pat2 bio57

15
PAT2 ÁÕ.¤. 57 แนวข้อสอบ OnDemand

Upload: review-wlp

Post on 24-May-2015

4.351 views

Category:

Education


1 download

DESCRIPTION

ตัวอย่าง pat2 bio57

TRANSCRIPT

Page 1: pat2 bio57

PAT2 ÁÕ.¤. 5

7

PAT2 ÁÕ.¤. 5

7แนวข้อ

สอบ

OnDem

and

Page 2: pat2 bio57

OnDem

and

Page 3: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

3

2. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการชราภาพของเซลล์

1. การเกิดมิวเทชันของ DNA

2. ท�าให้สัตว์มีอายุขัยจ�ากัด

3. เซลล์มีการสร้างอนุมูลอิสระลดลง

4. เซลล์มีการสังเคราะห์โปรตีนและ ATP ลดลง

แนวขอสอบ PAT2 มี.ค. 57

OnDem

and

Page 4: pat2 bio57

4

OnDem

and

Page 5: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

5

13. การแก่งแย่งแข่งขันของสิ่งมีชีวิตสองชนิดที่รุนแรงที่สุดเกิดขึ้นในกรณีใด

1. สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดกินเนื้อเหมือนกัน

2. สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดอยู่ในล�าดับขั้นการกินอาหารเดียวกัน

3. ผู้ล่าคอยควบคุมสิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดอย่างสม�่าเสมอ

4. สิ่งมีชีวิตทั้งสองชนิดต้องการปัจจัยต่างๆ ในการด�ารงชีวิตเหมือนกัน

OnDem

and

Page 6: pat2 bio57

6

I2 ความสัมพันธ์ในระบบนเิวÈ

การแข่งขัน (competitive) (-/-) = สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่าย (ชนดิเดียวกัน/ ต่างชนดิ) ต่างแก่งแย่งปัจจัยบางอย่างที่มีอยู่อย่างจ�ากัด ผักตบชวาแข่งขันกันแพร่พันธุ์ในสระน�้า นกพิราบและนกเขาแย่งกันกินอาหารภาวะปรสิต (parasitism) (+/-) = สิ่งมีชีวิตชนดิหนึง่อาÈัยอยู่กับสิ่งมีชีวิตอีกชนดิหนึง่ โดยผู้อาÈัยได้รับประโยชน์จากผู้ถูกอาÈัยที่เสียประโยชน์ พยาธิ ใบไม้ในตับของคน กาฝากกับต้นไม้ใหญ่ พยาธิตัวตืดในทางเดินอาหารของสัตว์ เห็บกับสุนัข ทาก/ เหาดูดเลือดคน ¿าจกับแบคทีเรีย หนอนผีเสื้อกับต้นไม้ที่เป็นอาหาร การวางไข่ ในรังนกตัวอื่นของนกกาเหว่า (ปรสิตสังคม)ภาวะล่าเหยื่อ (predation) (+/-) = ผู้ล่าจับสิ่งมีชีวิตที่เป็นเหยื่อกินเป็นอาหาร โดยผู้ล่าได้ประโยชน์ เหยื่อเสียประโยชน์ (ตาย) กบกินแมลง งูกินกบ นกเค้าแมวล่าเหยื่อ แมงมุมกินแมลง/ ปลากินแพลงก์ตอน แมลงกินน�้าหวาน ตัêกแตนกินหญ้า ต้นกาบหอยแครง/ หยาดน�้าค้าง/ หม้อข้าวหม้อแกงลิง ดักจับแมลงตัวเล็กๆ กินเป็นอาหารภาวะเกื้อกูล (commensalism) (+/0) = ฝ่ายหนึง่ได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ พืชอิงอาÈัย (epiphyte) เช่น ชายผ้าสีดา กล้วยไม้บนต้นไม้ใหญ่ เหาฉลามกับฉลาม ดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมน)ี กับปลาการ์ตูน ไลเคนบนเปลือกไม้ หนูกับ Leptospira

ตัวอ่อนสัตว์น�้าใน¿องน�้า สิ่งมีชีวิตชนดิ A สร้างสาร a ซึ่งจ�าเป็นต่อสิ่งมีชีวิตชนดิ B

OnDem

and

Page 7: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

7

ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) (+/+) = ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ แต่สามารถแยกกันอยู่ได้โดยไม่ตาย นกเอี้ยงกับควาย ดอกไม้กับแมลง ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมน)ี ดอกไม้ทะเลกับปลาการ์ตูน มดด�ากับเพลี้ย กุ้งพยาบาลกับปลาผีเสื้อ ค้างคาวผสมเกสรให้ต้นกล้วยภาวะพึ่งพา (mutualism) (+/+) = ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ ไม่สามารถแยกกันอยู่ได้ ไลเคน โพรโทซัว Trichonympha ในล�าไส้ปลวก ไฮดรากับสาหร่ายสีเขียว แบคทีเรีย Escherichia coli ในล�าไส้ใหญ่ของคน แบคทีเรีย Rhizobium กับรากถั่ว เชื้อรา Mycorrhiza ในรากสน จุลินทรีย์ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง แหนแดงกับ Anabaena/ Nostoc

