packing rx

79
บทที1 ผลิตภัณฑยาและการบรรจุ (Pharmacuetical Preparation and Packaging of Pharmaceuticals) ผลิตภัณฑยาที่ผลิตขึ้นมาจําหนายหรือใชกันอยูในปจจุบันนี้นั้นพอจะแบงออกเปน พวกใหญ ตามลักษณะของผลิตภัณฑไดเปน 3 พวกดวยกันคือ พวกที่มีลักษณะเปนของแข็ง (Solid Preparation) พวกที่มีลักษณะเปนแบบครึ่งแข็งครึ่งเหลว (Semi-Solids) และพวกที่มีลักษณะ เปนของเหลว (Liquids) พวกที่มีลักษณะเปนของแข็ง (Solid Preparations) พวกที่มีลักษณะเปนของแข็งพอจะแบงตามลักษณะของยาและการใชออกไดเปน 4 ชนิด ดวยกันคือ 1. ชนิดที่เปนยาผง (Mixed powders) สําหรับรับประทานหรือใชเฉพาะที2. ชนิดที่เปนผงฟู (effervescent granules) สําหรับละลายนํารับประทาน 3. ชนิดที่ผลิตสําหรับขนาดรับประทานแตละครั้ง เชน เปนเม็ด แคปซูล รวมทั้ง สําหรับใชอม (lozenges) 4. ชนิดที่ผลิตสําหรับขนาดใชภายนอกแตละครั้ง เชน พวกยาเหน็บ หรือยาเม็ด สําหรับสอดเขาชองคลอด การบรรจุยาผงชนิดสําหรับขนาดสําหรับรับประทานหรือใชเฉพาะที(Powders) วิธีการบรรจุยาพวกนี้สวนใหญจะบรรจุสําหรับใชครั้งเดียว (single dose) เชน บรรจุ ลงในซอง (Sachets) แบบอัตโนมัติโดยอาศัยเครื่องเขาซองหรือแผง (Strip-packaging Machine) โดยใชแผนกระดาษ แผนอลูมิเนียม หรือแผนพลาสติก แลวแตความตองการเพื่อจะปองกันยาที่อยู ภายใน ยาผงบางชนิดซึ่งมีความคงตัวไมดีเมื่อผสมกับนํเชน พวกยาปฏิชีวนะ จะนิยม บรรจุลงในขวดแกวที่มีฝาปดอยางสนิท (Screw capped bottles) ในปริมาณที่คํานวณไวอยางพอดีซึ่ง เมื่อเติมนําลงไปผสมจนไดปริมาณตามที่กําหนดแลว จะทําใหไดตัวยาในแตละขนาดที่รับประทานตาม กําหนด ยาที่เตรียมจากสิ่งมีชีวิตบางชนิดซึ่งใชสําหรับฉีดเขารางกาย แตไมคงตัวอยูในรูปของ สารละลาย อาจเตรียมและบรรจุในรูปของ freeze-dried powers (lyophilised) เชนบรรจุในหลอด ampoules หรือในขวดที่ปดดวยจุกยาง สําหรับยาผง ที่ตองการจะบรรจุเปนปริมาณมาก (Bulk-pack) อาจจะบรรจุในถัง เหล็กหรือถังที่ทําดวยพวก fiber หรือ plywood หรือถุงพลาสติกชนิดหนา และมีความทนทาน แต ในกรณีที่มีปริมาณไมมากนักอาจบรรจุในขวด กลอง หรือกระปองอลูมิเนียมหรือดีบุก ยาบางชนิด

Upload: plaziiz

Post on 27-Oct-2015

192 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: Packing Rx

บทที่ 1ผลิตภัณฑยาและการบรรจุ

(Pharmacuetical Preparation and Packaging of Pharmaceuticals)

ผลิตภัณฑยาท่ีผลิตข้ึนมาจํ าหนายหรือใชกันอยูในปจจุบันนี้นั้นพอจะแบงออกเปนพวกใหญ ๆ ตามลักษณะของผลิตภัณฑไดเปน 3 พวกดวยกันคือ พวกท่ีมีลักษณะเปนของแข็ง (Solid Preparation) พวกท่ีมีลักษณะเปนแบบครึ่งแข็งครึ่งเหลว (Semi-Solids) และพวกท่ีมีลักษณะเปนของเหลว (Liquids)พวกที่มีลักษณะเปนของแข็ง (Solid Preparations)

พวกท่ีมีลักษณะเปนของแข็งพอจะแบงตามลักษณะของยาและการใชออกไดเปน 4 ชนิด ดวยกันคือ

1. ชนิดท่ีเปนยาผง (Mixed powders) สํ าหรับรับประทานหรือใชเฉพาะท่ี2. ชนิดท่ีเปนผงฟู (effervescent granules) สํ าหรับละลายนํ้ ารับประทาน3. ชนิดท่ีผลิตสํ าหรับขนาดรับประทานแตละครั้ง เชน เปนเม็ด แคปซูล รวมท้ังสํ าหรับใชอม (lozenges)

4. ชนิดท่ีผลิตสํ าหรับขนาดใชภายนอกแตละครั้ง เชน พวกยาเหน็บ หรือยาเม็ดสํ าหรับสอดเขาชองคลอด

การบรรจุยาผงชนิดสํ าหรับขนาดสํ าหรับรับประทานหรือใชเฉพาะท่ี (Powders)วิธีการบรรจุยาพวกนี้สวนใหญจะบรรจุสํ าหรับใชครั้งเดียว (single dose) เชน บรรจุ

ลงในซอง (Sachets) แบบอัตโนมัติโดยอาศัยเครื่องเขาซองหรือแผง (Strip-packaging Machine) โดยใชแผนกระดาษ แผนอลูมิเนียม หรือแผนพลาสติก แลวแตความตองการเพื่อจะปองกันยาท่ีอยูภายใน

ยาผงบางชนิดซ่ึงมีความคงตัวไมดีเม่ือผสมกับนํ้ า เชน พวกยาปฏิชีวนะ จะนิยมบรรจุลงในขวดแกวท่ีมีฝาปดอยางสนิท (Screw capped bottles) ในปริมาณท่ีคํ านวณไวอยางพอดีซ่ึงเม่ือเติมนํ้ าลงไปผสมจนไดปริมาณตามท่ีกํ าหนดแลว จะทํ าใหไดตัวยาในแตละขนาดท่ีรับประทานตามกํ าหนด

ยาท่ีเตรียมจากส่ิงมีชีวิตบางชนิดซ่ึงใชสํ าหรับฉีดเขารางกาย แตไมคงตัวอยูในรูปของสารละลาย อาจเตรียมและบรรจุในรูปของ freeze-dried powers (lyophilised) เชนบรรจุในหลอด ampoules หรือในขวดท่ีปดดวยจุกยาง

สํ าหรับยาผง ท่ีตองการจะบรรจุเปนปริมาณมาก ๆ (Bulk-pack) อาจจะบรรจุในถังเหล็กหรือถังท่ีทํ าดวยพวก fiber หรือ plywood หรือถุงพลาสติกชนิดหนา ๆ และมีความทนทาน แตในกรณีท่ีมีปริมาณไมมากนักอาจบรรจุในขวด กลอง หรือกระปองอลูมิเนียมหรือดีบุก ยาบางชนิด

Page 2: Packing Rx

2

เม่ือสัมผัสกับความช้ืนจะทํ าใหเส่ือมคุณภาพหรือคุณสมบัติเปล่ียนแปลงไป ก็จํ าเปนจะตองปองกัน เชน โดยการใช plastic liners เชน ถุงท่ีทํ าจาก polyethylene, polypropylene หรือ polyvinyl chloride ซ่ึงนอกจากจะชวยปองกันความช้ืนแลวยังปองกันมิใหตัวยาสัมผัสกับภาชนะท่ีใชสํ าหรับบรรจุโดยตรงดวย

ยาท่ีไดจากส่ิงมีชีวิตบางชนิดอาจเส่ือมเสียไดถาสัมผัสกับออกซิเจน ดังนั้นภายในภาชนะท่ีใชสํ าหรับบรรจุจะตองทํ าใหเปน inert atmosphere ยกตัวอยางเชน พวก adrenaline ภาชนะท่ีใชบรรจุจะตองอัดไนโตรเจนลงไปและปดใหสนิทเพื่อใหไนโตรเจนยังคงอยูภายในตลอดไปการบรรจุยาผงชนิดฟู (Effervescent Granules)

ส่ิงสํ าคัญท่ีสุดในการบรรจุยาพวกนี้ก็คือ จะตองระวังเรื่องความช้ืน จะตองปองกันมิใหความช้ืนซึมเขาไปสัมผัสท่ีบรรจุอยูในภาชนะนั้น ๆ ได ปรกติขนาดบรรจุสํ าหรับจํ าหนายหรือใชโดยท่ัว ๆ ไป อาจบรรจุในขวดแกว ขวดพลาสติกหรือใน sachets ท่ีเคลือยดวยแผนฟลมท่ีเหมาะสมสํ าหรับขนาดบรรจุท่ีมากข้ึนอาจใชภาชนะท่ีทํ าดวยโลหะและพวกโลหะนั้นอาจมีปฏิกิริยากับตัวยาไดก็ควรใชถุงพลาสติกปองกันไว

ในบางกรณีขนาดของผงยาอาจมีความแตกตางกันมากทใหความแนนของผงยาเปล่ียนแปลงไปไดมาก ซ่ึงอาจมีผลตอการบรรจุ เชน ในขนาดนํ้ าหนักทีเทากันแตอาจใสลงในภาชนะบรรจุเดียวกันไดไมหมด ในกรณีเชนนี้อาจจํ าเปนตองนํ าผงยานั้นไปแรงเสียกอนเพื่อทํ าใหผลยามีขนาดท่ีใกลเคียงกันและมีความแนรดีย่ิงข้ึน ของควรระวังอีกอันหนึ่งในการบรรจุผงยาพวกนี้ก็คือ ตองระมัดระวังมิใหนํ้ าหนักของผงยาซ่ึงอาจทํ าใหผงยาท่ีอยูลึกลงไปหรือตามกนภาชนะเกิดแตกสลายไดการบรรจุยาเม็ดและแคปซูล (Tablets and Capsules)

ในการบรรจุยาเม็ดนั้นส่ิงท่ีจะตองระมัดระวังก็คือ การปองกันมิใหเม็ดยาสึกกรอนหรือแตกไดงาย ๆ (friability) ซ่ึงการสึกกรอนของยาเม็ดแตละเม็ดแตละชนิดนั้นอาจแตกตางกัน นอกจากนี้แลวการสึกกรอนของยาเม็ดยังข้ึนอยูกับขนาดของเม็ดยาดวย ขนาดเม็ดท่ีใหญกวาจะมีแนวโนมของการสึกกรอนสูงกวา ยกตัวอยางเชน ยาเม็ดแอสไพริน 300 มก. และมีเสนผานศูนยกลาง 10.5 มม. อาจบรรจุในภาชนะเดียวไดถึง 50,000 เม็ด โดยท่ีไมทํ าใหเม็ดเกิดสึกกรอนหรือแตกแตถาเปนพวก โคลิดีน ซ่ึงมีเสนผานศูนยกลางของเม็ดประมาณ 12.5 มม. จะตองจํ ากัดขนาดบรรจุไวไมใหเกิน 5,000-10,000 เม็ด เพราะถาเกินกวานี้เม็ดยาจะสึกกรอนและแตกไดงาย พวกยาเม็ดเคลือบจะไมคอยมีปญหาในเรื่องนี้

สํ าหรับแคปซูล แบงไดเปน 2 ชนิด คือ ชนิดท่ีเปน hard gelatine capsules ซ่ึงยาท่ีบรรจุอยูภายในจะมีลักษณะเหนียว ๆ (paste) หรือเปนของเหลว การบรรจุแคปซูลท้ังสองชนิดนี้จํ าเปนจะตองปองกันการบุบสลายหรือแตกจากแรงกระแทกเชนกัน โดยเฉพาะท่ีเปน soft gelatine capsules ถาบรรจุในปริมาณท่ีมากเกินไป นํ้ าหนักของแคปซูลจะกดดันสวนท่ีอยูดานลางใหเสียรูปทรงของแคปซูลได

Page 3: Packing Rx

3

ในการบรรจุท้ังยาเม็ดและแคปซูล ส่ิงหนึ่งท่ีจะตองระวังมากท่ีสุดก็คือ ความช้ืน เพราะความชื้นจะทํ าใหยาบางชนิดเส่ือมสภาพไดงายและเร็วข้ึน เชนพวกวิตามินและยาปฏิชีวนะ เปนตน พวกแอสไพริน ถาโดนความช้ืนนาน ๆ อาจถูก hydrolyse ให acetic acid และ salicylic acid ได หรืออาจเปล่ียนแปลงไปไดมาก เชน ยาเม็ด อาจทํ าใหการกระจายตัวเพิ่มนานมากข้ึน หรือพวกยาเคลือบจะทํ าใหยาช้ืนเหนียวและสีเปล่ียนไป

ยาท่ีบรรจุใน soft gelatine capsules ถาหากวาเก็บในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิและความช้ืนคอนขางสูง จะมีโอกาสเกิดเชื้อราข้ึนไดงาย นอกเสียจากวาภาชนะท่ีใชบรรจุจะสามารถปองกันความช้ืนไดอยางดี

ในการปองกันการสึกกรอนของยาเม็ดในระหวางการขนสง ปรกติจะใชสํ าลีหรือฟองนํ้ าอัดท่ีวางในภาชนะบรรจุใหแนน ซ่ึงการใชสํ าลีหรือฟองนํ้ าใสลงไปนี้อาจนํ าเอาความช้ืนเขาไปในภาชนะท่ีบรรจุยาอยูดวย ถาหากวาสํ าลีหรือฟองนํ้ านั้นเปนชนิดท่ีอมความช้ืนได สวนใหญจึงนิยมใชสํ าลีชนิดท่ีเรียกวา non-absorbent ซ่ึงก็อาจมีความช้ืนอยูถึง 8 % แลวแตวาการเก็บรักษาดีมากนอยแคไหน แมวาปริมาณความชื้นจะปนอยูนอยแตถาเราใสลงไปในภาชนะท่ีบรรจุและปดฝาแลว ถาการเก็บยาท่ีบรรจุแลวนี้อยูในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูง ความช้ืนเหลานี้ก็อาจระเหยออกมามีผลตอยาท่ีบรรจุอยูภายในภาชนะไดเพราะฉะนั้นในการใชสํ าลีกับยาท่ีเสียไดงายเม่ือโดนความช้ืน กอนใสสํ าลีลงไปควรจะนํ าสํ าลีไปอบไลความช้ืนเสียกอน

โดยท่ัวไปแลวพวกยาเม็ด แคปซูล ตลอดนพวกยาเม็ดกลมและยาเม็ดสํ าหรับอมในปาก ถาบรรจุเปนปริมาณมาก ๆ (Bulk quantities) อาจใชภาชนะบรรจุท่ีทํ าจากแกว พลาสติก กระปองดีบุก กระปองสังกะสี กลองหรือลังท่ีทํ าจากกระดาษแข็งก็ได หากจํ าเปนตองปองกันความช้ืนก็อาจใชถุงพลาสติกใสเสียกอนบรรจุยาลงไป ถาหากตองใสส่ิงอยางอื่น เพื่อทํ าใหภาชนะท่ีบรรจุแนน เชน สํ าลีหรือเศษกระดาษ ก็ควรใสไวดานนอกของถุงพลาสติก สํ าหรับขนาดบรรจุเล็ก ๆ การเลือกใชถาชนะสํ าหรับบรรจุอาจข้ึนอยูแฟคเตอรตาง ๆ เหลานี้

1. ความจํ าเปนในการปองกันยาท่ีบรรจุอยูภายใน เชนตองปองกันความช้ืน ปองกันแสง และแรงกระแทก เปนตน

2. การเกิดปฏิกิริยาระหวางยาท่ีจะบรรจุกับภาชนะท่ีใชบรรจุ3. รูปราง ลักษณะตาง ๆ ซ่ึงจะชวยดึงดูดผูซ้ือ4. ความสะดวกตอผูใช เชน ขนาด นํ้ าหนัก การปดเปด5. วิธีการบรรจุ6. ราคา7. ความปลอดภัยถาบรรจุในภาชนะท่ีทํ าจากแกวอาจมีรูปรางเปนขวดหรือหลอดกลม ๆ พรอมท้ังฝา

