไมตรงกบัท่ีทานเปนอย ูก็ตาม ขอใหทานเลือกคาํตอบท่ีตรงกับตัวทานมากท่ีสุด ไมมีคาํตอบท่ีถูกหรือผิด ดีหรือไมดี

c

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับวัยร ุน (อาย ุ12-17 ป) 1

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 129: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับวัยร ุน (อาย ุ12-17 ป)2

1 เวลาโกรธหรือไมสบายใจ ฉันรับร ูไดวาเกิดอะไรขึ้นกับฉัน2 ฉันบอกไมไดวาอะไรทําใหฉันร ูสึกโกรธ3 เมื่อถูกขัดใจ ฉันมักร ูสึกหงุดหงิดจนควบคุมอารมณไมได4 ฉันสามารถคอยเพ่ือใหบรรลุเปาหมายท่ีพอใจ5 ฉันมักมีปฏิกิริยาโตตอบรุนแรงตอปญหาเพียงเล็กนอย6 เมื่อถูกบังคับใหทําในสิ่งท่ีไมชอบ ฉันจะอธิบายเหตุผลจนผ ูอ่ืนยอมรับได

7 ฉันสังเกตได เมื่อคนใกลชิดมีอารมณเปลี่ยนแปลง8 ฉันไมสนใจกับความทุกขของผ ูอ่ืนท่ีฉันไมร ูจัก9 ฉันไมยอมรับในสิ่งท่ีผ ูอ่ืนทําตางจากท่ีฉันคิด

10 ฉันยอมรับไดวาผ ูอ่ืนก็อาจมีเหตุผลท่ีจะไมพอใจการกระทําของฉัน11 ฉันร ูสึกวาผ ูอ่ืนชอบเรียกรองความสนใจมากเกินไป12 แมจะมีภาระท่ีตองทํา ฉันก็ยินดีรับฟงความทุกขของผ ูอ่ืนท่ีตองการความชวยเหลือ

13 เปนเร่ืองธรรมดาท่ีจะเอาเปรียบผ ูอ่ืนเมื่อมีโอกาส14 ฉันเห็นคุณคาในน้ําใจท่ีผ ูอ่ืนมีตอฉัน15 เมื่อทําผิด ฉันสามารถกลาวคํา “ขอโทษ” ผ ูอ่ืนได16 ฉันยอมรับขอผิดพลาดของผ ูอ่ืนไดยาก17 ถึงแมจะตองเสียประโยชนสวนตัวไปบาง ฉันก็ยินดีท่ีจะทําเพ่ือสวนรวม18 ฉันร ูสึกสําบากใจในการทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพ่ือผ ูอ่ืน

19 ฉันไมร ูวาฉันเกงเร่ืองอะไร20 แมจะเปนงานยาก ฉันก็มั่นใจวาสามารถทําได21 เมื่อทําสิ่งใดไมสําเร็จ ฉันร ูสึกหมดกําลังใจ22 ฉันร ูสึกมีคุณคาเมื่อไดทําสิ่งตาง ๆ อยางเต็มความสามารถ23 เมื่อตองเผชิญกับอุปสรรคและความผิดหวัง ฉันก็จะไมยอมแพ24 เมื่อเร่ิมทําสิ่งหนึ่งสิ่งใด ฉันมักทําตอไปไมสําเร็จ

25 ฉันพยายามหาสาเหตุท่ีแทจริงของปญหาโดยไมคิดเอาเองตามใจชอบ26 บอยคร้ังท่ีฉันไมร ูวาอะไรทําใหฉันไมมีความสุข27 ฉันร ูสึกวาการตัดสินใจแกปญหาเปนเร่ืองยากสําหรับฉัน28 เมื่อตองทําอะไรหลายอยางในเวลาเดียวกัน ฉันตัดสินใจไดวาจะทําอะไรกอนหลัง29 ฉันลําบากใจเมื่อตองอย ูกับคนแปลกหนาหรือคนท่ีไมค ุนเคย30 ฉันทนไมไดเมื่อตองอย ูในสังคมท่ีมีกฎระเบียบขัดกับความเคยชินของฉัน

รวม

รวม

รวม

รวม

โปรดตอบตามความเปนจริงและตอบทุกขอ เพื่อทานจะไดร ูจักตนเองและวางแผนพัฒนาตนตอไปมีคําตอบ 4 คําตอบ สําหรับขอความแตละประโยคคือ ไมจริง จริงบางคร้ัง คอนขางจริง จริงมาก

โปรดใสเคื่องหมาย 3 ในชองท่ีทานคิดวาตรงกับตัวทานมากท่ีสุด

รวม

ไมจริง จริงบางครั้ง

คอนขางจริง จริงมาก คะแนน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 130: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับวัยร ุน (อาย ุ12-17 ป) 3

c

31 ฉันทําความร ูจักผ ูอ่ืนไดงาย32 ฉันมีเพ่ือนสนิทหลายคนท่ีคบกันมานาน33 ฉันไมกลาบอกความตองการของฉันใหผ ูอ่ืนร ู34 ฉันทําในสิ่งท่ีตองการโดยไมทําใหผ ูอ่ืนเดือดรอน35 เปนการยากสําหรับฉันท่ีจะโตแยงกับผ ูอ่ืน แมจะมีเหตุผลเพียงพอ36 เมื่อไมเห็นดวยกับผ ูอ่ืน ฉันสามารถอธิบายเหตุผลท่ีเขายอมรับได

