patient at risk ผู ป...

2
จัดทําโดย โครงการจัดตั้งภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ใหพิจารณาเลือก imaging Modality อื่นกอน โดยพิจารณา รวมกันระหวาง แพทยผูดูแล รังสีแพทย และ/หรืออายุรแพทย โรคไต - ถาจําเปนตองทําจริงๆ ให consult อายุรแพทยกอนการทํา เพื่อเตรียมตัวผูปวยกอนการตรวจดังนี ให IV volume expander ตาม protocol ดังตอไปนี NSS 100 ml/hr IV หรือ oral 12 ชั่วโมงกอนและหลังการ ตรวจ Prophylactic Medication (optional) ไดแก N-acetylcysteine ตามดุลยพินิจของแพทยผูดูแลและอายุรแพทย โดยแนะนําให 600 mg oral หรือIVที่ 24 และ 12 ชั่วโมงกอน และหลังการตรวจ เลือกใช ICM ชนิด Iso-osmolar หรือ Low-osmolar หยุดการใหยาที่มีพิษตอไตทุกชนิด Manitol และ Loop diuretic 24 ชั่วโมงกอนการตรวจ ใหสงตรวจ serum creatinine ที่ 48 ชั่วโมงหลังการตรวจทุกราย เพื่อติดตามผลการทํางานของไต คณะผูจัดขอขอบคุณ รศ.นพ. อดิศว ทัศณรงค หนวยโรคไต สาขาอายุรศาสตร สําหรับความคิดเห็น และคําแนะนําเรื่อง Contrast Induced Nephropathy (CIN) Guideline on Iodinated Contrast Media Patient at Risk eGFR < 60 ml/min/1.73 m 2 No Risk eGFR > 60 ml/min/1.73 m 2 ตรวจไดตามปกติ เอกสารอางอิง 1. Manual on Contrast Media, version 7, 2010. Americal College of Radiology. 2. ASCI CCT & CMR Guideline Working Group, Jinzaki M, Kitagawa K, Tsai IC, Chan C, Yu W, Yong HS, Choi BW. ASCI 2010 contrast media guideline for cardiac imaging: a report of the Asian Society of Cardiovascular Imaging cardiac computed tomography and cardiac magnetic resonance imaging guideline working group. Int J Cardiovasc Imaging. 2010 Dec;26(Suppl 2):203-12. 3. แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคไตเรื้อรัง กอนการบําบัดทดแทนไต พ.ศ. 2552. สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย. 4. Goldfarb S, McCullough PA, McDermott J, Gay SB. Contrast-induced acute kidney injury: specialty- specific protocols for interventional radiology, diagnostic computed tomography radiology, and interventional cardiology. Mayo Clin Proc. 2009 Feb;84(2):170-9. 5. Thomsen HS, Morcos SK. Risk of contrast-medium-induced nephropathy in high-risk patients undergo- ing MDCT--a pooled analysis of two randomized trials. Eur Radiol. 2009 Apr;19(4):891-7. 6. ESUR Guidelines on contrast media, version 7.0, 2008. European Society of Urogenital Radiology. 7. Benko A, Fraser-Hill M, Magner P, Capusten B, Barrett B, Myers A, Owen RJ; Canadian Association of Radiologists. Canadian Association of Radiologists: consensus guidelines for the prevention of contrast-induced nephropathy. Can Assoc Radiol J. 2007 Apr;58(2):79-87. ผูปวยที่มารับการตรวจทางรังสีวิทยา ที่ตองไดรับการฉีดสาร Iodinated Contrast Media (ICM) สูตรสําหรับคํานวณหา eGFR (ml/min/1.73 m 2 ) eGFR = 186.3 x SCr -1.154 x Age -0.203 x 0.742 (if female)

Upload: others

Post on 21-May-2022

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Patient at Risk ผู ป วยที่มารับการตรวจทางรังสีวิทยา ที่ต

จัดทําโดย โครงการจัดต้ังภาควิชารังสีวิทยา

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

- ใหพิจารณาเลือก imaging Modality อื่นกอน โดยพิจารณารวมกันระหวาง แพทยผูดูแล รังสีแพทย และ/หรืออายุรแพทยโรคไต