ปดชนิดท่ีเปนเกลียว (screw caps) หรือชนิดสวมไวบนปาก (snap-on closures) ถาทํ าจากโลหะอาจมีลักษณะเปนหลอด เชนหลอดอลูมิเนียม และมีฝาแบบเปนเกลียวหรือแบบสวมไวบนปาก เชนเดียว

Page 4: Packing Rx

4

กับภาชนะท่ีทํ าจากแกว สํ าหรับท่ีทํ าจากพลาสติกก็อาจมีลักษณะเปนหลอด เปนขวดหรือกลอง ซ่ึงเปนพลาสติกพวก Polystylene, Polyethylene หรือ Polypropylene ก็ได ภาชนะท่ีเปนแกวและมีฝาปดอยางสนิทจะปองกันความช้ืนไดดีกวาภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติก สวนพวกท่ีเปนโลหะนั้นจะปองกันแสงไดดี พวกภาชนะท่ีทํ าจากแกวหรือพลาสติกหากจะใชบรรจุยาท่ีมีความไวตอแสงตองใชชนิดท่ีเปนสีทึบ เชน สีชาสํ าหรับภาชนะแกวหรือสีขาวทึบสํ าหรับภาชนะท่ีเปนพลาสติก เพื่อสะดวกในการบรรจุภาชนะท่ีมีลักษณะเปนขวดควรจะมีปากขวดกวางพอสมควรท่ีจะบรรจุยาลงไปไดอยางสะดวกและไมลงไปอัดกันแถวๆ บริเวณปากหรือคอขวดการบรรจุยาเหน็บและยาสํ าหรับสอดเขาชองคลอด

ยาเหน็บเปนยาท่ีทํ าข้ึนมีลักษณะเปนแทงเหมาะท่ีจะเหน็บหรือสอดเขาไปทางชองทวารหนัก เพื่อใหยาออกฤทธ์ิเฉพาะท่ีหรือซึมซาบเขาไปในกระแสเลือด ปรกติยาพวกนี้จะละลายท่ีอุณหภูมิของรางกายหรือประมาณ 370 C มีนํ้ าหนักแทงละประมาณ 1-4 กรัม

ยาสอดเขาชองคลอดเปนยาท่ีทํ าข้ึนโดยใหมีลักษณะท่ีเหมาะสมสํ าหรับสอดเขาไปเพื่อออกฤทธิเฉพาะท่ีในชองคลอด ซ่ึงอาจมีลักษณะคลาย ๆ กับพวกยาเหน็บ การผลิตยาพวกนี้อาจใชวิธีการผลิตแบบเดียวกับการผลิตยาเหน็บหรือแบบการผลิตยาเม็ดก็ได ถาหากผลิตแบบยาเม็ดการบรรจุก็อาจใชภาชนะหรือวิธีการบรรจุแบบเดียวกับการบรรจุยาเม็ด ซ่ึงส่ิงท่ีจะตองระมัดระวังก็คือ ความช้ืนและการสึกกรอนหรือแตกหัก

โดยท่ัวไปแลวการบรรจุยาท้ังสองชนิดนี้เพื่อใหสะดวกแกการใชผูผลิตมักจะบรรจุในรูปของแผง (strip) ซ่ึงอาจเปนแผงพลาสติกหรืออลูมิเนียมก็ได สํ าหรับยาเหน็บสวนใหญจะบรรจุในแผงพลาสติกท่ีทํ าเปนเบาเพื่อใหแทงของยาวางลงไปไดพอดีการบรรจุยาเพ่ือสะดวกสํ าหรับการใชแตละคร้ัง (Unit Packaging)

โดยปรกติแลวการบรรจุยาท่ีมีลักษณะเปนของแข็ง เพื่อสะดวกแกการใชแตละครั้งนั้นนิยมบรรจุเปนแบบแผงท่ีเรียกวา Strip หรือ Blister หรืออาจเปนซอง (Sachet) ถาหากยานั้นมีลักษณะเปนผง

การบรรจุชนิดแผง strip เปนวิธีท่ีใชกันมานานกวาชนิด Blister ยาท่ีมีลักษณะเปนของแข็งสวนใหญสามารถบรรจุไดโดยวิธีนี้ เชน ยาเม็ด แคปซูล ยาอม ยาเหน็บ และยาเม็ดลูกกลอน เปนตน แตโดยท่ัวไปจะนิยมใชบรรจุยาเม็ดแลแคปซูล

วัสดุท่ีจะนํ ามาใชทํ าแผงนี้อาจเปนแผน firm ซ่ึงเปนพวก Cellulose film พวก Polyethylene firm หรืออาจเปนพวก Aluminium foil หรือใชรวมกันก็ได อยางไรก็ตามการเลือกวาจะใชวัสดุอะไรนั้น จํ าเปนจะตองคํ านึงถึงส่ิงเหลานี้ดวย เชน ความสามารถในการปองกันความช้ืน ปองกันแสง และปฏิกิริยาตาง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนกับตัวยาท่ีบรรจุอยูภายใน Aluminium foil ท่ีมีความหนานอยกวา 25 um ไมควรนํ ามาใชกับยาท่ีไวตอความช้ืน เพราะความชื้นสามารถซึมผานรูเล็ก ๆ (pinholes) ซ่ึงมีอยูเปนจํ านวนมากได เพราะฉะนั้น วัสดุเหลานี้กอนใชก็ควรนํ ามาตรวจสอบเสียกอน

Page 5: Packing Rx

5

แผนพลาสติกท่ีมีความหนาไมเกิน 0.010 นิ้ว เรานิยมเรียกวา film แตถาหนากวานี้ไปเรามักจะเรียกวา sheet ถานํ าเอาแผน film สองแผนท่ีตางกันมาประกบติดกันโดยพวก adhesive เราเรียกวา laminate film แตถา extruude ออกมาพรอมกันเรียกวา composite filmวัสดุที่ใชในการทํ าแผงยาพอแบงไดดังน้ี

1. Cellophane เปนพวก regenerated cellulose ดังนั้น จึงตางจาก Plastic film อื่น ๆ และไมมีคุณสมบัติเปน Thermoplastic จึงจํ าเปนตอง coat ดวยพวก thermoplastic เพื่อใหสามารถ seal ติดกันไดโดยวิธี heat seal พวก Cellophane มีความไวตอความช้ืนซ่ึงจะขยายและหดตัวเม่ือความชื้นเปล่ียนแปลง ขอเสียอีกอยางกนึ่งของ Cellophane ก็คือ อายุการใชงานคอนขางจํ ากัด เพราะมันจะเปราะเม่ืออากาศแหงหรือเย็นจัด แตมีขอมีท่ีวามันใสกวาพวก Polyethylene film การปองกันความช้ืนไดพอ ๆ กัน แต Cellophane สามารถปองกัน Oxygen พวก greases และ flavors ไดดีกวา โดยท่ัวไปแลวจะนิยมเคลือบดานใดดานหนึ่งหรือท้ังสองดานของ Cellophane ดวยพวก Nitrocellulose หรือพวก Polyvinylidene chloride หนาประมาณ 0.0005 นิ้ว เพื่อจะใหปองกันความช้ืนและสามารถ seal ติดกันได

2. Polyester สามารถตานทานตอสารเคมีไดดีและมีความใสมาก แตราคาคอนขางสูงแตมีความเหนียวและคงทนดี สามารถกันกล่ินและแกสไดดี ตัว polyester film ไมสามารถ seal ใหติดกันไดโดยใชความรอน จึงจํ าเปนตองเคลือบดวยพวก Vinylidene หรือ Polyethylene การเคลือบนี้นอกจากจะทํ าใหสามารถ seal ติดกันไดแลวยังชวยปองกันความช้ืนไดดีย่ิงข้ึน

3. Foil โดยท่ัวไปแลวอลูมิเนียมท่ีนํ ามาใชทํ า foil จะมีความบริสุทธ์ิประมาณ99.5% ท่ีเหลือเปน Iron ประมาณ 0.4% และ Silicon ประมาณ 0.1% Aluminium foil สามารถปองกันความช้ืน ออกซิเจน และแสงไดดี

เพื่อใหวัสดุท่ีนํ ามาใชทํ าแผงยาใชประโยชนไดดีข้ึน เชน สามารถปองกันความช้ืน ออกซิเจน หรือชวยใหการ seal ไดดีข้ึน จึงนิยมใชรวม (Laminate) ดวยวัสดุอยางอื่น ในกรณีท่ีตองการใหสามารถปองกันความช้ืนไดดีมากข้ึน ควรเอาวัสดุท่ีกันความช้ืนไดดีอยูดานนอก ตารางท่ี 1 จะแสดงใหเห็นถึง Laminate ท่ีใชกันโดยท่ัว ๆ ไปในทางยา

Page 6: Packing Rx

6

ตารางท่ี 1 แสดงใหเห็นวัสดุท่ีใชรวมกัน (laminate) และเหมาะสมสํ าหรับยาประเภทใดPeper/PECellophane/PEFoil/PEFoil/PVCAcetate/PliofilmAcetate/Foil/LacquerAcetate/Aclar/PVCAcetate/Foil/SaranAcetate/Metallized Mylar/PECellophane/PE/SaranCellophane/PE/Foil/LacquerCellophane/PE/Foil/PEPaper/PE/Foil/PE

Analgesic tabletsAntacid tablets, Vitamin tabletsEffervescent analgesicsOintments, analgesicsOintments, cough syrupAntacid tablets, cold capsulesAntibiotic tablets, Vitamin tabletsCough syrupAntibiotic capsules, Vitamin tabletsAntacid tabletsAntacid tabletsAnalgesic tablet, OintmentsVitamin tablets

ในการบรรจุยาเขาแผงจะตองระมัดระวังใหแผนฟลมท้ังสองดานติดกันสนิท โดยการควบคุมความรอนของลูกกล้ิงท้ังสองดานใหมีอุณหภูมิท่ีเหมาะสมกับแผนผิลมท่ีใช ไมควรจะใหอุณหภูมิสูงหรือต่ํ าเกินไป นอกจากนี้แลวความตึงของแผนฟลมเม่ือเขาแผงแลวไมควรใหมีลักษณะท่ีตึงจนเกินไปเพราะอาจทํ าใหเกิดรูรั่วได เพราะฉะนั้นกระเปาะบนเบาจะตองทํ าใหมีขนาดกวางยาวหรือเสนผานศูนยกลางและความลึกพอท่ีจะใหยาท่ีจะใชบรรจุอยูไดอยางไมแนนจนเกินไปเม่ือเขาแผงแลว อยางไรก็ตามเพื่อใหแนใจวาแผงยานั้นไมมีรอยรั่วท่ีจะใหอากาศหรือความชื้นซมผานเขาออกได เราจะตองทดสอบ Leak test เปนระยะ ๆ

มาตรฐานและวิธีการในการทดสอบ Leak test มิไดมีการกํ าหนดไวเปนหลักตายตัวท่ีปฏิบัติกันอยูในขณะนี้สวนใหญจะใชมาตรฐานและวิธีการท่ีกํ าหนดข้ึนเอง ตัวอยางการทดสอบ Leak test ท่ีใชกันในบางแหง มีวิธีการดังนี้

นํ าเอาแผงท่ีมียาบรรจุอยูจุมลงในนํ้ าซ่ึงอยูใน Desiccator ชนิดท่ีโปรงแสงและสามารถดูดเอาอากาศออกได ทํ าการดูดเอาอากาศออกใหได 10 inches vacuum แลวสังเกตุดูวามีฟองอากาศเกิดข้ึนหรือไม เครื่องมือสํ าคัญ ๆ ท่ีใชในการทดสอลก็มี Desiccator, Vacuum, Vacuum gauge ในการดูดอากาศออกจาก Desiccator นั้นจะตองทํ าอยางชา ๆ โดยใชเวลาประมาณ 20-40 วินาทีเพื่อใหได 10 inches vacuum และปลอยไวเปนเวลา 30 วินาที กอนท่ีจะเปดใหอากาศเขาหลังจากนี้อีก 1 นาที จึงคอยนํ าเอาแผงท่ีทดสอบนี้ออกจาก Desiccator และเช็ดใหแหงอยางระมัดระวังแลวใชกรรไกรตัดดูดดานในวามีหยดนํ้ าหรือยาท่ีบรรจุอยูเปยกนํ้ าหรือเปลา

Page 7: Packing Rx

7

บางโรงงานก็ใชวิธีการทดสอบ Leak test ท่ีคอนขางเขมงวด ดังเชน ทุก ๆ 15 นาที เขาจะนํ าเอาแผงยาจํ านวน 8 แผง ท่ีออกจาเครื่องติดตอกันมาทํ าการสํ ารวจเพื่อหาขอบกพรอง จากนั้นก็นํ าเอายาท้ัง 8 แผง นี้ไปทดสอบ Leak test วิธีทดสอบก็คลาย ๆ กับท่ีกลาวมาแลวขางตน คือ โดยเอาแผงยาจุมไวใตนํ้ าท่ีผสมสีใน vacuum desiccator ท่ี 15 inches vacuum เปนเวลา 1 นาที แลวจึงนํ ามาตรวจดูวามีนํ้ ารั่วเขาไปขางในแผงหรือเปลา ถาหากวาพบมีรั่วถึง 2 กระเปาะหรือมากกวา ยาท่ีเขาแผงในชวง 15 นั้น จะตองแยกออกมาและนํ ามาเขาแผงใหม และถาหากพบมีขอบกพรองอยางอื่นนอกเหนือจากรั่วถึง 2 แหง หรือมากกวา ยาท่ีเขาแผงในชวง 15 นาที ท้ังหมดจะตองนํ ามาตรวจสอบดูขอบกพรองอีกครั้งหนึ่ง เพื่อคัดเอาอันท่ีบกพรองออกไป

การบรรจุยาเปนแผงมีขอดีอยูหลายประการดวยกัน คือ1. ยาในแผงแตละแผงหรือในแตละกระเปาะจะถูกปองกันไดอยางดีตลอระยะเวลาจนถึงเม่ือเปดออกมาใช

2. สะดวกในการนํ าติดตัวเฉพาะท่ีจํ าเปนตอการใช3. มีความปลอดภัยกวาในแงท่ีจะเกิดกับเด็กเล็ก ๆ4. กลองนอกท่ีใชบรรจุจะมีเนื้อท่ีมากกวา จึงสามารถออกแบบหรือใสขอความตาง ๆ ไดดีกวายาท่ีบรรจุอยูในขวดหรือหลอด

5. ตนทุนต่ํ ากวาเม่ือเทียบกับขนาดบรรจุท่ีพอ ๆ กัน แตบรรจุโดยภาชนะบรรจุอยางอื่น ๆ

การบรรจุยาแบบผงก็มีขอเสียอยูบางเชนกัน คือ1. กินเนื้อท่ีมากกวาการบรรจุในขวดหรือหลอด เพราะฉะนั้นจึงตองใชเนื้อท่ีในการเก็บหรือการขนสงมากกวา

2. การฉีกแผงเพื่อนํ ายามาใชอาจไมสะดวกหรือทํ าไดลํ าบากกวาท่ีบรรจุอยูในขวดหรือในแผงโดยเฉพาะคนไขท่ีมีบาดแผลท่ีปลายนิ้ว หรือในผูสูงอายุ

3. ตนทุนสูงกวาหากเทียบกับการบรรจุจํ านวนมาก ๆ เชน เทียบกับบรรจุขวดละ 1000 เม็ด เปนตน

สํ าหรับการบรรจุยาเขาแผงอีกชนิดหนึ่งท่ีเรียกวา Blister Packaging นั้น กระบวนการบรรจุและวัสดุท่ีนํ ามาใชในการบรรจุก็คลายกับ Strip packaging เปนวิธีการท่ีพัฒนาข้ึนท่ีหลังและเปนท่ีนิยมกันอยางรวดเร็วและแพรหลาย แผง Blister จะประกอบดวยสวนท่ีเปนดานหนาหรือดานบนซ่ึงเปนวัสดุพวก Transparent Thermoformable Plastic Material กับดานหลังซ่ึงเปนพวก Heat-sealable Lacquered Backing Material

พวก Thermoformable Plastic Material ท่ีนิยมใชมากไดแก Polyvinyl Chloride (PVC), PVC/Polyethylene , Polystyrene , Polypropylene แตท่ีนิยมใชมากท่ีสุดไดแกพวก PVC ในกรณีท่ีตองการใหมีความสามารถในการปองกันความช้ืนไดดีข้ึนอาจ laminate แผน PVC ดวย