37 ฉันร ูสึกดอยกวาผ ูอ่ืน38 ฉันทําหนาท่ีไดดี ไมวาจะอย ูในบทบาทใด39 ฉันสามารถทํางานท่ีไดรับมอบหมายไดดีท่ีสุด40 ฉันไมมั่นใจในการทํางานท่ียากลําบาก

41 แมสถานการณจะเลวราย ฉันก็มีความหวังวาจะดีขึ้น42 ทุกปญหามักมีทางออกเสมอ43 เมื่อมีเร่ืองท่ีทําใหเครียด ฉันมักปรับเปลี่ยนใหเปนเร่ืองผอนคลายหรือสนุกสนานได44 ฉันสนุกสนานทุกคร้ังกับกิจกรรมในวันสุดสัปดาหและวันหยุดพักผอน45 ฉันร ูสึกไมพอใจท่ีผ ูอ่ืนไดรับสิ่งดี ๆ มากกวาฉัน46 ฉันพอใจกับสิ่งท่ีเปนอย ู

47 ฉันไมร ูวาจะหาอะไรทํา เมื่อร ูสึกเบ่ือหนาย48 เมื่อวางเวนจากภาระหนาท่ี ฉันจะทําในสิ่งท่ีฉันชอบ49 เมื่อร ูสึกไมสบายใจ ฉันมีวิธีผอนคลายอารมณได50 ฉันสามารถผอนคลายตนเองได แมจะเหน็ดเหนื่อยจากภาระหนาท่ี51 ฉันไมสามารถทําใจใหเปนสุขไดจนกวาจะไดทุกสิ่งท่ีตองการ52 ฉันมักทุกขรอนกับเร่ืองเล็ก ๆ นอย ๆ ท่ีเกิดขึ้นเสมอ

รวม

รวม

รวม

รวม

แบงเปน 2 กล ุม ในการใหคะแนนดังตอไปนี้

กล ุมที่ 1 ไดแกขอ

กล ุมที่ 2 ไดแกขอ

แตละขอใหคะแนนดังตอไปน้ีตอบไมจริง ให 1 คะแนนตอบจริงบางคร้ัง ให 2 คะแนนตอบคอนขางจริง ให 3 คะแนนตอบจริงมาก ให 4 คะแนน

แตละขอใหคะแนนดังตอไปน้ีตอบไมจริง ให 4 คะแนนตอบจริงบางคร้ัง ให 3 คะแนนตอบคอนขางจริง ให 2 คะแนนตอบจริงมาก ให 1 คะแนน

ไมจริง จริงบางครั้ง

คอนขางจริง จริงมาก คะแนน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 131: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับวัยร ุน (อาย ุ12-17 ป)4

c

c0 5 10 15 20

1.1 ควบคุมตนเอง ชวงคะแนนปกติ = 13-181.2 เห็นใจผ ูอ่ืน ชวงคะแนนปกติ = 16-211.3 รับผิดชอบ ชวงคะแนนปกติ = 17-222.1 มีแรงจูงใจ ชวงคะแนนปกติ = 15-202.2 ตัดสินใจและแกปญหา ชวงคะแนนปกติ = 14-192.3 สัมพันธภาพ ชวงคะแนนปกติ = 15-203.1 ภูมิใจตนเอง ชวงคะแนนปกติ = 9-133.2 พอใจชีวิต ชวงคะแนนปกติ = 16-223.3 สุขสงบทางใจ ชวงคะแนนปกติ = 15-21

หมายเหตุ หมายถึง ชวงคะแนนปกติ

25

ดานดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณและความตองการของตนเอง ร ูจักเห็นใจผ ูอื่นและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม

ดานเกง หมายถึง ความสามารถในการร ูจกัตนเอง มแีรงจงูใจ สามารถตดัสินใจแกปญหาและแสดงออกไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังมีสัมพันธภาพท่ีดีกับผ ูอื่น

ดานสุข หมายถึง ความสามารถในการดาํเนนิชีวิตอยางเปนสุข

ดาน ดานยอย การรวมคะแนน ผลรวมของคะแนน1.1 ควบคุมตนเอง รวมขอ 1 ถึงขอ 6

ดี 1.2 เห็นใจผ ูอืน่ รวมขอ 7 ถึงขอ 121.3 รับผิดชอบ รวมขอ 13 ถึงขอ 182.1 มแีรงจงูใจ รวมขอ 19 ถึงขอ 24

เกง 2.2 ตัดสินใจและแกปญหา รวมขอ 25 ถึงขอ 302.3 สัมพันธภาพ รวมขอ 31 ถึงขอ 363.1 ภูมิใจตนเอง รวมขอ 37 ถึงขอ 40