- ถาจําเปนตองทําจริงๆ ให consult อายุรแพทยกอนการทํา เพื่อเตรียมตัวผูปวยกอนการตรวจดังนี้

ให IV volume expander ตาม protocol ดังตอไปนี้ NSS 100 ml/hr IV หรือ oral 12 ช่ัวโมงกอนและหลังการตรวจ Prophylactic Medication (optional) ไดแก N-acetylcysteine

ตามดุลยพินิจของแพทยผูดูแลและอายุรแพทย โดยแนะนําให 600 mg oral หรือIVที่ 24 และ 12 ช่ัวโมงกอนและหลังการตรวจ เลือกใช ICM ชนิด Iso-osmolar หรือ Low-osmolar หยุดการใหยาที่มีพิษตอไตทุกชนิด Manitol และ Loop diuretic

24 ช่ัวโมงกอนการตรวจ ใหสงตรวจ serum creatinine ที่ 48 ช่ัวโมงหลังการตรวจทุกราย

เพื่อติดตามผลการทํางานของไต

คณะผูจัดขอขอบคุณ รศ.นพ. อดิศว ทัศณรงค หนวยโรคไต สาขาอายุรศาสตร สําหรับความคิดเห็น และคําแนะนําเร่ือง Contrast Induced Nephropathy (CIN)

GuidelineonIodinatedContrastMedia

Patient at Risk eGFR < 60 ml/min/1.73 m2

No Risk eGFR > 60 ml/min/1.73 m2

ตรวจไดตามปกต ิ

เอกสารอางอิง 1. Manual on Contrast Media, version 7, 2010. Americal College of Radiology. 2. ASCI CCT & CMR Guideline Working Group, Jinzaki M, Kitagawa K, Tsai IC, Chan C, Yu W, Yong HS,

Choi BW. ASCI 2010 contrast media guideline for cardiac imaging: a report of the Asian Society of Cardiovascular Imaging cardiac computed tomography and cardiac magnetic resonance imaging guideline working group. Int J Cardiovasc Imaging. 2010 Dec;26(Suppl 2):203-12.

3. แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคไตเรื้อรัง กอนการบําบัดทดแทนไต พ.ศ. 2552. สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย. 4. Goldfarb S, McCullough PA, McDermott J, Gay SB. Contrast-induced acute kidney injury: specialty-

specific protocols for interventional radiology, diagnostic computed tomography radiology, and interventional cardiology. Mayo Clin Proc. 2009 Feb;84(2):170-9.

5. Thomsen HS, Morcos SK. Risk of contrast-medium-induced nephropathy in high-risk patients undergo-ing MDCT--a pooled analysis of two randomized trials. Eur Radiol. 2009 Apr;19(4):891-7.

6. ESUR Guidelines on contrast media, version 7.0, 2008. European Society of Urogenital Radiology. 7. Benko A, Fraser-Hill M, Magner P, Capusten B, Barrett B, Myers A, Owen RJ; Canadian Association of

Radiologists. Canadian Association of Radiologists: consensus guidelines for the prevention of contrast-induced nephropathy. Can Assoc Radiol J. 2007 Apr;58(2):79-87.

ผูปวยท่ีมารับการตรวจทางรังสีวิทยา ท่ีตองไดรับการฉีดสาร Iodinated

Contrast Media (ICM)

สูตรสําหรับคํานวณหา eGFR (ml/min/1.73 m2) eGFR = 186.3 x SCr-1.154 x Age-0.203 x 0.742 (if female)

Page 2: Patient at Risk ผู ป วยที่มารับการตรวจทางรังสีวิทยา ที่ต

ผูปวยท่ีมารับการตรวจทางรังสีวิทยา ท่ีตองไดรับการฉีดสาร

Iodinated Contrast Media (ICM)

ผูปวยท่ีมารับการตรวจทางรังสีวิทยา ท่ีตองไดรับการฉีดสาร

Iodinated Contrast Media (ICM)