Page 8: Packing Rx

8

แผน Polyvinylidene chloride (saran) หรือ Polymonochlorotrifluoroethylene (Aclar) พวก PVC/Aclar สามารถปองกันความช้ืนไดดีกวา Saran-coated PVC โดยเฉพาะในกรณีท่ีตองการเก็บไวในท่ีท่ีมีความช้ืนสูงเปนเวลานาน ๆ ตารางท่ี 2 และ 3 แสดงใหเห็นถึง Thermoformable Blister Materials ท่ีใชและคุณสมบัติในการปองกันความช้ืน

ตารางท่ี 2 คุณสมบัติในการปองกันของ LaminationsMaterial Oxygen Transnission* Water-vapor

transmission*0.002 PE/0.0075 PVC0.0015 Aclar/0.002 PE/0.0075 PVC0.0015 Aclar/0.0075 PVC0.002 PE/0.0075 PVC0.0075 PVC0.002 PE/0.005 PVC0.005 PVC0.001 Nylon

0.61.01.11.31.92.62.725.0

0.0920.0340.0350.1700.3300.2000.52019.000

* CC/24 hr/100 sq.in at 770 F, 50% RH** g/24hr/100 sq.in at 950 F, 90% RH

ตารางท่ี 3 คุณสมบัติในการปองกันความช้ืนMaterial Water-vapor transmission*

Aclar (fluorohalocarbon) 22A, 1 mil

22A, 1 ½ mil22C, 1 mil22C, 2 mil33C, ½ mil33C, 1 mil33C, 2 mil

Cellophane acetate, 1 milCellophane140 K195 K

0.0550.0460.0450.0280.0400.0250.01580.000

0.4000.450

Page 9: Packing Rx

9

Material Water-vapor transmission*195 M

Polyester, 1 milPolyethylene: Low-density, 1 mil High-density, 1 milPolypropylene 1 milPolyvinyl chloride, 1 milRubber hydrochloride, 1.2 milSaran (PVDC), 1 milTwo-ply waxed glassine paperWaxed glassine paperWaxed sulfite paper

0.6502.000

1.3000.3000.7004.0001.0000.2000.5003.0004.000

* g loss/24hr/100 sq.in/mil at 950 F, 90% RH

สํ าหรับวัสดุท่ีนํ ามาใชเปนดานหลังของ Blister จะตองเปนวัสดุท่ีฉีกขาดไดงายเพราะเวลาจะนํ าเอายาท่ีบรรจุอยูภายในมาใชจะตองใชวิธีกดดานบนใหยาทะลุออกมาทางดานหลังหรือท่ีเรียกวา Push-Through Packs โดยปรกติจะเปนวัสดุพวก Aluminium foil ซ่ึงอาจเคลือบดวย Saran หรือวัสดุอื่น ๆ ท่ีเหมาะสม วัสดุบางชนิดท่ีนํ ามาใชทํ าดานหลังของ Blister มีคุณสมบัติท่ีสามารถลอกหรือดึงออกจากแผนดานหนาได สวนใหญจะเปนพวก paper/foil combination

ขอดีของ Blister packaging เม่ือเทียบกับ strip packaging มีดังนี้1. อัตราความเร็วในการบรรจุสูงกวา ซ่ึงจะทํ าใหตนทุนเกี่ยวกับคาแรงงานต่ํ ากวา2. กระทัดรัดและกินเนื้อท่ีนอยกวา จึงประหยัดสถานท่ีเก็บ3. การพกติดตัวและการใชยาท่ีตองใชติดตอกันทํ าไดสะดวกกวา เชน ยาคุมกํ าเนิด จะบรรจุเปนแผง ๆ ละ 21 เพื่อใช 21 วันติดตอกัน

สวนขอเสียของ Blister packaging ก็มีบางเหมือนกัน เชน วัสดุท่ีนํ ามาทํ า Blister ถาตองการใหสามารถปองกันความช้ืนไดดีพอ ๆ กับวัสดุท่ีนํ ามาทํ า strip จะมีราคาแพงกวา นอกจากนี้แลวเครื่องจักรท่ีใชสํ าหรับ Blister packaging จะมีราคาแพงกวาเครื่องจักรท่ีใชทํ า strip packagingพวกที่มีลักษณะเปนแบบคร่ึงแข็งคร่ึงเหลว (Semi-solid)

ยาท่ีมีลักษณะครึ่งแข็งครึ่งเหลวจะมีความขนมากจนไมสามารถท่ีจะนํ ามาบรรจุแบบยานํ้ าไดและไมแหงพอท่ีจะบรรจุแบบยาท่ีมีลักษณะเปนของแข็งได ยาท่ีจัดอยูในพวกครึ่งแข็งครึ่ง

Page 10: Packing Rx

10

เหลวไดแกพวก Ointments, Creams, Pasters, Soft extracts, Liquid glucose, Balsams และ resins เปนตน

Ointments หรือท่ีเรียกกันยาพวกข้ีผ้ึง ปรกติจะทํ าดวยพวก bases ท่ีมีลักษณะเหนียวเปนมันซ่ึงอาจตัวยาอยูในลักษณะท่ีละลาย ผสม หรือกระจายอยูในเนื้อ bases นั้น ๆ วัตถุดิบท่ีนํ ามาผสมทํ าเปน bases ไดแกพวก Mineral oils, vegetable oils, soft paraffin, hard paraffin, wool fat, Beeswax เปนตน และอาจมีพวก Emulsifying agent ผสมอยูดวย เชน Cetomacragol ซ่ึงจะชวยทํ าใหการชํ าระลางข้ีผ้ึงออกจากผิวหนังท่ีทํ าไดงายข้ึนดวย

Creams เปนพวก Emulsions ซ่ึงมีความขนเหนียวมากจนมีลักษณะเปนพวก Semi-solids ซ่ึงแบงไดเปน 2 พวก ดวยกันคือ ชนิด Oil-in-water เชน Hydrocortisone Creams กับชนิด Water-in-oil เชน Proflavine Cream ตัวยาสํ าคัญอาจผสมลงไปในรูปของ powder หรือในรูปของ aqueous solution

Pastes ปรกติเตรียมข้ึนมาเพื่อใชกับผิวหนัง มีลักษณะเหนียวมากกวาพวก Creams ซ่ึงเปนสวนผสมของสารท่ีเปน powdered solids มีอยูมากผสมกับ Oily หรือ Greasy bases หรือผสมกับ Glycerin และนํ้ า ตัวอยางของพวก Pastes ก็ไดแก Coal Tar Paste, Magnesium Sulfate Paste และ Unna�s Paste เปนตน

สํ าหรับภาชนะท่ีใชบรรจุพวก Semi-solids นั้นอาจข้ึนอยูกับปริมาณ ลักษณะการใชคุณสมบัติของตัวยาใน semi-solids นั้น ๆ ซ่ึงภาชนะเหลานี้อาจเปนพวก แกว โลหะ หรือพลาสติกแกว (Glass)

ภาชนะท่ีทํ าดวยแกวนับเปนภาชนะท่ีมีความปลอดภัยมากในแงของ compatibility และ การปองกันยาท่ีบรรจุอยูภายใน นิยมใชสํ าหรับบรรจุพวกข้ีผ้ึงและครีมท่ีมีขนาดบรรจุสํ าหรับใชประจํ าวันหรือขนาดใหญสํ าหรับใชตามโรงพยาบาลและคลีนิค ในกรณีท่ีข้ีผ้ึงหรือครีมท่ีจะบรรจุมีความไวตอแสงสวางควรใชภาชนะแกวท่ีเปนสีชา (amber glass) หรือสีอื่นไมมีปฏิกิริยากับยาท่ีจะบรรจุ สํ าหรับฝาปดถาจากพวกโลหะควรบุดานในท่ีสัมผัสกับตัวยาดวยแผนพลาสติกเพื่อปองกันการระเหยของนํ้ าท่ีมีอยูในยาออกมา นอกจากนี้ก็จะตองปองกันการไหลซึมของยามิใหไหลออกมาขางนอกได

ขอเสีย ของภาชนะท่ีทํ าดวยแกว คือแตกงาย และมีนํ้ าหนักมากกวาเม่ือเทียบกับภาชนะท่ีทํ าจากวัสดุอื่น ๆ ในแงของการใชจะตองเปดฝาทุกครั้งท่ีใชเพราะฉะนั้นโอกาสที่จะเกิด contamination จึงเกิดไดงายกวาโลหะ (metal)

ภาชนะท่ีทํ าดวยโลหะมีความเหมาะสมสํ าหรับการใชบรรจุต้ังแตปริมาณนอย ๆ จนถึงปริมาณมาก ๆ เชน เปนถัง ๆ ละ 50 กก. เปนตน ถังนี้อาจทํ าจากพวก Stainless steel หรือ Mild steel ถังท่ีทํ าจาก stainlees steel นับวาปลอดภัยท่ีสุด แตมีราคาแพงมากเกินไป ท่ีจะนํ ามาใชสํ าหรับ

Page 11: Packing Rx

11

บรรจุเพื่อทางการคา ดังนั้น Mild steel จึงมีความเหมาะสมกวา ในกรณีท่ีจะใชบรรจุยาท่ีอาจเกิดปฏิกิริยาข้ึนได ก็อาจปองกันโดยใช Plastic liners

หลอดท่ีทํ าดวยโลหะเปนท่ีนิยมมากสํ าหรับบรรจุข้ีผ้ึงและครีมในปริมาณนอย ๆ เชน ขนาดบรรจุ 5 กรัม 10 กรัม 15 กรัม และ 30 กรัม เปนตน การบรรจุในหลอดสามารถปองกันการ contamination และ oxidation ในระหวางการใชไดดีมาก อยางไรก็ตามการใชหลอดโลหะสํ าหรับบรรจุจํ าเปนตองคํ านึงถึงคุณสมบัติและความบริสุทธ์ิของโลหะท่ีนํ ามาทํ าหลอดนั้น ๆ ดวย British Pharmacuetical Codex (B.P.C.) ไดแนะนํ าไววา Aluminium tubes ท่ีใชสํ าหรับบรรจุครีม ครีมนั้น ๆ ควรจะมีสวนผสมของ phosphate buffer ดวยเพื่อปองกันยามีปฏิกิริยากับหลอด เชน มีสวนผสมของ 0.1% anhydrous disodium hydrogen phosphate และ 0.2% sodium dihydrogen phosphate

หลอดท่ีจะนํ ามาใชบรรจุข้ีผ้ึงหรือครีมท่ีตองการใหปราศจากเช้ือ จํ าเปนจะตองทํ าหลอดนั้นใหปราศจากเช้ือเสียกอน และการบรรจุก็จะตองบรรจุในหองท่ีปราศจากเช้ือหรือโดยวิธีท่ีปองกันมิใหเชื้อปะปนลงไปได ปรกติแลวหลอดท่ีใชบรรจุยาท่ีตองการใหปราศจากเช้ือนิยมใชหลอดปดสนิทหรือท่ีเรียกวา Membrane ถาหากปากหลอดไมมี Membrane ฝาจุกหลอดท่ีใชะตองทํ าดวยวัสดุท่ีสามารถนํ าไปทํ าใหปราศจากเช้ือไดและจะไมใชแผน cork wads เพราะลํ าบากแกการทํ าใหปราศจากเช้ือพลาสติก (Plastics)

ท้ัง Ointments, Creams และ Pastes สามารถบรรจุไดอยางดีในภาชนะท่ีทํ าดวยพลาสติก ขนาดบรรจุท่ีมีปริมาณมาก ๆ อาจใชภาชนะท่ีทํ าจาก High density polyethylene อยางไรก็ตามการบรรจุยาท่ีมีนํ้ าเปนสวนประกอบจํ าเปนจะตองระมัดระวังใหมากเพราะฝาปดอาจไมแนนสนิท ซ่ึงจะทํ าใหนํ้ าในยาระเหยออกมาได หรือในกรณีท่ีเก็บยาไวในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิคอนขางสูงยาอาจละลายและไหลซึมออกมาได

กอนท่ีจะนํ าภาชนะท่ีทํ าดวยพลาสติกมาบรรจุยาใด ๆ ควรท่ีจะทํ าการทดสอบเพื่อความแนใจเสียกอนใชกันได เพราะมียาหลายอยางท่ีอานมีปฏิกิริยากับพลาสติก เชน ข้ีผ้ึงท่ีมีสวนผสมของ Methyl salicylate อยู จะมีปฏิกิริยากับ P.V.C. และ Polystylene หรือพวก Dimethyl phthalate และ phthalate esters จะมีปฏิกิริยากับ polystyrene พวก fixed oils ก็เชนกันมีแนวโนมท่ีจะทํ าใหหลอดท่ีทํ าจาก polystyrene แตกไดงาย

British Standard (BS.) ไดใหรายละเอียดถึงชนิดของภาชนะท่ีแนะนํ าใหใชสํ าหรับบรรจุพวก Ointments, Creams และ Pastes ซ่ึงภาชนะท่ีจะนํ ามาใชอยางนอยควรจะไดตามขั้นต่ํ าของมาตรฐานนี้

กระปุกพลาสติกเม่ือนํ ามาใชบรรจุยาเพื่อใชหลาย ๆ ครั้งก็มีขอเสียเชนเดียวกับกระปุกแกวคือ ทํ าใหยาเกิดการสูญเสียนํ้ าไดงาย โอกาสเกิด contamination ระหวางการใชมีไดมาก ดวยเหตุผลเหลานี้จึงมีผูหันใชบรรจุในหลอดพลาสติกแทน แตการบรรจุในหลอดพลาสติกก็มีขอเสียอยูท่ีเม่ือบีบยาออกมาแลว หลอดพลาสติกก็จะกลับตัวไปอยูตามรูปเดิม ซ่ึงการกลับตัวไปอยูตามรูป

Page 12: Packing Rx

12

เดิมมันจะดูดเอาอากาศเขาไปในหลอดดวย ซ่ึงอาจทํ าใหเกิด Oxidation ข้ึนได นอกจากนี้ก็อาจทํ าใหยาแหงแข็งไดซ่ึงจะมีผลตอการกระจายตัวและการดูดซึมของยา ดังนั้นหลอดพลาสติกจึงไมเปนท่ีนิยมสํ าหรับใชบรรจุยากันมากนัก

สมัยนี้สามารถดัดแปลงเครื่องบรรจุและปดกนหลอดใหสามารถใชไดท้ังสํ าหรับหลอดโลหะและหลอดพลาสติกในเครื่องเดียวกัน จึงนับวาเปนการประหยัดในการลงทุนย่ิงข้ึน สํ าหรับโรงงานท่ีไมมีเครื่องซ่ึงสามารถปดกนหลอดได อาจใชหลอดพลาสติกท่ีใหทางผูผลิตหลอดปดกนมาใหเสร็จ เวลาจะบรรจุก็ใชวิธีบรรจุเขาทางปากหลอด โดยใชเครื่องมือบรรจุแบบงาย ๆ ท่ีสามารถส่ังทํ าไดภายในประเทศและราคาก็ไมคอยสูงนัก

พวกท่ีมีลักษณะเปนของเหลว (LIQUID)

ยาท่ีมีลักษณะเปนของเหลวหรือท่ีเรียกกันจนติดปากวา ยานํ้ า นั้นนับเปนยาหมวดหนึ่งท่ีใชกันอยางกวางขวาง และลักษณะของยาก็แตกตางกันมากท้ังทางฟสิกสและเคมี ตลอดจนกระท่ังลักษณะของการใชก็แตกตางกันไดมาก โดยท่ัวๆ ไปแลวมันจะมีลักษณะเปนของเหลวซ่ึงอาจมีตัวยาสํ าคัญเปนสวนประกอบอยูในลักษณะท่ีละลายหรือแขวนตะกอนอยูก็ได และอาจจะเตรียมโดยใชนํ้ า แอลกอฮอล นํ้ าเช่ือม (syrups) glycerin, oils, organic solvent หรือสวนผสมของส่ิงเหลานี้ก็ได

วัสดุท่ีจะนํ ามาใชเปนภาชนะสํ าหรับบรรจุยานํ้ าก็เชนกัน อาจแตกตางกันซ่ึงข้ึนอยูกับลักษณะและวิธีการใชของยานั้นๆ สํ าหรับขนาดบรรจุจํ านวนนอย ๆ เชน 15 ซีซี 30 ซีซี 60 ซีซี และ 120 ซีซีขวดแกวยังเปนท่ีนิยมใชมากท่ีสุด เพราะสามารถปองกันและตานทานตอสารเคมีไดดีกวาภาชนะอยางอื่น ๆ ขนาดบรรจุท่ีใหญข้ึน เชน ต้ังแต 1 แกลลอนข้ึนไปจะนิยมใชขวดท่ีทํ าจากพวกพลาสติกมากย่ิงข้ึน เพราะเบากวาและไมตองกลัวแตกเหมือนขวดแกว โดยเฉพาะขนาดบรรจุท่ีมีปริมาณมากเพื่อสงออกไปยังตางประเทศ จะนิยมใชขวดพลาสติกท่ีทํ าจากพวก Polyethylene