ปะการังกับสาหร่ายซูแซนเทลลี สิ่งมีชีวิต 2 ชนดิ โดยชนดิ A ต้องการสาร b ไปสร้างสาร a และชนดิ B ต้องการสาร a ไปสร้างสาร b ดังนั้นจึงอยู่ร่วมกันภาวะการหลั่งสารห้ามการเจริญหรือการท�าลายล้าง (antibiosis) (0/-) = ฝ่ายหนึง่ไม่ได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายเสียประโยชน์ ราสีเขียว Penicillium หลั่งสาร antibiotic ท�าให้ bacteria ไม่เจริญ สาหร่ายสีเขียวแกมน�า้เงิน Microcystis หลั่งสาร hydroxylamine ออกมาในน�า้ ท�าให้สัตว์น�า้ตายภาวะการกระทบกระเทือน (amensalism) (0/-) = สิ่งมีชีวิตหนึง่มีผลท�าให้สิ่งมีชีวิตอีกหนึง่ไม่เจริญแต่ไม่มีการหลั่งสารออกมายับยั้ง ต้นไม้ใหญ่เมื่อโตเต็มที่จะบดบังแสง ท�าให้ต้นไม้เล็กได้รับแสงไม่เพียงพอภาวะเป็นกลาง (neutralism) (0/0) = สิ่งมีชีวิตแต่ละชนดิต่างด�ารงชีวิตกันอย่างอิสระ ไม่เกี่ยวข้องกัน เสือกับหญ้าภาวะย่อยสลาย (saprophytism) (+/0) = ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่ยังคงมีชีวิตอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว และได้ประโยชน์จากการย่อยสลายสารอาหารจากซากสิ่งมีชีวิต ผู้ย่อยสลาย (แบคทีเรีย เห็ด รา ยีสต์) ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์

OnDem

and

Page 8: pat2 bio57

8

19. ข้อใดเรียงล�าดับของเสียตามปริมาณน�า้ที่สัตว์ต้องใช้ (จากมากไปน้อย) เพื่อช่วยก�าจัดของเสียนั้น

1. แอมโมเนีย ยูเรีย กรดยูริก 2. กรดยูริก ยูเรีย แอมโมเนีย

3. แอมโมเนีย กรดยูริก ยูเรีย 4. ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก

OnDem

and

Page 9: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

9

Q metabolic waste

Q1 nitrogenous waste

ammonia (NH3) urea uric acidความเป็นพิÉ/ การละลายน�้า

พลังงานที่ ใช้ก�าจัด

gasพÉิสงูสดุใช้น�า้ในการก�าจดัมากก�าจดัออกในรปู NH4

+ เปลีย่นรปูเป็น urea/ uric acid ได้พบในสิง่มชีวีติทีอ่ยู่ ในน�า้ สิง่มชีวีติเซลล์เดยีว สตัว์หลายเซลล์ชัน้ต�า่ สตัว์ขาข้อทีอ่าÈยัอยู่ ในน�า้ mollusk ทีอ่ยู่ ในน�า้ ปลากระดกูแขง็

liquidพÉิต�า่กว่า NH3

สญูเสยีน�า้น้อยลงเวลาขบัออกสร้างทีต่บั ขบัทางไตในรปูปัสสาวะปริมา³ขึน้อยูก่บัโปรตนีทีก่นิพบในสิง่มชีวีติทีอ่ยูบ่นบก ไส้เดอืนดนิ สตัว์สะเทนิน�า้สะเทนิบก ปลากระดกูอ่อน สตัว์เลีย้งลกูด้วยน�า้นม

solidพÉิต�า่สดุขบัทางอจุจาระallantois เป็นทีเ่กบ็ของเสยีพบในเอม็บริโอของสตัว์เลือ้ยคลาน/ นก อาจสะสมในข้อในผูป่้วยโรค goutพบในสตัว์สงวนน�า้ สตัว์ขาข้อทีอ่าÈยัอยูบ่นบก/ แมลง mollusk ทีอ่ยูบ่นบก สตัว์เลือ้ยคลาน นก

Q2 Q3CO2 น�้าและเกลือแร่

เกดิจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารC6H12O6 + 6O2 + 6H2O + 36ADP + 36Pi → 6CO2 + 12H2O + 36ATPขบัออกทางปอดพชืก�าจดัออกทางปากใบ/ น�ากลบัไปใช้ในการสงัเคราะห์ด้วยแสง