ผูปวยฉุกเฉิน (Emergency case) ใหพิจารณาเปนรายๆไป รวมกับแพทยผูดูแลผูปวย ตามแนวทางดังตอไปนี้ - กรณีที่ผูปวยมีภาวะ life threatening ตองรับการรักษา

อยางเรงดวน และพิจารณาแลววาการฉีด ICM มีประโยชนตอการรักษา อาจพิจารณาใหทําการตรวจไดเลยโดยไมตองรอผล Cr

- กรณีที่ผูปวยไมมีภาวะ life threatening และไมไดเปนโรคไต หรือ เบาหวาน และอายุ < 40 ป ใหรอผล Cr หรือยอมรับผล Cr ไมเกิน 7 วัน

- กรณีที่ผูปวยไมมีภาวะ life threatening สําหรับผูปวยที่เปนโรคไต หรือ เบาหวาน หรืออายุ > 40 ป ใหรอผล Cr หรือยอมรับผล Cr ไมเกิน 1 วัน

สูตรสําหรับ Premedication ในผูท่ีมีความเส่ียงตอการเกิด adverse reaction กรณีผูปวยนัด (Elective case) รับประทาน Prednisone 30 mg ท่ี 12 ช่ัวโมง และ 2 ช่ัวโมง กอนการฉีด ICM สําหรับผูปวยฉุกเฉินใหพิจารณาเปนรายๆไป

1.ถาผูปวยมีประวัติแพสารทึบรังสีขั้นรุนแรง ท่ีทําใหถึงชีวิต ไมควร ใชสารทึบรังสี

และใหทํา ตรวจดวยวิธีอื่น 2. ถาผูปวยมีประวัติแพสารทึบรังสีระดับนอยถึงปานกลาง ใหพิจารณาการตรวจดวย

วิธีอื่นกอน แตถามีความจําเปนจะตองใชสารทึบรังสี ใหเตรียมผูปวยกอนทําการตรวจ

ผูปวยไทรอยดเปนพิษท่ียังไมไดรับการรักษา หรือไดรับยาเพื่อควบคุมอาการ หรือยังควบคุมอาการไดไมดี ใหปรึกษาอายุรแพทยโรค

ตอมไรทอ เพื่อทําการรักษา และควบคุมอาการใหดีกอน ในกรณีฉุกเฉิน มีความจําเปนตองทําการตรวจ ใหปรึกษาอายุรแพทย โรคตอมไรทอเพื่อเตรียมตัวผูปวยกอน

การฉีดสารทึบรังสี

ผูปวยเบาหวานท่ีรับประทานยา Metformin ใหทําการหยุดยา 48 ชั่วโมง กอนทําการตรวจ และพิจารณาใหรับประทานยาใหมอีกคร้ังเมื่อผล Cr

กลับมาเปนปกติ หรือเทาเดิมกอนการฉีดสารทึบรังสี หรือ ไมปล่ียนแปลง เปนเวลา 48 ชั่วโมง

ผูปวยมีความเส่ียงตอการเกิด Contrast Induced Nephropathy (CIN) ใหดู

แนวทางใน Flow Chart ถัดไป

ใหซักประวัติผูปวยตาม Check lists ในแบบสอบถามของภาควิชารังสีวิทยา เพ่ือประเมินความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ จากการฉีดสาร ICM โดยให 1. แพทยประจําบาน พยาบาล หรือผูชวย พยาบาลเปนผูซักประวัติ สําหรับผูปวยในเวลา 2. แพทยประจําบาน หรือ นักรังสีเทคนิคที่อยูเวร นอกวลาราชการเปนผูซัก ประวัติ สําหรับผูปวยนอก เวลา

ผูปวยนัด (Elective case) ตองมีผล Cr ทุกราย เพ่ือนํามาคํานวณคา eGFR

- สําหรับผูปวยที่ไมไดเปนโรคไต หรือเบาหวาน และอายุ < 40 ป ยอมรับผล Cr ไมเกิน 30 วัน - สําหรับผูปวยที่เปนโรคไต หรือ เบาหวาน หรืออายุ > 40 ป ยอมรับผล Cr ไมเกิน 7 วัน