เนื่องจากในปจจุบันนี้ราคาขวดท่ีทํ าจากพลาสติกกับขวดแกวมีราคาไมตางกันมากนัก จึงมีผูนิยมหันมาใชขวดพลาสติกสํ าหรับบรรจุยานํ้ าท่ีมีขนาดเล็ก ๆ มากย่ิงข้ึน อยางไรก็ตามยังมียานํ้ าอีกหลายอยางท่ีไมสามารถใชขวดพลาสติกสํ าหรับบรรจุได ซ่ึงยังจํ าเปนจะตองใชขวดแกวอยู

ยาท่ีมีลักษณะเปนของเหลวหรือยานํ้ านี้พอแบงออกเปนพวกใหญไดดังนี้1. ยานํ้ าสํ าหรับรับประทาน (Aqueous oral preparations)2. ยานํ้ าสํ าหรับใชภายนอกหรือใชเฉพาะท่ี (Aqueous non-oral preparations)3. ยานํ้ าพวก Emulsions4. ยาฉีด (Injections)5. ยานํ้ าท่ีเปนพวก (Non-Aqueous Liquids)

Page 13: Packing Rx

13

ยานํ้ าสํ าหรับรับประทาน (AQUEOUS ORAL PREPARATIONS) ยาพวกนี้ไดแกInfusions สวนใหญจะเปนยาแผนโบราณหรือยาพ้ืนบาน ซ่ึงทํ าจากการหมัก (Macerating)

พวกผลหมากรากไมในนํ้ ารอนหรือนํ้ าเย็นเปนระยะเวลาหนึ่งแลวเทออกมาผานการกรอง ยาพวกนี้จะเก็บในขวดแกวหรือขวดพลาสติกก็ได

Extracts ยาพวกนี้ก็คลาย ๆ กับ Infusions เตรียมไดจากการสะกัดเอาตัวยาออกมาจาก Crudedrugs โดยวิธีการหมักหรือการตมการชง (Percolation) ดวยนํ้ าหรือนํ้ าผสมแอลกอฮอล ความแรงของยาอาจปรับใหเหมาะสมเชนในกรณีท่ีมีพวก Alkaloids อยูแลวจึงกรองกอนท่ีจะนํ าไปบรรจุตัวอยางของยาพวก Extracts ไดแก Extract of Quillaia Extract of Senega และ Extract of Squill เปนตน ภาชนะท่ีเหมาะสํ าหรับใชบรรจุยาพวกนี้ก็ไดแก ขวดแกวและขวดพลาสติก ภาชนะท่ีทํ าจากโลหะไมเหมาะสมสํ าหรับบรรจุยาพวกนี้ นอกจากท่ีทํ าจาก Stainless steel

Syrups เปนยานํ้ าซ่ึงมีนํ้ าตาลละลายอยูในปริมาณท่ีคอนขางสูง และมีตัวยาอื่น ๆ ผสมอยูดวยรวมท้ังตัวแตงกล่ินและสีหากตองการใหมีกล่ินและสีนาใช ภาชนะท่ีใชบรรจุยา Syrups ควรจะเปนพวกขวดแกวชนิดสีชา เพื่อปองกันแสงสวางซ่ึงอาจทํ าใหยาเปล่ียนสีไปได ภาชนะท่ีทํ าดวยโลหะนอกจาก stainless steel ไมควรนํ ามาบรรจุยาพวก Syrups บางชนิดอาจบรรจุในขวดพลาสติกไดแตก็ควรทดลองทํ า Stability test ดูเสียกอน

Syrups ท่ีมีสวนผสมของนํ้ าตาลต้ังแต 60% ข้ึนไป โดยปรกติแลวจะระงับการเจริญเติบโตของเช้ือรา อยางไรก็ตามภาชนะท่ีจะนํ ามาบรรจุ Syrups จะตองทํ าความสะอาดและตองใหแหงสนิท เพราะหากมีหยดนํ้ าตกลงไปบนผิดหนาของ Syrups หรือลงไปผสมกับ Syrups ตอนผิวบนก็จะทํ าให Syrup สวนนั้นเจือจางลง จนทํ าใหเชื้อราสามารถเจริญเติบโตขึ้นและจะทํ าให Syrups เกิดบูดเนาข้ึนได

Elixirs ยาท่ีเรียกวา Elixirs ก็คลาย ๆ กับพวก Syrups แตปรกติ Elixirs จะมีสวนผสมของแอลกอฮอลอยูดวย ภาชนะสํ าหรับบรรจุพวก Elixirs ก็ใชแบบเดียวกับพวก Syrups และควรจะมีขอระมัดระวังในการบรรจุเชนเดียวกันดวย

ยานํ้ าสํ าหรับใชภายนอกหรือใชเฉพาะท่ี (AQUEOUS NON-ORAL PREPARATIONS) ยาในกลุมนี้ไดแก

Lotions ไดแกยาพวก Aqueous solution เชน Zinc Sulphate Lotion หรือพวกSuspension ของสารซ่ึงไมละลายในนํ้ า เชน Calamine Lotion โดยปรกติแลวยาพวก Lotions จะเตรียมข้ึนมาเพื่อใชกับผิวหนังหรือหนังศีรษะ ภาชนะท่ีจะนํ ามาใชบรรจุพวก Lotions ก็ควรจะเปนพวกขวดแกว หากจะใชขวดพลาสติก ก็ควรจะคํ านึงถึงตัวยาใน Lotion นั้น ๆ วาจะมีปฏิกริยากับพลาสติกหรือไม ตัวยาอาจซึมหรือถูกดูดเขาไปในเนื้อพลาสติกได พวก Phenolic substances ซ่ึงใชเปน Disinfectants หรือ Bactericides อาจจะสูญเสียไปไดโดยทํ านองเดียวกัน

Eye Lotions จะตางจาก Lotions อื่น ๆ ท่ีจํ าเปนจะตองทํ าใหปราศจากเช้ือ ดังนั้นภาชนะท่ีใชบรรจุสวนใหญจึงเปนขวดแกว ขวดแกวท่ีนํ ามาใชก็จํ าเปนตองเลือกใหถูกกับชนิดของตัวยาดวย

Page 14: Packing Rx

14

เชน Lotion ท่ีมีคุณสมบัติเปนดาง เชน มีสวนผสมของ Sodium bicarbonate ก็ควรจะใชขวดแกวท่ีมีสวนประกอบของ alkali ต่ํ า ๆ หรือ Soda glass ขวดพลาสติกท่ีทํ าจาก High density polyethyleneก็สามารถนํ ามาใชแทนขวดแกวได หากสามารถทํ าใหปราศจากเช้ือไดกอนบรรจุยาและในการบรรจุยาลงไปก็จะตองบรรจุโดยวิธีท่ีสามารถปองกันมิใหเชื้อโรคปะปนลงไปได

Eye Drops ปรกติจะเปนสารละลายของตัวยาสํ าคัญในนํ้ าซ่ึงใชสํ าหรับหยดเขาตาและจะตองเปนยาท่ีปราศจากเช้ือเชนเดียวกับพวก Eye Lotion เพราะฉะนั้นภาชนะท่ีจะใชบรรจุก็ตองทํ าใหปราศจากเช้ือเชนเดียวกัน การทํ าใหปราศจากเช้ือจะข้ึนอยูกับตัวยาในยานั้น ๆ ถาหากสามารถทนตอความรอนได การบรรจุก็จะนิยมบรรจุลงในขวดกอนแลวนํ าไปทํ าใหปราศจากเช้ือดวยวิธี autoclaving หรือ Heating ก็ได แตถาหากยาถูกทํ าลายไดโดยความรอน ขวดท่ีจะนํ ามาใชก็จะตองทํ าใหปราศจากเช้ือเสียกอนท่ีจะนํ ามาบรรจุ

ขวดแกวท่ีใชสํ าหรับบรรจุควรจะเปนขวดแกวสีชา และแกวก็ควรจะเปนแกวชนิดเปนกลาง (Neutral glass) แตปรกติจะเปนพวก Soda glass treated ดังนั้นเพื่อการปองกัน alkali หลุดออกสูยาท่ีบรรจุอยู ขวดอยางนี้ควรจะนํ ามาใชสํ าหรับการบรรจุเพียงครั้งเดียว

ไดมีผูหันมาใชขวดพลาสติกแทนขวดแกวโดยมีฝาชนิดท่ีเปน Nozzle ซ่ึงสามารถบีบขวดใหยาออกมาเปนหยด ๆ ได นับวาสามารถปองกันการ contamination ระหวางการใชไดดีกวาพวกท่ีเปนหลอดสํ าหรับหยอด แตขวดพลาสติกก็มีขอเสียอยางท่ีเคยกลาวแลวคือ มันสามารถดูดซับเอาตัวยาบางอยางไวได โดยเฉพาะพวก Bactericides ดังนั้นกอนใชขวดพลาสติกสํ าหรับบรรจุ Eye Drops ก็ควรทํ าการทดสอบใหแนใจเสียกอนดวย

การบรรจุ Eye Drops ท่ีดีควรจะเปนการบรรจุเพื่อใชเพียงครั้งเดียวแลวท้ิง (Disposable container) ซ่ึงจะขจัดปญหาตาง ๆ ไดมาก แตการบรรจุแบบนี้จะทํ าใหตนทุนของยาสูงมาก จึงไมเปนท่ีนิยมใชกันยาน้ํ าพวก EMULSIONS

Emulsions เปนยาเตรียมท่ีมีสวนผสมของนํ้ าและนํ้ ามันซ่ึงแขวนตัวอยูดวยกัน อาจจะเปนนํ้ ามันแขวนตัวอยูในนํ้ าหรือนํ้ าแขวนตัวอยูในนํ้ ามันก็ได Emulsions สวนใหญเปนชนิดนํ้ ามันในนํ้ า (Oil in Water) การเลือกใชภาชนะสํ าหรับบรรจุพวก Emulsions นี้ถาหากมิใชขวดแกวควรคํ านึงปฏิกิริยาท่ีอาจเกิดจากะวกนํ้ ามันกับภาชนะท่ีจะนํ ามาใชบรรจุยาฉีด (INJECTIONS)

มียาเปนจํ านวนไมนอยจะออกฤทธ์ิไดดีตอเม่ือใหในรูปของยาฉีด ยาฉีดสวนใหญจะเปนสารละลายของตัวยาในนํ้ าบริสุทธ์ิ การเตรียสยาฉีดจํ าเปนจะตองทํ าใหปราศจากเช้ือซ่ึงอาจจะใชวิธีหนึ่งวิธีใดท่ีเหมาะสมสํ าหรับยานั้น ๆ และภาชนะท่ีจะนํ ามาใชบรรจุก็จะตองทํ าใหปราศจากเช้ือดวย และจะตองสามารถเก็บยาท่ีบรรจุอยูใหคงสภาพท่ีปราศจากเชื้อไดจนกระท่ังถึงเวลาท่ีนํ าออกมาใช ภาชนะสวนใหญท่ีใชบรรจุทํ าจากแกวซ่ึงอาจจะอยูในรูปของหลอด (ampoules) สํ าหรับบรรจุยาเพื่อใชเพียงครั้งเดียวหรืออยูในขวด (vials) สํ าหรับการใชครั้งเดียวหรือหลาย ๆครั้ง

Page 15: Packing Rx

15

สํ าหรับพวกนํ้ าเกลือซ่ึงใชโดยการใหเขาสูรางการทางเสนเลือด จํ าเปนจะตองใหในปริมาณท่ีมากและในสมัยกอนนี้จะบรรจุเฉพาะในขวดแกวเทานั้น ปจจุบันนี้นํ าเกลือหรือพวก Electrolyte solutions จะนิยมบรรจุในภาชนะท่ีทํ าดวยพลาสติกมากย่ิงข้ึน ซ่ึงอาจทํ าจาก polyethylene polyprpylene หรือ polyvinyl chloride เม่ือเทียบกับขวดแกว ภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกมีขอดีกวาท่ีไมสวนประกอบของ alkali ซ่ึงจะไมทํ าให pH ของ solutions เพิ่มข้ึน นอกจากนี้แลวภาชนะพลาสติกสามารถแฟบไดโดยมิตองอาศัย Air-inlet จึงสามารถขจัดการ contamination จากอากาศได อยางไรก็ตามภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกนอกจาก P.V.C. แลวจะมีลักษณะขุนไมใสเหมือนขวดแกว จึงยากแกการตรวจเช็คของท่ีบรรจุอยูภายใน และพลาสติกท่ีจะนํ ามาใชทํ าภาชนะสํ าหรับบรจุยาฉีดจะตองตรวจสอบอยางละเอียดเพื่อใหแนใจวาไมมีสวนผสมของสารท่ีอาจทํ าใหเกิดพิษข้ึนไดยาที่เปนพวก Non-Aqueous Liquids ยาพวกน้ีไดแก

Alcohol โดยเฉพาะ Ethyl alcohol นับวาเปน organic solvent ท่ีมีประโยชนและใชมากท่ีสุดในการเตรียมยาประเภทนี้ นอกจากจะไมคอยมีโทษแลวแอลกอฮอลยังชวยยับย้ังการเจริญเติบโตของเชื้อโรคดวย ความแรงท่ีใชจะมีต้ังแต 45% จนถึง 80% สํ าหรับใชสะกัดตัวยาดวยวิธี percolation หรือ maceration

แอลกอฮอลสามารถบรรจุในภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกไดอยางปลอดภัยแตตองคํ านึงถึงตัวยาท่ีผสมอยูดวยวา จะมีปฏิกิริยากับพลาสติกหรือเกิดการสูญเสียไปไดหรือเปลา เชน Tincture of Iodine ถาบรรจุในขวดพลาสติก Iodine จะซึมซาบเขาไปเนื้อพลาสติกได ซ่ึงจะทํ าใหปริมาณของ Iodine สูญเสียไป

พวก Essential oils ซ่ึงละลายอยูในแอลกอฮอลก็เชนกัน สามารถซึมหรือถูกดูดเขาไปในเนื้อของพวก polythene เชน Tincture of Chloroform and Morphine เม่ือบรรจุในขวด polythene จะทํ าใหกล่ินหายไปอยางรวดเร็วเพราะ peppermint oil, chloroform และ ether สูญเสียไปจากการซึมซาบเขาไปในเนื้อ polythene ดังนั้นการจะใชขวดพลาสติกสํ าหรับบรรจุพวกนี้จํ าเปนจะตองคํ านึงส่ิงเหลานี้ใหมาก ควรจะเล่ียงไปใชภาชนะท่ีทํ าจากวัสดุอยางอื่น ๆ แทน เชน พวกขวดแกว

Oils พวกนํ้ ามันท่ีใชทางยาไดแกพวก fixed vegetable oils เชน Olive oil, Arachis (peanut) oil, Caster oil และ Almond oil เปนตน การบรรจุพวกนี้จะไมคอยมีปญหามากนัก อาจใชภาชนะท่ีทํ าจากแกว โลหะ หรือพลาสติกก็ได ถาเปนภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติก P.V.C. จะเหมาะสมท่ีสุด แตก็อาจใชภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกชนิด High density polyethylene และ polypropylene แทนได อยางไรก็ตาม Oils สามารถซึมซาบเขาไปในผนังบาง ๆ ของขวดพลาสติกชนิด Low density polyethylene

Page 16: Packing Rx

16

บทท่ี 2กลไกท่ีทํ าใหยาเกิดความเสื่อมเสีย (Spoilage Mechanism)