สุข 3.2 พอใจชีวิต รวมขอ 41 ถึงขอ 463.3 สุขสงบทางใจ รวมขอ 47 ถึงขอ 52

หลังจากรวมคะแนนแตละดานเสรจ็แลว นาํคะแนนท่ีไดไปทําเครือ่งหมายลงบนเสนประในกราฟความฉลาดทางอารมณและลากเสนใหตอกัน แลวพิจารณาดูวามีคะแนนใดท่ีสูงหรอืต่าํกวาชวงคะแนนปกติ

ผลท่ีไดเปนเพียงการประเมินโดยสังเขป คะแนนท่ีไดต่ํากวาชวงคะแนนปกติ ไมไดหมายความวาทานมีความผิดปกติในดานนั้น เพราะดานตาง ๆ เหลานี้เปนส่ิงท่ีมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ดังนั้น คะแนนท่ีไดต่าํจึงเปนขอเตือนใจใหทานหาแนวทางในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณในดานนั้น ๆ ใหมากยิ่งขึ้น

สําหรับรายละเอียดและแนวทางการพัฒนาความฉลาดทางอารมณมีอย ูในหนังสืออีคิว : ความฉลาดทางอารมณ หรอืค ูมอืความฉลาดทางอารมณ (สําหรบัประชาชน) ของกรมสุขภาพจติ รวมท้ังทานสามารถเขารวมกจิกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณท่ีทางกรมสุขภาพจิตหรือหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของจัดขึ้น

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 132: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับผ ูใหญ (อาย ุ18-60 ป) 1

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 133: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับผ ูใหญ (อาย ุ18-60 ป)2

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 134: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับผ ูใหญ (อาย ุ18-60 ป) 3

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 135: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

แบบประเมินความฉลาดทางอารมณสําหรับผ ูใหญ (อาย ุ18-60 ป)4

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 136: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

l ทศพร ประเสริฐสขุ (2543). ความเฉลยีวฉลาดทางอารมณกบัการศกึษา. รวมบทความทางวชิาการ EQ.กรุงเทพฯ : DESKTOP.

l นันทนา วงษอินทร (2543). การพัฒนาอารมณ. รวมบทความทางวิชาการ EQ.กรุงเทพฯ : DESKTOP.

l นนัทา ส ูรักษา (2543). การใช EQ กบัตนเอง ครอบครัวและการทํางาน. รวมบทความ ทางวชิาการ EQ.กรุงเทพฯ : DESKTOP.

l วิลาสลักษณ ชัววัลล ี(2543). การพัฒนาสติปญญาทางอารมณเพื่อความสําเร็จในการทํางาน.รวมบทความทางวิชาการ EQ.กรุงเทพฯ : DESKTOP.

l วีระวัฒน ปนนิตามัย (2542). เชาวนอารมณ (EQ) ดัชนีวัดความสุขและความสําเร็จของชีวิต.กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด.

l อรพินทร ชูชม (2543). สถานภาพการวัด EQ. รวมบทความทางวิชาการ EQ.กรุงเทพฯ : DESKTOP.

l Golemen, deniel (1995). Schooling the Emotions. Emotional IntelligenceA Bantam Book

àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 137: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

นพ.สุจริต สุวรรณชีพ ทีป่รึกษากรมสุขภาพจติทีป่รึกษาคณะทํางาน

ผศ.เกียรติคุณ สมทรง สุวรรณเลิศ ทีป่รึกษาสํานกัพฒันาสุขภาพจติทีป่รึกษาคณะทํางาน

นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ์ ผ ูอํานวยการสํานกัพฒันาสุขภาพจติทีป่รึกษาคณะทํางาน

พญ.พรรณพิมล หลอตระกูล สํานักพฒันาสุขภาพจติประธานคณะทํางาน

นางเสาวลักษณ สุวรรณไมตรี สํานักพฒันาสุขภาพจติคณะทํางาน

นางวีณา อินทรียงค ศนูยสุขวิทยาจติคณะทํางาน

นางขวัญทิพย สุขมาก รพ. ศรีธัญญาคณะทํางาน

นางสาวสุจิตรา อุสาหะ รพ. สมเดจ็เจาพระยาคณะทํางาน

นางสาวอําไพ ทองเงิน รพ. ยวุประสาทไวทโยปถมัภ คณะทํางาน

นางสาวปราณ ี ชาญณรงค คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรคณะทํางาน

นางสาวกาญจนา วณชิรมณยี สํานักพฒันาสุขภาพจติคณะทํางานและเลขานุการ

นางวนิดา ชนินทยุทธวงศ สํานักพฒันาสุขภาพจติคณะทํางานและผ ูชวยเลขานกุาร

k k k k k

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 138: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Page 139: PDF created with pdfFactory Pro trial version …mhc7.go.th/uploads/files/EQ.pdfPDF created with pdfFactory Pro trial version จากสภาพปญ หาพฤต กรรมของคนในส

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com