ขบัส่วนทีเ่กนิความต้องการออกขบัในรปู ปัสสาวะ (max) เหงือ่ ลมหายใจ อจุจาระ (min)ขบัออกทางปัสสาวะ เหงือ่ และอจุจาระจะมเีกลอืแร่ปนอยูด้่วยขบัออกทางลมหายใจจะมแีต่น�า้ (gas) เท่านัน้ส�าหรบัพชืเกบ็สะสมไว้ที ่sap vacuole

OnDem

and

Page 10: pat2 bio57

10

20. การทดลองการกระตุ้นเซลล์ประสาทด้วยไฟฟ้าเพื่อศึกษาศักย์เยื่อเซลล์ในรูปแบบต่างๆ ถ้าใส่ tetrodotoxin ที่สกัดจาก

ปลาปักเป้าในปริมาณมากพอที่จะปิดกั้นช่องโซเดียมได้ จะเกิดผลในข้อใด

1. เซลล์ประสาทเกิดดีโพลาไรซ์อย่างรวดเร็ว แต่ไม่เกิดรีโพลาไรซ์

2. เซลล์ประสาทมีศักย์เยื่อเซลล์ระยะพักปกติ แต่ไม่เกิดดีโพลาไรซ์

3. เซลล์ประสาทมีศักย์เยื่อเซลล์ระยะพักต�่ากว่าปกติ แล้วจึงเกิดดีโพลาไรซ์

4. เซลล์ประสาทเกิดดีโพลาไรซ์ปกติ แต่เกิดไฮเพอร์โพลาไรซ์จนมีศักย์เยื่อเซลล์ต�่ากว่าปกติ

OnDem

and

Page 11: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

11

สารพÉิจากแบคทเีรีย Clostridium botulinum สร้าง botulinum toxin (botox) = ออกÄทธิìที ่neuroexocytosis apparatus (synaptobrevin) → ยบัยัง้การหลัง่ Ach → กล้ามเนือ้ขาดการรบัรู้ การส่งกระแสประสาท → กล้ามเนือ้ไม่หดตวั → กล้ามเนือ้กะบงัลมหยดุท�างาน → หยดุหายใจ Clostridium tetani สร้าง tetanus toxin = ยบัยัง้การหลัง่ inhibitory neurotransmitter (glycine และ GABA) → ท�าให้เกดิ hyperexcitability ของกล้ามเนือ้ลาย → เพิม่การหดตวัของกล้ามเนือ้ → ชกัเกรง็ (โรคบาดทะยกั)สารก�าจดัÈตัรพูชืกลุม่ organophosphate = ยบัยัง้เอนไซม์ acetylcholinesterase ที ่synaptic cleft →Ach มากเกนิ → กล้ามเนือ้เกรง็และชกักระตกุยาระงบัประสาท ยานอนหลบั (anti-anxiety) = จบัที ่GABA receptor ของ postsynaptic neuron → hyperpolarization → กล้ามเนือ้คลายตวั ยารกัÉาโรคจติเภท (antipsychotic) = จบัที่ dopamine receptor → ลดการหลัง่ dopamine → ลดอาการภาพหลอน/ หแูว่วยากระตุน้ประสาท แอมเ¿ตามนี = เพิม่การหลัง่และลดการดดูกลบัของ dopamine และ norepinephrine ที ่synaptic cleft → dopamine เพิม่มากขึน้ → ตืน่ตวั/ ภาพหลอน/ หแูว่ว คาเ¿อนี = จบัที ่adenosine receptor → เพิม่ความตืน่ตวั/ ลดความเมือ่ยล้าและง่วงนอน นโิคตนิ = จบักบั nicotinic acetylcholine receptor → เพิม่การหลัง่ dopamine ในสมอง → ปลดปล่อยความเครียดทางจติใจ ยาชา = จบักบั receptor ที ่Na+ channel → ยบัยัง้การไหลเข้าของ Na+ → ไม่เกดิ depolarizationพÉิง ู= α -neurotoxin (งเูห่า/ งจูงอาง/ งทูบัสมงิคลา)จบัที ่Ach receptor ที ่postsynaptic neuron(competitive inhibitor ของ Ach) → ไม่เกดิการส่งสารสือ่ประสาท → กล้ามเนือ้อมัพาต → เสยีชวีติปลาปักเป‡า = tetrodotoxin → จบัที ่fast sodium channel→ ยบัยัง้การไหลเข้าของ Na+ channel ในระยะแรก ของ depolarization → ไม่เกดิ action potential

ตัวอย่างสารเคมีที่มีผลต่อการส่งกระแสประสาท

จบัที ่fast sodium channel

OnDem

and

Page 12: pat2 bio57

12

27. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร

1. เฟอริดอบซินถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้ NADP กลายเป็น NADPH+