ยาแทบทุกชนิดไมวาจะเปนยาเม็ด ยานํ้ า หรือยาฉีด อาจมีผลกระทบกระเทือนจากกลไกบางประการท่ีจะทํ าใหยาเส่ือมสมรรถภาพลงไปได ซ่ึงจะทํ าใหผลในการบํ าบัดรักษาเปล่ียนแปลงไป ตัวยาบางชนิดนอกจากจะเส่ือมสมรรถภาพลง แลวยังอาจแปลเปล่ียนไปเปนสารท่ีทํ าใหเกิดอันตรายข้ึนได การเปล่ียนแปลงเหลานี้อาจเกิดจาก Chemical incompatibility, acidity, alkalinity, hydrolysis, trace elements, metals, atmospheric conditions, light, heat สาเหตุบางประการท่ีทํ าใหเกิดผลเหลานี้ข้ึนมาเราสามารถหาทางปองกันได เชน การพยายามรปรับปรุงสูตรหรือกระบวนการผลิตใหเหมาะสมย่ิงข้ึน อยางไรก็ตามสํ าหรับในเลมนี้จะกลาวถึงเฉพาะ สาเหตุท่ีอาจปองกันไดโดยการใชภาชนะบรรจุท่ีถูกตองและเหมาะสม ซ่ึงสาเหตุเหลานี้ก็ไดแก ความรอน ความช้ืน แสง และอากาศ (Oxidation)

ความรอน (Heat) อาจมีผลตอยาต้ังแตทํ าใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ จนถึงทํ าใหตัวยาเส่ือมเสียคุณภาพหรือสูญหายไป เชน ยาพวกขี้ผ้ึงหรือครีม เม่ือถูกความรอนสูงข้ึนจะทํ าใหยาเหลวลงตัวยาอาจแยกตัวออก และหากรอนมากข้ึน สวนท่ีเปนนํ้ าและ Volatile liquids ก็จะระเหยออกไปทํ าใหข้ีผ้ึงหรือครีมนั้น ๆ แหงแข็งได โดยเฉพาะถาภาชนะท่ีนํ ามาบรรจุนั้นสามารถยอมใหไอนํ้ าซึมผานไดงาย ๆ หรือผิดฝาไดไมสนิทก็จะเรงใหการเปล่ียนแปลงนี้เปนไปไดเร็วย่ิงข้ึน

มียาหลายชนิดโดยเฉพาะท่ีเปน biological nature รวมท้ังพวก Vitamins, Hormones, vaccines, antibiotics และ antitoxins จะเส่ือมเสียและแปลสภาพไปเม่ือโดนความรอนหรืออุณหภูมิสูง ๆ และถาโดนแสงสวางดวยก็จะย่ิงทํ าใหการเปล่ียนแปลงเปนไปไดเร็วย่ิงข้ึน ภาชนะบรรจุท่ีดีถึงแมสามารถปองกันส่ิงเหลานี้ไดบางแตก็เฉพาะสํ าหรับการเก็บไวในระยะเวลามนานนักเทานั้น วิธีปองกันท่ีดีท่ีสุดก็คือ การจัดเก็บยาเหลานี้ไวในสถานท่ีท่ีเย็น ๆ ในการขนสงถายาจะตองโดนกับความรอนหรืออุณหภูมิสูง ๆ ก็อาจปองกันไดโดยหอหุมดวยภาชนะท่ีเปนฉนวนความรอน เชน Plastic forms

ในการขนสงพวก Vaccines ท่ีตองเก็บในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิต่ํ า ๆ เชน ต่ํ ากวา 100C จํ าเปนจะตองจัดบรรจุเปนพิเศษ เชน ตองใสในถัง fiberboard ซ่ึงมีถังอีกใบหนึ่งใสนํ้ าแข็งไวเพื่อเปนตัวรักษาใหอุณหภูมิต่ํ าอยูตลอดเวลาการขนสง

ความช้ืน (Moisture) นับเปนส่ิงหนึ่งท่ีจะตองระมัดระวังอยางมากในการบรรจุยาโดยเฉพาะยาท่ีมีความไวตอความช้ืน แมกระท่ังยานํ้ าความช้ืนก็อาจทํ าใหเกิดผลบางอยางข้ึนได เชนการใชขวดบรรจุท่ีแหงไมสนิทมีละออกงหรือหยดนํ้ าเกาะอยูเม่ือบรรจุยาลงไป เชน ยานํ้ าเช่ือม จะทํ าใหนํ้ าเชื่อมนั้นเจือจางไป ซ่ึงพวกเชื้อราก็จะเกิดข้ึนไดเม่ือความเขมขนของนํ้ าเช่ือมลดลง

Page 17: Packing Rx

17

สารเคมีท่ีดูดความช้ืนไดงาย ๆ เชน ammonium sulfate, sodium chloride, potassium citrate โดยเฉพาะถาบรรจุในถังใหญ ไ และการปดไมดี ความช้ืนสามารถเล็ดลอดเขาไปได จะทํ าใหเกิดการจับตัวกันเปนกอนแข็ง พวก anhydrous chemicals ก็เชนเดียวกัน เชน พวก dried sodium sulfate, dried sodium carbonate, dried magnesium sulfate จะดูดเอาความช้ืนและจะกลายเปนผลึกแข็ง ๆ

Magnesium Sulfate Paste และ Mixture of dried magnesium sulfate and glycerine ถาบรรจุในภาชนะท่ียอมใหความช้ืนซึมผานไดและไมปดใหสนิทดี มันจะดูดเอาความช้ืนเขาไปทํ าให magnesium sulfate ตกผลึกซ่ึงจะเปนผลใหประสิทธิภาพในการบํ าบัดรักษาลดลง

พวก Organic chemicals บางชนิดความชื้นจะทํ าใหเกิดการเปล่ียนแปลงไดท้ังทางเคมีและฟสิกส เชน aspirin จะถูก hydrolyse เปน salicylic acid และ acetic acid ผงยาท่ีไดจากพืชผักก็เชนเดียวกัน เชน digitalis ถึงแมจะดูดความช้ืนไดนอย แตถาโดนความช้ืนมาก ๆ ก็จะทํ าใหตัวยาเส่ือมสลายลงไปได

Penicillin จะคงตัวไดดีพอควรท่ีอุณหภูมิประมาณ 1000C และอากาศแหง แตถาอุณหภูมิต่ํ าลงและมีความช้ืนอยู จะทํ าใหประสิทธิภาพลดลงอยางรวดเร็ว พวกวิตามินถึงแมวาจะมีความคงตัวดีในสูตรท่ีเหมาะสม แตก็ควรระมัดระวังเกี่ยวกับความช้ืนใหมาก

ในการปองกันหรือลดผลจากความช้ืนนี้เราพอทํ าไดโดยการเลือกภาชนะท่ีทํ าจากวัสดุท่ีเหมาะสมและการใชฝาปดท่ีดี วัสดุบางชนิดสามารถปองกันนํ้ าไดแตมิอาจปองกันการซึมผานของไอนํ้ าได เชน พวกแผนไนลอน สามารถกันนํ้ าได แตความช้ืนสามารถซึมผานไดสูง วัสดุหรือภาชนะบรรจุท่ีสามารถกันความช้ืนไดอยางดีก็คงเปนพวกแกวและโลหะแตก็ข้ึนอยูกับฝาปดดวย ถาตองการใหสามารถปองกันไดเด็ดขาดก็อาจจะตองเชื่อมใหติดกันเปนเนื้อเดียวกัน

ภาชนะท่ีทํ าจาก High density plyetylene และ polypropylene ก็สามารถปองกันความช้ืนไดดีพอควรหากสามารถปดไดอยางสนิท แตก็ไมแนะนํ าใหใชสํ าหรับบรรจุยาท่ีมีความไวตอความช้ืน ภาชนะอยางอื่น ๆ เชน ซอง แผง หรือถุง ท่ีทํ าจาก foil/film/paper laminations ก็อาจสามารถปองกันความช้ืนไดดีพอควร โดยเฉพาะถาย่ิงหนาก็ย่ิงปองกันความช้ืนไดดีย่ิงข้ึน

อยางไรก็ตามในการบรรจุยาท่ีมีความไวตอความช้ืนนั้นจะตองแนใจวาตัวยาเองก็จะตองแหงและในหองท่ีทํ าการบรรจุก็ควบจะควบคุมความช้ืนใหต่ํ าอยูตลอดเวลาท่ีบรรจุ อาจใสตัวชวยดูดความชื้น เชน silica gel ลงไปในขวดท่ีบรรจุดวยก็ได ซ่ึงมีนจะชวยดูดความชื้นท่ีอาจหลงเหลืออยูในขวดได

สํ าหรับตัวภาชนะบรรจุเองก็เชนกัน กอนจะใชบรรจุยาลงไปจะตองตรวจสอบดูใหแนใจวา ภาชนะเหลานั้นแหงสนิทดี ในบางกรณีการขนถายภาชนะจากท่ีเย็นไปสูท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูงกวาอาจทํ าใหความช้ืนรวมตัวกันเกาะติดอยูดานในของภาชนะได พวกสํ าลีท่ีจะใชใสลงในขวดเพื่อปองกันเม็ดยาแตกก็เชนกัน กอนใชควรจะนํ ามาอบใหแหงเสียกอน และเวลาใสลงในขวดก็จะตองระมัดระวังมิให

Page 18: Packing Rx

18

ใยของสํ าลีออกมานอกปากขวด เพราะเวลาปดฝาลงไปจะทํ าใหปดไดไมสนิท ซ่ึงจะเปนชองทางท่ีทํ าใหไอนํ้ าจากภายนอกซึมผานเขาไปได

แสงและอากาศ (Light and Oxidation) การปองกันแฟคเตอรท้ังสองอยางนี้ทํ าไดไมยากนัก แตก็จํ าเปนจะตองระมัดระวังใหมากเชนกัน เพราะปจจัยท้ังสองนี้จะคอยเสริมกันซ่ึงจะทํ าใหเกิด Oxidation และตัวยาจะเส่ือมเสียลงหรือเกิดเปนสารท่ีอันตรายข้ึนได ตัวอยางเชน Parakdehyde ถาโดนแสงและออกซิเจน จะถูก oxidise และทํ าใหเกิด acetaldehyde และ peroxide ข้ึน ซ่ึงถาใหโดยการฉีดก็จะทํ าใหเกิดอันตรายข้ึน ดวยเหตุนี้ B.P. จึงบอกใหบรรจุในขวดท่ีมีสีทึบและเก็บในท่ีเย็น และขนาดบรรจุก็ควรจะไมมากจนเกินไป เม่ือเปดใชแลวควรใชใหหมดในระยะเวลาส้ัน ๆ

มีสารเคมีหลายอยางโดยเฉพาะท่ีอยูในรูปของยานํ้ าจะถูก Oxidise เม่ือโดนแสง เชน ferrous salts, mercuric salts เปนตน organic compound เชน chlorpromazine จะถูก oxidise เปล่ียนเปน inactive sulphoxy compound สวนตัวอยางยาอยางอื่น ๆ ท่ีโดนแสงแลวทํ าใหคุณภาพในการบํ าบัดรักษาเส่ือมลงไป เชนพวก Antibiotics ไดแก chloramphenical และ Tetracycline พวก Hormone ไดแก Adrenalin และ Insulin พวก Glocosides ไดแก digitalis พวก Vitamins ไดแก Vitamin A, thiamine, riboflavine, pyridoxine, cyanocobalamine, folic acid, ascorbic acid และ calciferol พวก steriods ไดแก cortisone, prednisone, prednisolone และพวก Vaccines ท้ังจาก Bacterial และ Viral

การบรรจุยาฉีดบางชนิดเพื่อปองกัน Oxidation จํ าเปนตองบรรจุ inert gas ลงไปดวย เชน Nitrogen ยาฉีดพวกนี้ไดแก ยาท่ีมีสวนผสมของ adrenalin, ascorbic acid และ ergometrine เปนตน

ในการเลือกใชภาชนะใหเหมาะสมเพื่อปองกันแสงและ oxidation เราจํ าเปนจะตองทราบวายาท่ีจะบรรจุนั้น ๆ มีตัวยาตัวใดบางท่ีมีผลกระทบกระเทือนจากแสงได ในกรณีท่ีไมแนใจควรจะเลือกภาชนะท่ีสามารถปองกันไดไวกอน เชน ใชขวดท่ีทึบแสงหรือภาชนะท่ีทํ าจากโลหะหรือพลาสติกท่ีผสมสีลงไปดวย ขวดแกวสีชาจะสามารถปองกันแสงไดดีพอสมควรแตจะชวยปองกันไดมากข้ึนหากบรรจุขวดไวในกลองอีกทีหนึ่ง สมัยหนึ่งหลอดยาฉีดนิยมใชเปนสีชา แตเนื่องจากการบรรจุจะตองมีกลองนอกซ่ึงสามารถปองกันแสงได สมัยนี้จึงพิจารณากันวาไมจํ าเปนจะตองใชหลอดสีชาอีก และการใชหลอดใสจะสะดวกในการตรวจสอบ เพราะสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน

ยาเม็ดบางชนิดท่ีผูผลิตใสสีลงไปดวยเพื่อความสวยงามถึงแมวาแสงไมมีผลตอตัวยา แตแสงอาจทํ าใหสีเปล่ียนแปลงหรือจางหายไปได ยาพวกนี้ทางท่ีดีจึงควรบรรจุในภาชนะท่ีทึบแสงหรือควรจะมีกลองนอกดวย

แฟคเตอรอื่น ๆ (Other factors) นอกจากแฟเตอรท่ีกลาวแลวขางตน ยังมีแฟคเตอรอื่น ๆ อีกท่ีอาจทํ าใหยาเกิดการเส่ือมเสียลงไปได แตสวนใหญแลวก็ไมรุนแรงเทาแฟคเตอรท่ีกลาวมาแลว ท้ังนี้ก็ข้ึนอยูกับตัวยาและสวนผสมของนํ้ าตาลหรือท่ีไดมาจากสัตวมักจะทํ าใหเกิดเชื้อราข้ึนไดโดยเฉพาะถามีความช้ืนอยูดวย นอกจากนี้แลวยาพวกนี้ พวกมด แมลง หรือหนูชอบกัดกินโดย

Page 19: Packing Rx

19

เฉพาะในระหวางการขนสง เพราะฉะนั้นการบรรจุยาพวกนี้จึงจํ าเปนจะตองบรรจุในภาชนะท่ีปดสนิทและสามารถปองกันส่ิงเหลานี้ได

พวกภาชนะท่ีเปนโลหะอาจเกิดการ contamination กับตัวยาและทํ าใหยาเส่ือมเสียไดเชนกัน เชน ในการใชกระปองโลหะบรรจุพวก ascorbic acid และ Thiamine hydrochloride ควรจะปองกันมิใหยาสัมผัสกับโลหะโดยตรง โดยการเคลือบภายในกระปองดวย lacquers ท่ีเหมาะสมหรืออาจใช plastics liners ก็ได

Carbon dioxide จะทํ าใหสารเคมีบางชนิดเกิดการเปล่ียนแปลงเปน insoluble carbonates เชนพวก lead และ Calcium พวก Magnesium oxide โดยเฉพาะในขนาดบรรจุจํ านวนนอย ๆ จะเกิดเปน magnesium carbonate เพราะฉะนั้น ในการบรรจุยาพวกนี้ก็ควรจะบรรจุในขวดแกว

บทที่ 3การทํ าใหปราศจากเชื้อ (Sterilisation)

การทํ าใหปราศจากเช้ือหรือ �Sterilisation� นั้น หมายถึงการทํ าลายหรือขจัดเอาพวกจุลินทรียท่ีมีชีวิตอยูออกไปไมวาจุลินทรียนั้นจะเปนพวก Bacteria, Virus หรือ Fungus ท้ังนี้ก็เพื่อปองกันมิใหจุลินทรียเหลานี้เขาสูรากาย ยาทุกชนิดท่ีนํ าหรือผลิตข้ึนมาเพื่อใชฉีดเขารางกายจะตอง sterile นอกจากนี้แลวยาท่ีผลิตข้ึนมาสํ าหรับใชกับอวัยวะท่ีสํ าคัญบางอยางก็จํ าเปฯจะตองทํ าใหปราศจากเช้ือดวย เชนยาพวก Eye drops, Eye ointments, Eye lotions เปนตน

การท่ีจะเลือกวาจะ sterile โดยวิธีใดนั้นมิไดข้ึนอยูกับชนิดหรือธรรมชาติของยาแตอยางเดียว แตยังข้ึนอยูกับภาชนะท่ีใชบรรจุดวยวาภาชนะเหลานั้นสามารถ sterile ไดโดยวิธีใด ดังนั้นจึงจํ าเปนจะตองมีความรูและความเขาใจถึงเรื่องของภาชนะท่ีจะนํ ามาใชบรรจุดวย

ทางท่ีดีแลวการ sterile นั้นควรจะ sterile เม่ือยาถูกบรรจุลงในภาชนะเรียบรอยแลวคือการ sterile ท้ังภาชนะท่ีบรรจุ แตโดยธรรมชาติของยาและของภาชนะท่ีบรรจุแลวบางครั้งเราก็มิสามารถทํ าการ sterile พรอมกันได จํ าเปนจะตองแยก sterile แลวนํ ามาบรรจุและ seal แบบปราศจากเช้ือการ sterile อาจทํ าไดหลายวิธีดังน้ี

1. โดยอาศัยความรอน ซ่ึงนับเปนวิธีท่ีใหผลดี ความรอนสามารถทํ าลายเชื้อจุลิน ทรียได ซ่ึงประสิทธิภาพในการทํ าลายเชื้อจะข้ึนอยูกับอุณหภูมิท่ีใช ระยะเวลาและความช้ืน ถาใชอุณหภูมิสูงระยะเวลาในการใช sterile ก็ลดลง กลไกท่ีทํ าใหเชื้อจุลินทรียถูกทํ าลายหรือตายเช่ือวาเกิด

Page 20: Packing Rx

20

จากการ coagulation ของ protein ในเซล นอกจากนี้แลวยังพบวาความช้ืนจะชวยทํ าใหการ sterile ไดผลท่ีอุณหภูมิต่ํ าลง

การ sterile โดยความรอนอาจทํ าได 2 วิธี คือ โดย Dry Heat และ Moist HeatDry Heat สารหรือวัสดุท่ีสามารถทนความรอนไดท่ีอุณหภูมิเหนือ 1400 C

(2840F) อาจทํ าการ steile ไดโดยวิธีนี้ ถาใชอุณหภูมิ 1800 C (3560F) เปนเวลา 2 ช่ัวโมง หรือท่ีอุณหภูมิ 2600C (5000F) เปนเวลาประมาฯ 45 นาที จะสามารถฆาเช้ือท่ีเปน spores และ vegetative forms ของเช้ือจุลินทรียทุกชนิดได อุณหภูมิท่ีใชในการ sterile ภาชนะสํ าหรับบรจุโดยท่ัวไปควรจะใชอุณหภูมิระหวาง 1500 C เปนเวลา 1 ช่ัวโมง ถึงอุณหภูมิ 1900 C เปนเวลา 90 นาที ภาชนะท่ี sterile โดยวิธี Dry Heat สวนใหญไดแกภาชนะท่ีเปนแกว ฝาปดโลหะและ collapsible tubes

Moist Heat ใหผลดีกวาการ sterile โดยวิธี Dry Heat จะทํ าใหเกิดการ coagulation ของ Cell protein ท่ีอุณหภูมิต่ํ ากวา Dry Heat ปรกติถาใชไอนํ้ าภายใตความกดดันจะใชเวลาเพียง 20 นาทีท่ีความดัน 15 ปอนด (1210 C) หรือจะใชเวลาเพียง 3 นาทีท่ีความดัน 27 ปอนด (1320C) เวลานี้เริ่มนับเม่ือไอนํ้ าเขาไปไดทุก ๆ สวนท่ีตองการจะ sterile ในกรณีท่ีเปนสารละลายอยูในขวดความรอนจะตองถูกนํ าพาผนังของขวดและทํ าใหสารละลายรอนข้ึนเทากับอุณหภูมิภานอก ซ่ึงในกรณีนี้จะตองใชเวลานานย่ิงข้ึน

ตาม B.P.C. ไดแนะนํ าเลาและความกดดันท่ีใหผลในการ sterile ไวตามตารางท่ี 1ตารางท่ี 3.1 Exposure time to effect sterilization

Pressure (in excess of Atmospheric)Temperature 0C

Kgf/cm2 Lbf/in2 Time (min)

115-116121-123126-129134-138

0.71.051.402.55

10152032

3015103

ภาชนะท่ีทํ าจากแกวและโลหะจะทนทานตออุณหภูมิปรกติท่ีใชกับ autoclave ได จึงไมมีปญหาจากการ sterile โดยวิธีนี้ อยางไรก็ตามในการท่ีจะนํ าเอาภาชนะโดยเฉพาะท่ีเปนแกวออกจาก autoclave จํ าเปนจะตองระมัดระวังในเรื่องของ Thermal shock อันเกิดจากการนํ าออกมาเร็วเกินไปกอนท่ีปลอยใหภาชนะเหลานนี้เย็นลงพอสมควร หรือการท่ีออกมาถูกกับอากาศขางนอกท่ีเย็นกวามาก ๆ

สํ าหรับภาชนะบรรจุยาท่ีทํ าจากพลาสติกจะใช sterile โดยวิธีไดหรือไมยอมข้ึนอยูกับคุณสมบัติของพลาสติกท่ีใชทํ าภาชนะนั้น ๆ พลาสติกบางชนิด เชน Polystyrene ซ่ึงจะออนตัวท่ี

Page 21: Packing Rx

21

อุณหภูมิต่ํ ากวาอุณหภูมิสํ าหรับ autoclave ก็ไมสามารถนํ ามา sterile โดยวิธีนี้อาจทํ าใหภาชนะเกิดบิดเบี้ยวไปได หรืออาจเกิดข้ึนกับท่ีเกลียวทํ าใหการปดฝาปดไดไมสนิท

ภาชนะท่ีบรรจุยาเรียบรอยแลวและนํ ามาทํ าการ sterile ถึงแมวาภาชนะนั้นจะทนตออุณหภูมิท่ีใชได ก็อาจเกิดการบิดเบี้ยวหรือเสียรูปทรงได เชนกัน บางทีก็อาจเกิดการระเบิดข้ึนไดระหวางท่ีทํ าใหเย็นลงในขณะท่ียังรอนอยูมาก ๆ และความกดดันภายในสูง นอกเสียจากวา ความดันภายใน autoclave ระหวางท่ีทํ าใหเย็นลงถูกทํ าใหสมดุลยกับความดันภายในภาชนะท่ีบรรจุ ซ่ึงพวกนี้ก็ไดแกถุงพลาสติกท่ีทํ าจาก Polyethylene, polypropylene และ Plasticised P.V.C.

ในการ sterile โดย autoclave นี้ส่ิงหนึ่งท่ีพึงจะตองคอยระมัดระวังและตรวจสอบอยูเสมอก็คือ ความเท่ียงตรงของอุณหภูมิภายใน autoclave บางครั้งเราต้ังอุณหภูมิไวอยางหนึ่ง แตอุณหภูมิจริง ๆ ภายใน autoclave อาจแตกตางจากท่ีเราต้ังไวก็ได เพื่อความแนนอนจึงจํ าเปนจะตองอาศัยตัวช้ีบอกหรือ Indicators ซ่ึง Indicator นี้ก็มีอยูหลายชนิด ท่ีใชมากก็ไดแก Thermocouple ซ่ึงปรกติจะตอกับ recorders ซ่ึงสามารถทํ าการบันทึกอุณหภูมิไวไดตลอดเวลา

นอกจาก Thermoocouple และ Indicator ท่ีใชอาจเปนพวก wax หรือ chemical pellets ซ่ึงหลอมเหลวท่ีอุณหภูมิ 1210 C และพวก Paper strips ท่ีทํ าใหชุมดวยสารเคมีซ่ึงเปนสีเม่ือถูกความชื้นและความรอน

2. การ sterile โดยมิตองอาศัยความรอน มีวิธีการอยูหลายแบบดวยกัน คือ1. โดย Ultra-violet Light แสง Ultra-violet มีอํ านาจในการซึมผานเขาไปไดต่ํ ามากจึง

เหมาะสมท่ีจะใชสํ าหรับ sterile บริเวณผิวของภาชนะหรือเพื่อลดปริมาณของเชื้อจุลินทรียในหองท่ีตองปฏิบัติงานแบบ aseptic processes แสง Ultra-violet สามารถทํ าไดจาก mercury vapor lamps มี wave length 2537 Angstrom units สํ าแสงจะเดินทางเปนเสนตรงและความเขมขนจะลดลงเปนสัดสวนกับระยะทางท่ีไกลข้ึน สามารถซึมซาบผานอากาศและนํ้ าสะอาดไดดี แตถามีเกลือแรอยูในนํ้ าหรือฝุนละอองอยูในอากาศจะทํ าใหการซึมซาบผานลดลงอยางรวดเร็ว

ประสิทธิภาพในการฆาเช้ือของแสง Ultra-violet ข้ึนอยูกับความเขมของรังสีและเวลาท่ีเชื้อถูกรังสีนี้ นอกจากนี้ก็ยังข้ึนอยูกับความรูสึกไวตอแสงของเช้ือนั้น ๆ ดวย จากตารางท่ี 2 จะแสดงใหเห็นชวงของความไวบางอันซ่ึงเราจะเห็นวาถาความเขมของแสงบรผิวเทากับ 20 microwatts per cm2 จะแนะนํ าใหใชความเขมต่ํ าสุดและตองใชเวลาประมาณ 1100 วินาที เพื่อท่ีจะฆา B. subtilis spores แตถาจะฆา S. hemolyticus จะใชเวลาเพียงประมาณ 275 วินาที ถาความเขมขนเพิ่มข้ึนเวลาท่ีใชก็จะลดลง โดยท่ัวไป Ultra-violet lamp ท่ีมีกํ าลัง 30 watts จะทํ าใหเกิดความเขมประมาณ 85 mw. / cm2 ท่ีระยะทาง 1 เมตร ดังนั้นถาใชไฟขนาดนี้เพื่อฆาเช้ือ S. hemolyticus จะตองใชเวลาประมาณ 65 วินาทีในระยะทาง 1 เมตร ความเขมของแสง Ultra-violet อาจวัดไดโดยเครื่องวัดแสงพิเศษซ่ึงมีหลอดแสงท่ีมีความไวตอ 2537 A. wave length

Page 22: Packing Rx

22

ตารางท่ี 3.2 Intersity of Radiation at 2537 A. Necessary to completely Destroy CertainMicroorganisms

Organisms Energy (nw.-sec/cm2)Bacillus subtilisB.Subtilis sporesEberthella typhosaEscherichia coli

Pseumonas aeruginosaSarcin lutea

Stapphylococcus hemolyticusStreptococcus cerevisialSaccharomyces cerevisial

Penicillium roquefortiAspergillus niger

Rhizopus nigricans

1100022000410066001050026400660055001320026400330000220000

2. Infra-red มีอํ านสจในการซึมผานไดสูงซ่ึงจะทํ าใหวัสดุท่ีโดนกับลํ าแสงนี้มีอุณหภูมิสูงข้ึน ปรกติ Infra-red จะใชสํ าหรับในการบํ าบัดรักษาและสํ าหรับการหุงตมในตู อาจใชสํ าหรับ sterile โดยมีมันทํ าใหความรอนเกิดข้ึนจนถึงจุดท่ีสามารถฆาเช้ือได

3. Ionizing radiation สามารถทํ าลายเชื้อจุลินทรียไดเนื่องจากผลในการทํ าลายตอ contents ของ living cells ซ่ึง Ionizing radiation นี้มีอยู 2 ชนิดดวยกันคือ

1) High energy radiation ซ่ึงไดจาก Electron acclerators มีอํ านาจในการซึมผานไดคอนขางต่ํ า จึงเหมาะสมสํ าหรับ sterile ส่ิงของท่ีเปนช้ินเล็กหรือแผนบาง ๆ

2) Gamma radiation เกิดจากสารเชน Cobolt 60 เหมาะสํ าหรับใช sterile พวกพลาสติกโดยเฉพาะ Thermoplastics ซ่ึงไมสามารถ sterile โดยความรอน

3) การ sterile โดยอาศัยกระบวนการเคมี (Chemical Processes of Sterilization) มีอยูหลายชนิดเชนกัน1) Gas sterilization สามารถนํ ามาใชกับภาชนะสํ าหรับบรรจุ และ packaging

materials อื่น ๆ โดยเฉพาะพวกภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกซ่ึงไมสามารถทนตอความรอนหรืออุณหภูมิสูง ๆ อยางท่ีใชกับ autoclave หรือ Dry Heat

แกสท่ีใชในการ sterile ก็มีพวก Ethylene oxide, Propylene oxide, formaldehydeและ B-propiolactone แตท่ีนอยมใชมากท่ีสุดก็คือ Ethylene oxide

Page 23: Packing Rx

23

Ethylene oxide เปนของเหลวที่ไมมีสี มี Boiling point ท่ี 10.70 C ดังนั้นท่ีอุณหภูมิหองจะมีลักษณะเปนแกส เปนแกสท่ีมีอันตรายและไวไฟ ดังนั้นในการนํ ามาใชจึงตองมีการควบคุมและระมัดระวังเปนพิเศษ ประสิทธิภาพในการ sterile ของ Ethylene oxide ข้ึนอยูกับ

1. ความเขมขน (Concentration) อาจนํ ามาใชในลักษณะบริสุทธ์ิหรือใชผสมกับแกสเฉ่ือยอยางอื่น ๆ เชน carbon dioxide, nitrogen หรือพวก chlorofluoromethanes โดยมมี Ethylene oxide ผสมอยูประมาณ 10-15%

2. อุณหภูมิ (Temperature) ถาสวนผสมของ Ethylene oxide ต่ํ า จะตองใชอุณหภูมิสูงข้ึน สํ าหรับ Ethylene oxide ท่ีผสมปรกติจะใชอุณหภูมิประมาณ 600 C

3. ความช้ืน (Humidity) พวกเช้ือจุลินทรียท่ีมีลักษณะแหง ๆ หรือมีสวนท่ีเปนนํ้ าอยูนอยจะสามารถตานทานตอการ sterile โดยแกสไดดี ดังนั้นในการ sterile จะตองช้ืนพอควร เชน สภาพภายในหองหรือทอท่ีใชสํ าหรับทํ าการ sterile ควรจะมีความช้ืนสูงกวา 30%

4. เวลาท่ีใช (Expossure time) เวลาท่ีใชอาจใชตางกันต้ังแต 2 ถึง 24 ช่ัวโมงเพื่อความแนนอนควรทํ าการทดสอบใหแนใจวาวัสดุหรือส่ิงของท่ีเรา sterile นั้นถูก sterile ไดอยางท่ัวถึง การ sterile ดวยแกสนี้เหมาะสํ าหรับภาชนะบรรจุท่ียังไมบรรจุผลิตภัณฑลงไป เพราะภาชนะพลาสติกสวนมากจะตานทาน Ethylene oxide ได เนื่องจาก Ethylene oxide อาจซึมซาบเขาไปในเนื้อพลาสติกได จึงจํ าเปนจะตองทํ าใหภาชนะเหลานี้ปราศจาก Ethylene oxide ท่ีหลงเหลืออยูโดยการผานอากาศท่ีกรองใหบริสุทธ์ิแลวเขาไปในหองหรือทอท่ีใชทํ าการ sterile จากท่ีกระบวนการ sterile เสร็จส้ินลง2) surface Disinfectants การใช Chemical disinfectants ในทางยาก็เพื่อเปนการ

ลดปริมาณของเชื้อจุลินทรียลง Disinfectants สวนใหญจะไมทํ าลาย spores ดังรั้นมันจะไมทํ าใหผิวของภาชนะปราศจากเชื้อ แตดวยการทํ าใหผิวของภาชนะสะอาดและใช disinfectants รวมจะทํ าใหภาชนะสะอาดปราศจากเชื้อดีย่ิงข้ึน

ประสิทธิภาพของ Disinfectants ข้ึนอยูกับคุณลักษณะของผิวและปริมาณของการcontaminate พวกท่ีมีผิวเรียบและแข็งจะทํ าการกํ าจัดเช้ือไดงายกวาพกวท่ีมีผิวขรุขระ โดยท่ี Disinfectants ไมมีผลตอ spores เฉพาะ vegetative form ของเช้ือจุลินทรียเทานั้นท่ีคาดวาจะถูกฆาได

Disinfectants ท่ีมีจํ าหนายอยูมีอยูมากมายหลายอยางดวยกัน การท่ีเปรียบเทียบวาอยางไหนมีประสิทธิภาพดีกวายอมทํ าไดลํ าบากมาก แตพบวาสองชนิดท่ีมีประสิทธิภาพดีท่ีสุดจะมีสวนผสมโดยการรวมของ Phenolic compounds ส่ีตัว มีนักวิทยาศาสตรบางทานไดสรุปเกี่ยวกับเรื่องของ Disinfectants และแนะนํ าไววาสํ าหรับทํ าความสะอาดพ้ืนและฝาผนังควรใช 2% solution ของ Phenolic germicide และ 1:1000 concentration ของ quaternary ammonium solutions หรือ 1-2% solution ของ Phenolic germicides เหมาะสํ าหรับวัสดุท่ีมีผิวหนาเรียบและแข็ง ถาวัสดุนั้นเปน