2. ระบบแสงสองมีการสูญเสียอิเล็กตรอน ท�าให้มีการดึงอิเล็กตรอนจากน�้า

3. โปรตอนในสโตรมามากขึ้น ส่งต่อไปให้ลูเมน อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เข้าไปในลูเมน

4. โปรตอนสะสมในลูเมนมากขึ้น ท�าให้เกิดแรงขับโปรตอนออกมานอกลูเมน

OnDem

and

Page 13: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

13

1 antenna ของ PSI ดูดกลืนพลังงานแสง 2 photon กระตุ้นให้ P700 เกิด photo-oxidation 2 antenna ของ PSII รบัพลงังานแสง 2 photon กระตุน้ให้ P680 เกดิ photo-oxidation (เกดิพร้อมกบั PSI)3 e- เกิดการถ่ายทอดแบบไม่เป็นวัฏจักร จาก P700 → Fd → NADP+

4 NADP+ reductase เร่งให้ NADP+ + 2e- + 2H+ (ใน stroma) → NADPH + H+

5 ท�าให้ P700 ขาด e- → P680 จึงชดเชย e- ให้ P7006 e- เกดิการถ่ายทอดแบบไม่เป็นวฏัจกัร จาก P680 → Pq → cytochrome complex → Pc → P7007 ท�าให้ P680 ขาด e- → น�้าชดเชย e- ให้ P6808 พลังงานแสงกระตุ้นให้โมเลกุลของน�า้แตกตัว 9 เกดิ photolysis (Hill’s reaction) ใน thylakoid lumen ใกล้ๆ PSII ดงัสมการ H2O → 2

1 O2 + 2H+ + 2e-

10 เกิดล�าดับการถ่ายทอด e- แบบไม่เป็นวัฏจักร H2O → P680 (PSII) → Pq → cytochrome complex → Pc → P700 (PSI) → Fd → NADP+

e- แต่ละช่วงของการถ่ายทอดมีระดับพลังงานที่ต่างกัน (Z-scheme)11 ระหว่างการถ่ายทอด e- มีการปั๊ม H+ จาก stroma เข้าสู่ thylakoid lumen12 ↑ [H+] = ↓ pH ใน thylakoid lumen 13 เกิดผลต่างของความเข้มข้นและประจุระหว่าง thylakoid lumen กับ stroma14 เกิด facilitated diffusion จาก thylakoid lumen กลับเข้า stroma = chemiosmosis15 เกิด proton motive force16 ATP synthase น�าพลังงานไปสร้าง ATP = photophosphorylation

F1 noncyclic photophosphorylation : เกิดที่ thylakoid หรือ stroma lamella ของพืชทุกกลุ่ม ในสภาวะที่มีแสงเท่านั้น

OnDem

and

Page 14: pat2 bio57

14

OnDem

and

Page 15: pat2 bio57

แนวข้อสอบ PAT2 มี.ค. 57

15

primaryacceptor

primaryacceptor

NADP+

reductase

NADP+

NADPH

photosystem I

photosystem II

cytochromecomplex

Pq

Pc

ATP

FdFd

F2 cyclic photophosphorylation

1 antenna ของ PSI ดูดกลืนพลังงานแสง 2 photon กระตุ้นให้ P700 เกิด photo-oxidation 2 e- เกิดการถ่ายทอดแบบเป็นวัฏจักร จาก P700 → Fd → cytochrome complex → Pc → P7003 ระหว่างการถ่ายทอด e- มีการปั๊มโปรตอน (H+) จาก stroma เข้า thylakoid lumen4 ↑ [H+] = ↓ pH ใน thylakoid lumen 5 เกิดผลต่างของความเข้มข้นและประจุระหว่าง thylakoid lumen กับ stroma6 ขับเคลื่อนให้ H+ แพร่จาก thylakoid lumen กลับเข้า stroma = chemiosmosis7 เกิด proton motive force8 ATP synthase น�าพลังงานไปสร้าง ATP = photophosphorylation

เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรและเป็นวัฏจักร

noncyclic photophosphorylation cyclic photophosphorylation

1. e- จะไม่กลับสู่ที่เดิม แต่จะมี e- จาก PSII มาแทนที่ e- ใน PSI

1. e- ที่หลุดจาก chlorophyll ของ PSI จะกลับเข้าสู่ที่เดิม

2. มีการสร้าง NADPH + H+ 2. ไม่มีการสร้าง NADPH + H+

3. มี O2 เกิดขึ้น 3. ไม่มี O2 เกิดขึ้น

4. ใช้รงควัตถุ PSI และ PSII (การท�างานร่วมกันของ PSI และ PSII)

4. ใช้รงควัตถุ PSI เท่านั้น

5. มีกระบวนการ photolysis 5. ไม่มีกระบวนการ photolysis

6. พบในพืชทุกกลุ่ม 6. ส่วนใหญ่พบใน prokaryotic cell

OnDem

and