Page 24: Packing Rx

24

โลหะเขาไดแนะนํ าวาควรเติม 0.2% sodium bicarbonate ลงใน Phenolic germicides เพื่อปองกันการข้ึนสนิมตารางท่ี 3.3 สรุปรวบรวมใหเห็นถึงผลของการ sterile โดยวิธีการตาง ๆกันตอวัสดุท่ีใชในการบรรจุ

MaterialDry heat(1600 )

Autoclaving(1150 C)

Gamma radiation(2-5 Mrad) Ethylene oxide

GlassMetalPaper

CarbroardRubber:

NaturalNitrileButyl

Silicone

Neoprene

Thermoplastics:Polythene(low density)

SatisfactorySatisfactoryEmbrittled

Embrittled

UnsuitableSatisfactorySome grades are softenedSatisfactory

Satisfactory

Unsuitable

SatisfactorySatisfactorySatisfactory(Permeability tosteam sufficientto permit the useof paperwrapping ofarticles to besterilised)

Unsuitable

SatisfactorySatisfactorySatisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Unsuitable

DiscoloursSatisfactorySatisfactory

Satisfactory

SatisfactorySatisfactoryUnsuitable(liquefied)Unsuitable(liquefied)Satisfactory(but HCl may beevolved)Satisfactory

SatisfactorySatisfactorySatisfactory(permaebility issufficient topermitsterilisation ofarticles in sealedpackages)

Satisfactory

SatisfactorySatisfactorySatisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory(film 150 umthicksufficientlypermeable for articlesto be sterilised in

Page 25: Packing Rx

25

Material Dry heat(1600 )

Autoclaving(1150 C)

Gamma radiation(2-5 Mrad)

Ethylene oxide

Polythene(high density)

P.V.C.(unplasticised)P.V.C.(plasticised)P.V.C./P.V.D.Ccopolymer

PolystyrenePolycarbonatePolypropylene

Unsuitable

Unsuitable

Unsuitable

Unsuitable

UnsuitableUnsuitableUnsuitable

Moulding maybe distorted dueto stressrelease.Filmrequires supportof otherautoclavable film(e.g. nylon)Unsuitable(distorted)Some grades offilm SatisfactorySome grades offilm Satisfactory(Nylon 66sufficientlypermeable forarticles to bedterilised insealed packages,but process mustbe modified toavoid burstingduring coolingphase)UnsuitableSatisfactorySatisfactory

Satisfactory

Satisfactory(HClmay be released)Satisfactory(HClmay be released)Satisfactory

SatisfactorySatisfactorySatisfactory

Sealedcontainers)Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

SatisfactorySatisfactorySatisfactory

Page 26: Packing Rx

26

Material Dry heat(1600 )

Autoclaving(1150 C)

Gamma radiation(2-5 Mrad)

Ethylene oxide

p.t.f.e.

Polymethyl-pententThermosettingplastics: Phenolformaldehyde Ureaformaldehyde

Satisfactory

Satisfactory

Some gradesSatisfactoryUnsuitable(degradation anddiscolouration)

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory (butnot on sealedcontainers)

(but somedegradation mayoccur unlessstabilised)Unsuitable(fluorineevolved)Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

Satisfactory

บทที่ 4วัสดุที่ใชสํ าหรับบรรจุยา (Packaging Materials)

วัสดุท่ีนํ ามาใชสํ าหรับภาชนะสํ าหรับบรรจุยามีอยูหลายชนิดดวยกัน ท่ีนิยมใชมากก็ไดแกภาชนะท่ีทํ าจากแกว พลาสติก และโลหะบางชนิด

แกว (Glass)ภาชนะท่ีทํ าจากแกวนับเปนภาชนะสํ าหรับบรรจุยาท่ีใชกันมานานมากท่ีสุดอันหนึ่ง

ท้ังนี้เพราะมีราคาถูกและทํ าจาก inorganic substances ท่ีหาไดงาย สวนประกอบท่ีสํ าคัญของแกวก็มีSilica (SiO2) ซ่ึงไดจากทรายLime (CaO) จาก Calcium carbonate เชนหินปูนSoda (Na2O3) จาก Symthetic sodium carbonate

Page 27: Packing Rx

27

Aluminium oxide (Al2O3) Aluminium hydroxide (Al(OH)3) ซ่ึงทํ าจาก alumina เม่ือตองการใหเนื้อแกวมีความเปนดางต่ํ าอาจเติม Boric acid ลงไป หรือถาตองการใหเนื้อแกวมีสีก็อาจเติม Metaic oxides ตาง ๆ ลงไปในปริมาณเล็กนอย

ขวดแกวนับวามีประโยชนมากเพราะแทยจะไมมีปฏิกิริยากับยาท่ีบรรจุอยู และสามารถตานทานตอสารเคมีตาง ๆ ไดอยางดี นอกจากนี้แลวยังสามารถปองกันการซึมผานของความช้ืน ไอนํ้ า หรือกาซตาง ๆ ไดอยางดี เนื่องจากแกวทนไฟไดดี จึงทํ าใหปราศจากเช้ือไดโดยวิธี Dry Heat หรือ Autoclaving รวมท้ังวิธีการทางเคมีและรังสี ดวยเหตุผลนี้ภาชนะท่ีทํ าจากแกวจึงนับเปนภาชนะท่ีเหมาะสมท่ีสุดสํ าหรับใชบรรจุยา

นอกจากขอดีของภาชนะท่ีทํ าดวยแกวดังกลาวแลว แกวยังมีลักษณะใสซ่ึงทํ าใหสังเกตความสะอาดหรือสกปรกไดงาย และบังสามารถมองเห็นยาท่ีบรรจุอยูขางในไดอยางชัดเจน

การปด (sealing) สามารถทํ าไดหลายวิธีต้ังแตการใชฝาจุกท่ีอาจมีลักษณะตาง ๆกันไปจนถึงการปดโดยอาศัยความรอนไปหลอมเหลวเนื้อแกวใหเชื่อมติดกันอยางสนิท เชน ในกรณีของ Ampoules

การปดฉลากสามารถทํ าไดโดยใชมือ เครื่องปดฉลากชนิด Semi-automatic หรือ fully autonatic หรืออาจทํ าไดโดยการพิมพลงบนเนื้อแกวโดยตรงโดยใชหมึกพิมพชนิดตาง ๆ กันได

ขอเสียอันหนึ่งของภาชนะทีทํ าจากแกวท่ีมิสามารถหลีกเล่ียงไดก็คือ มีนํ้ าหนักและแตกไดงายเม่ือเทียบกับภาชนะท่ีทํ าจากวัสดุอื่น ๆ ซ่ึงทํ าใหจะตองระมัดระวังมากในการขนสง อยางไรก็ตามสมัยผูผลิตภาชนะท่ีทํ าจากแกวไดพยายามลดนํ้ าหนักลงโดยมิไดทํ าใหคุณสมบัติตาง ๆ เสียไปชนิดของแกว (Types of Glass)

ยาสวนใหญจะบรรจุในภาชนะทีทํ าจากแกวท่ีเรียกวา "Soda Glass" หรือ "White flint glass" ซ่ึงแกวเหลานี้จะมีสวนประกอบเปน Silica ประมาณ 72% Lme 11% และ Soda 14% แบละสารอยางอื่น ๆ อีกตามวัตถุประสงคท่ีจะใช

Amber Glass ใชสํ าหรับยาท่ีมีความไวตอแสงใน USP ไดบงไววาภาชนะท่ีผลิตข่ึนมาเพื่อใหปองกันแสงไดนั้นควรจะคุณสมบัติตามขอกํ าหนดสํ าหรับ "Lght Transmission" ซ่ึงมีขอกํ าหนดดังนี้

Page 28: Packing Rx

28

ตารางท่ี 4.1Limits for Glass Types I, II and III and PlasticClass I-VI

Maximum Percentage of Light Transmission at anyWavelength Betwween 290 mm and 450 mmNominal size (in ml.)

Flame-sealed containers Closure-sealed containers125102050

504540353015

252015131210

สํ าหรับขนาดท่ีโตกวา 50 ml ใหใชขอกํ าหนดสํ าหรับขนาด 50 ml เปนเกณฑวิธีการทดสอบหา Light Transmission ดูไดจากใน USP

ยาใดท่ีสงสัยวาจะมีความไวตอแสงหรือแสงอาจทํ าใหเกิดการเปล่ียนแปลงของตัวยาข้ึนได ก็ควรจะตัดสินใจเลือกบรรจุไวในภาชนะท่ีเปนขวดสีชาไวกอน ในบางประเทศไดแนะนํ าใหใชขวดสีชาสํ าหรัยบบรรจุพวกยาท่ีใชสํ าหรรับภายนอกหรือเฉพาะท่ี รวมท้ังพวกยาหยอดหู ยาหนอดตา ยาหยอดจมูก เปนตน

ขอเสียของขวดแกวสีชาอันหนึ่งก็คือ ทํ าใหไมสามารถมองเห็นยาท่ีบรรจุอยูภายในไดอยางชัดเจนเหมือนยาท่ีบรรจุอยูในขวดแกวใส เพราะฉะนั้น ในกรณีท่ียาเกิดการเส่ือมเสียเชน เกิดการตกตะกอนมีเชื้อราข้ึนจะทํ าใหสังเกตเห็นไดยากกวา

Neutral Glass ถึงแมวาแกวจะมีความตานทานตอสารเคมีไดดีกวาภาชนะท่ีทํ าจากวัสดุอยางอื่น ๆ ก็จริง แตแกวบางชนิดถาสัมผัสอยูกับนํ้ านาน ๆ Alkali ท่ีอยูในเนื้อแกวอาจหลุดออกมาเจือปนกับนํ้ าได ดังนั้นในการเก็บพวกขวดแกว หากเก็บในสถานท่ีท่ีมีความช้ืนเม่ืออุณหภูมิเปล่ียนแปลง จะทํ าใหความช้ืนท่ีเกาะอยูตามผิวภายในของขวดระเหยแหง ทํ าใหกลายเปนจุดขาว ๆ ติดอยูบนผิว ซ่ึงเราเรียกวา �weathering� เม่ือลางออกดวยนํ้ าจะไดสารพวก Sodium carbonate ซ่ึงเกิดจากการรวมตัวของ alkali ท่ีออกมาจากเนื้อแกว carbon dioxide ในบรรยากาศ

ถาหากวาสารละลายท่ีใสลงไปในขวดมีความเปนดางสูงจะย่ิงทํ าใหมีปฏิกิริยากับขวดแกวเร็วย่ิงข้ึน ซ่ึงบางครั้งก็จะทํ าใหเกิดผลเล็ก ๆ (Spicules) แขวนตัวอยูในสารละลายนั้น ๆ เชน การบรรจุ Sodium bicarbonate lotion โดยใชขวดแกวชนิด Soda glass นอกจากผลท่ีเกิดข้ึนเหลานี้แลวยังทํ าใหสารละลายท่ีบรรจุอยูมีความเปนกรดลดลงหรือความเปนดางเพิ่มข้ึน ดังนั้นยาใดท่ีมีแนว

Page 29: Packing Rx

29

โนมท่ีอาจมีปฏิกิริยากับขวดแกวไดหรือจํ าเปนจะตองรักษาใหคงท่ี เชน พวกยาฉีด ก็ควรจะเลือกใชขวดท่ีมีสวนผสมของ alkali อยูต่ํ า

ขวดแกวท่ีมี alkali ต่ํ ามาก ๆ นั้นจะตองอาศัยกระบวนการผลิตท่ียุงยากกวาชนิดท่ีมี alkali ผสมอยูสูงกวา ราคาจึงแพงกวามาก เชน Pyrex จะมีสวนผสมของ Soda อยูประมาณ 3.5% Silica ประมาณ 80% และ Boric acid ประมาณ 13% แกวพวกนี้มีความทนทานตอสารเคมีและความรอนไดสูง นิยมใชสํ าหรับในหองทดลองหรือปฏิบัติการ

สํ าหรับ Ampoules และ Vials ท่ีมีขนาดไมเกิน 100 cc สวนใหญจะนิยมทํ าจากหลอดแกวท่ีเรียกวา Jena tubing มีสวนผสมของ Silica ประมาณ 66% และ Soda ประมาณ 8.5% ซ่ึงนับวามี Alkalinity ต่ํ าพอท่ีใชสํ าหรับบรรจุยาฉีดได

Sulphated Glass ขวดแกวชนิด Soda glass สามารถทํ าใหมีความทนทานตอสารเคมีเพิ่มข้ึนไดโดยวิธีการ �Sulphating� โดยใหผิวดานในของขวดสัมผัสกับ acidic fumes ในขณะท่ีอุณหภูมิยังสูงอยูประมาณ 5000 C ซ่ึงจะทํ าให alkali ท่ีผิวขวดดานในถูกทํ าใหกลายเปนกลาง (neutralised) ขวดแกวชนิด Sulphated bottle นี้ทนทานตอการ autoclave ไดดีโดยไมทํ าใหยาท่ีใสอยูขางในมี pH เพิ่มข้ึน จึงเหมาะสํ าหรับยาท่ีมีความไวตอ alkali ท่ีจะตอง sterile โดย autoclave รวมท้ังยาฉีด ยาหยอดตา และพวก Transmission fluids

Sulphated Glass นี้ตาม USP และ NF จัดไวเปนแกวประเภท Type II คือ Treated Soda-Lime Glass ชนิดของแกวตาม USP และ NF แบงไวเปน 4 ชนิดดวยกันคือ

Type I - Highly resistant, borosilicate glassType II - Treated Soda-lime glassType III - Soda-Lime glassNP - General purpose soda-lime glassการทดสอบวาเปนแกวชนิดไหนนั้นก็มีวิธีทดสอบอยู 2 อยางดวยกันคือ วิธี

Powdered Glass สํ าหรับทดสอบแกว Type I, III, NP และวิธี Water Attack สํ าหรับทดสอบแกว Type II รายละเอียดในการทดสอบหาดูไดจาก ใน USP

สํ าหรับบรรจุยาฉีดนั้นท้ังใน USP และ B.P. ไดแนะนํ าไว 3 ชนิดคือ ขวดทีทํ าจากแกว Type I,II และ III แต Type III นั้นแนะนํ าใหใชบรรจุเฉพาะยาฉีดท่ีเปน Non-aqueous injections และพวก Powders เทานั้น

พลาสติก (Plastics)ในปจจุบันนี้พลาสติกนับวาเปนวัสดุท่ีมีประโยชนมากในการนํ ามาใชทํ าเปนภาชนะ

สํ าหรับบรรจุยาท้ังนี้ก็เพราะพลาสติกมีขอดีหลายประการ เชน มีนํ้ าหนักเบา สามารถทํ าเปนภาชนะรูปแบบตาง ๆ ไดงาย มีความทนทานไดดี ไมคอยแตก และพลาสติกบางชนิดก็มีคุณภาพดีเหมาะสมสํ าหรับบรรจุยาไดแทบทุกชนิด

Page 30: Packing Rx

30

ขวดสํ าหรับบรรจุยาท่ีเปนพลาสติกนั้นอาจทํ าจาก Polymers เหลานี้ เชน Polyethylene, Polypropylene, Polyvinyl chloride, Polystyrene และมีสวนนอยท่ีทํ าจากพวก Polymethyl methacrylate, Polyethylene terephthalate, Polytrifluoroethylene และ Polyamides พลาสติกเหลานี้สามารถแบงออกไดเปน 2 พวก คือ

1. Thermoplastics เปนพวกท่ีสามารถทํ าใหออนตัวลงไดดวยความรอนและจะแข็งตัวกลับไปอีกเม่ือเย็นลง

2. Thermosets เปนพวกท่ีจะออนตัวไดในข้ันตอนของการผลิตเพียงข้ันตอนเดียวเม่ือถูกทํ าใหรอนและแข็งตัวจะเปนการแข็งตัวท่ีถาวร ไมสามารถกลับมาทํ าการเปล่ียนแปลงโดยใชความรอนโดยมิทํ าใหพลาสติกนั้นสูญเสียสภาพไป

Polyethylene หรือ Polythene จัดเปนพวก Thermoplastics ซ่ึงไดจากการ Polymerisation ของ Ethylene มีอยู 2 ชนิดดวยกัน คือ Low density polyethylene กับ High density polyethylene ท้ังสองชนิดสามารถนํ ามาแปลรูปไดดวย 3 วิธีดวยกัน คือ

1. โดยวิธี Extrusion ออกมาเปนแผนบาง ๆ2. โดยวิธี Injection moulding เชน ฝาจุก3. โดยวิธี Blow moulding เชน ขวดและกระปุกPolyethylene ท้ังชนิด Low และ High density นี้นับวาเปนพลาสติกท่ีมีประโยชน

และใชมากสํ าหรับการบรรจุยา รวมท้ังชนิดท่ีผลิตออกมาเปนแผนสํ าหรับทํ าเปนแผง สํ าหรับหอหรือทํ าเปนถุงพวก High density สวนใหญจะนํ ามาผลิตพวกขวด กระปุก ตลอดพวกถังใหญ ๆ

Polyehtylene จะมี Density ระหวาง 0.91-0.96 ซ่ึงจากความแตกตางกันใน Density นี้จะทํ าใหมีความแตกตางกันในคุณสมบัติตาง ๆ ของพลาสติกนี้ เชน ของแข็ง การตานทานตอการซึมผานของความช้ืน การแตกราว และความใสหรือโปรงแสง เม่ือ Density เพิ่มข้ึนจะทํ าใหความแข็งเพิ่มข้ึนและจุดหลอมเหลวจะสูงข้ึนดวย ไอนํ้ าและแกสซึมผานไดนอยลง แตการแตกราวจากส่ิงกดดันงายข้ึน

โดยท่ีพวก Polymers มีความไวตอ Oxidative degradation ในการผลิตภาชนะจากพลาสติกจึงอาจใสพวก Antioxidants ลงไปดวย เชน Butylated hydroxy toluene หรือ Dilauryl thiodipropionate นอกจากนี้ยังอาจใสพวก Antistatics ลงไปดวยเพื่อลดปริมาณฝุนละอองท่ีจะไปเกาะอยูตามพื้นผิวของพลาสติกในระหวางการขนถาย การบรรจุ และการเก็บ Antistatics ท่ีใสลงไปไดแกพวก Polyethylene glycols หรือพวก Fatty amides โดยใช ประมาณ 0.1-0.2%

ในการใชภาชนะพลาสติกท่ีทํ าจาก Polyethylene สํ าหรับบรรจุยานั้นควรจะพิจารณาดูขอบเขตของพลาสติกชนิดนี้ดวย ตัวอยางเชน

Acids จะมีผลโดย strong oxidising acids เชน Sulphuric acid, Nitric acid และ Phosphoric acid แตไมมีผลจาก Glacial acetic acid

Page 31: Packing Rx

31

Halogens จะทํ าใหเกิด free halogens ดังนั้นจึงไมควรใชสํ าหรับบรรจุ Tinctures หรือสารละลายของ Iodine และพวก Chlorine solutions

Oils ถึงแมวาอาจจะใชไดสํ าหรับพวก Fixed และ Mineral Oils แต Castrol Oil จะทํ าใหพลาสติกออนตัวลงได จะยอมใหพวก Oils บางชนิดซึมผานไดบางเชนพวก Essential Oils โดยเฉพาะพวกท่ีมีสวนผสมของ aldehydes และ Ketones อยูดวย ดังนั้นจึงควรระมัดระวังในการนํ ามาใช เชน Compound Tincture of Cardamon ยาเตรียมท่ีมีสวนผสมของ Peppermint Oil จะทํ าใหกล่ินลดลงเม่ือเก็บไวนานๆ

Solvents ถึงแมวาท่ีอุณหภูมิธรรมดามันจะไมละลายใน Organic solvents แตก็มิไดหมายความวาไมยอมใหพวก Organic solvent ซึมผานได พวก Chloroform และ Ether จะซึมผานเขาไปในเนื้อพลาสติกชนิดนี้ได ยาเตรียมท่ีใช Chloroform เปน preservative หรือ Sweetening agent ถาเก็บไวนาน ๆ ก็อาจเสียได

Gases ออกซิเย็นจะซึมผาน Polyethylene ไดดังนั้นจึงควรระมัดระวังสํ าหรับยาท่ีถูก Oxidation ได เชน Adrenalin solution

Odour โดยท่ัวไป Polyethylene จะปองกันกล่ินไดไมสูดีนัก อาจจะดูดส่ิงท่ีมีกล่ินจัด ๆ เขาไปในเนื้อพลาสติกได เชน Methyl salicylate ไมควรบรรจุในภาชนะท่ีทํ าจาก Polyethylene

Sorption and Permeation เชนเดียวกับพวกยาง Polyethylene สามารถดูดซับเอา Bactericides บางชนิดไวได เชน Phenylmercuric nitrate, Methylparaben, Propylparaben, Benzalkonium chloride, Phenylethyl alcohol และ Benzyl alcohols พบวาขวดท่ีทํ าจาก Polyethylene ไมเหมาะสมท่ีจะใชบรรจุยานํ้ าท่ีมีสวนผสมของ Aromatic alcohols และ Phenol preservatives โดยเฉพาะ Chlorocresol และ Phenylmercuric nitrate และ Benzoic acid แตขวดท่ีมี Medium density อาจใชไดกับยาเตรียมท่ีมี Benzalkoniumm chloride และ Chlorhexidine diacetate เปน preservative

นอกจากนี้แลวจากการทดลองยังพบวาขวด polyethylene สามารถท่ีจะดูดซับเอาพวก Steroids และ alkaloids บางชนิดไวได รวมท้ังพวก Pilocarpine, Hyoscine, Strophanthin และ Ouabain พวกยาเตรียมจากพืชและสีก็อาจถูกดูดซับได เชน Tincture of Belladonna, Hysocamus และ Opium

Leaching สวนประกอบสํ าคัญท่ีอาจหลุดออกมาปะปนกับยาท่ีบรรจุอยูไดก็คือ Antioxidants และ Antistatics และพวกเศษของ monomer และ catalyst

Page 32: Packing Rx

32

Light พวก High density polyethylene แสงจะผานไดบางแตถาเติมพวก colourants ลงไปจะสามารถปองกันแสงไดดี ในการใชก็จะตองระมัดระวังเชนกัน เพราะสีท่ีเติมลงไปอาจหลุดออกมาผสมกับยาท่ีบรรจุอยูภายในได เพราะฉะนั้นขวดพลาสติกท่ีเติมสีลงไปเหมาะสมท่ีจะใชบรรจุยาท่ีมีลักษณะเปนของแข็งหรือแหง เชน ยาเม็ดและแคปซูล

Stress crackinf การแตกราวอาจเกิดข้ึนไดหากใชใสสารหรือนํ้ ายาบางชนิด แนวโนมของการแตกราวในพวก High density จะมีมากกวาพวก Low density แรงกดดันจากการจัดเก็บซอน ๆ กันก็สามารถทํ าใหขวดพวกนี้แตกราวได หรือในการขันเกลียวฝาขวดแนน ๆ ก็อาจทํ าใหปากขวดแตกได

สารท่ีอาจทํ าใหเกิด stress cracking ข้ึนไดเชน Soft soap B.P., Detergents, Organic esters, Terpentine and turpentine liniments, Lysol, Acetone, Castor Oil, Chloroform, Ether, Lineed Oil, Potassium hydroxide conc, Sodium hydroxide conc, และพวก Vegetable oil บางชนิด

Polyethylene ท่ีมี Molecular weight สูงจะมีผลจากสารเหานี้ลดลงไปมาก ปรกติพลาสติกท่ีจํ าหนายมักจะไมแจง Molecular weight ไวใหทราบ แตเราจะทราบไดจาก Melt flow index ถาหาก Melt flow index ต่ํ าจะมี Molecular weight สูงปรกติแลวขนาดท่ีเหมาะสมจะมี Melt flow index ประมาณ 0.4

Polypropylene เปนพลาสติกท่ีทํ าจากการ Polymerisation ของ Propylene CH:CH-CH3 มีคุณสมบัติและลักษณะท่ีคลาย ๆ กับพวก High density polyethylene ซ่ึงสามารถทํ าเปนรูปแบบตาง ๆไดโดยวิธีท้ัง 3 วิธี คือ Extrusion, Blow moulding และ Injection moulding พวกพลาสติกชนิดนี้นอกจากใชทํ าขวด กระปุก แลวยังนิยมนํ ามาใชทํ าฝาปดและจุก

ภาชนะท่ีทํ าจาก Polypropylene จะมีลักษณะขุนและทึบกวาท่ีทํ าจาก High density polyethylene ความถวงจํ าเพาะคอนขางต่ํ า (0.90) จึงนับเปนพลาสติกท่ีมีนํ้ าหนักเบามากท่ีสุดอันหนึ่งในบรรดาพลาสติกพวก Thermoplastics นอกจากนี้แลว Polypropylene ยังมีความคงทนตอความรอนไดสูงกวา Polyethylene High Density Polyethylene จะออนตัวท่ีอุณหภูมิประมาณ 120-1300 C แต Polypropylene จะทนความรอนไดถึงประมาณ 1500 C จึงสามารถทนตอการ sterile โดย autoclave ไดดีกวา โดยเหตุนี้จึงนิยมใชกันอยางกวางขวางสํ าหรับทํ าเปนภาชนะสํ าหรับบรรจุพวก Electrolyte solutions สํ าหรับ Intravenous infusion

เม่ือเปรียบเทียบคุณสมบัติตาง ๆ ระหวาง Polypropylene กับ Polyethylene แลวจะพบวา Polypropylene มีคุณสมบัติเหนือกวา Polyethylene ในหลายกรณี เชนมีความทนทานตอพวก Oils ไดดีกวา จึงเหมาะสมกวาสํ าหรับใชบรรจุพวก Ointments, Cream Liniments และ Emulsions ยอมใหพวก Oxygen, Carbondioxide และไอนํ้ าซึมผานไดนอยกวาพวก Low density polyethylene นอกจากนี้แลวยังกันกล่ินไดดีกวา แตสํ าหรับพวกกรด Polypropylene จะมีความทนทนตอ Strong nitric acid และ Sulphuric acid ไดนอยกวา

Page 33: Packing Rx

33

พูดถึงเรื่อง Sorption พบวาเม่ือใชสํ าหรับเก็บนํ้ ายาพวก Bactericides จะดีกวาพวก Polyethylene จากการทดลองพบวาจะทํ าใหพวก Chlorhxidine acetate, Methylparaben, Phenyl mercuric nitrate และ Benzalkonium chloride สูญเสียไปเพียงเล็กนอย การสูญเสียของ Benzyl alcohol, Phenoxetol, Phenol และ Benzoic acid ก็พบมีนอยเชนกัน

สวนเรื่องของ Leaching สวนผสมอันหนึ่งท่ีอาจพบไดใน Polypropylene ก็คือ Anti-oxidants ซ่ึงใสลงไปเปนตัว stabilisers เพื่อปองกันการ Oxidation ในระหวางกระบวนการผลิต

Polyvinyl Chloride (P.V.C.) ไดจากการ Polymerisation ของ Vinyl chloride CH2-CHCl ซ่ึงนับเปนพลาสติกตัวหนึ่งท่ีใชมากพอสมควรในการนํ ามาทํ าเปนภาชนะบรรจุยา

1. Unplasticised P.V.C. (U.P.V.C.) ซ่ึงอาจผลิตโดยวิธี Extrusoin ออกมาเปนแผนใสหรือหลอดบาง ๆ โดยวิธี Blow moulding ออกมาเปนขวดหรือกระปุกและโดย Thermoforming สํ าหรับทํ า Blister packs

2. Plasticised P.V.C. ซ่ึงนํ ามาใชในลักษณะท่ีเปนแผนท่ีมีความหนาตาง ๆ กันสํ าหรับใชทํ าเปนถุงหรือ Liners

P.V.C. ท้ังสองแบบนี้จะไมมีและโปรงแสงมาก ถาตองการใหปองกันแสงไดก็จะตองเติมสีลงไป มีความทนทานตอสารเคมีไดดีพอสมควร มีความทนทานตอพวก Vegetative Oils, Mineral Oils, Essential Oils ไดดีกวา Polyehylene จึงนิยมนํ ามาใชทํ าภาชนะสํ าหรับบรรจุนํ้ ามันพวกนี้ นอกจากนั้นแลวยังทํ าใหมองเห็นส่ิงท่ีบรรจุอยูภายในไดชัดเจนกวา P.V.C. ละลายไดใน Ketone และ Esters บางชนิด ยอมใหออกซิเจนและคารบอนไดออกไซดซึมผานไดนอยกวาพวก Low density polyethylene แตยอมใหไอนํ้ าผานไดมากกวา

สํ าหรับการทนทานตออุณหภูมิพบวา P.V.C. มีความทนทานตออุณหภูมิไดนอยกวา Polyethylene โดยเฉพาะชนิด U.P.V.C. จะเปราะหรือแตกท่ีอุณหภูมิต่ํ ากวา �400 C และจะออนตัวท่ีอุณหภูมิ 80-850 C สวน Plasticised P.V.C. จะเปราะหรือแตกท่ีอุณหภูมิต่ํ ากวา �500 C แตจะออนตัวท่ีอุณหภูมิเกิน 750 C P.V.C. จะ degrate ลงไป การ sterile อาจทํ าไดโดยใชสารเคมีหรือรังสีแกมมา แตโดนรังสีแกมมามากเกินไป ก็อาจทํ าใหเกิด degration ไดเชนกัน การ sterile อาจทํ าไดโดยวิธี autoclaving หาก P.V.C. ท่ีใชผสม stabiliser และ Plasticiser ท่ีเหมาะสมลงไปดวย

ในกระบวนการผลิต P.V.C. อาจตองเติมพวก Additives เปนจํ าวนหลายอยางเชนพวก Stabilisera, Anti-oxidants, Lubricants, Fillers และ Pigments และสํ าหรับ Flexible grades จะมีพวก Plasticisers อยูดวย เพราะฉะนั้นในการใช P.V.C. เปนภาชนะสํ าหรับบรรจุสํ าหรับบรรจุจึงควรระมัดระวังใหมาก เพราะ additives เหลานี้อาจหลุดออกมาเจือปนอยูกับยาท่ีบรรจุอยูได

Stabilisers ท่ีใชปองกันการ degradation โดยความรอนในระหวางกระบวนการผลิตพวก unplasticised P.V.C. อาจเปนพวก organic compounds ของดีบุก และสํ าหรับ Plasticised grades อาจเติม barium และ cadmium ลงไปดวย ใน flexible grades พวก plasticisers ท่ีใชมีหลาย

Page 34: Packing Rx

34

ชนิดรวมท้ังพวก phthalate, phosphate และ sebacate esters ของ high alcohol (เชน dioctyl phthalate) และ fatty acids

ขวดท่ีทํ าจาก unplasticised P.V.C. ถึงแมจะใชกันอยางกวางขวางสํ าหรับบรรจุพวกนํ้ ามันพืช นํ้ าผลไมและเครื่องสํ าอาง แตในทางอุตสาหกรรมยานับวานํ ามาใชนอยมาก อาจทํ าเปนกระปุกต้ังแตขนาด 25-250 กรัม สํ าหรับใสครีมและขี้ผ้ึง ไมควรใชภาชนะ P.V.C. สํ าหรับบรรจุยาหรือข้ีผ้ึงท่ีมีสวนประกอบของ Methyl salicylate เพราะจะทํ าใหภาชนะออนตัวลง

ไดมีการนํ าเอา Collapsible tubes ท่ีทํ าจาก plasticised P.V.C. มาใชแทนหลอดยาท่ีทํ าจากหลอดโลหะกันอยางกวางขวาง ท้ังนี้เนื่องจากวาการบีบยาออกจากหลอดท่ีทํ าจากหลอดท่ีทํ าจากโลหะใหหมดทํ าไดยากจะมียาคางอยูภายในหลอดมาก หลอดพลาสติกถาตองการปองกันแสงก็ใสพวก pigment ลงไปได

อยางไรก็ตามความเหมาะสมท่ีจะนํ ามาเปนภาชนะสํ าหรับบรรจุยานั้น Polyethylene และ Polypropylene นับวายังมีความเหมาะสมกวา P.V.C. ส่ิงท่ีควรระมัดระวังในการใช P.V.C. สํ าหรับบรรจุยาท่ีเปนของเหลวก็คือ Additives ท่ีอาจหลุดออกมาเจือปนอยูกับยาท่ีบรรจุอยู ซ่ึงท้ังนี้ก็ข้ึนอยูกับพลาสติกท่ีใช ยาท่ีบรรจุและอุณหภูมิท่ีเก็บ

Polystyrene เปนพวก Aromatic compound ผลิตจากการ Polymerisation ของ Synthetic styrene C6H5CH:CH2 ปรกติสํ าหรับใชท่ัวไป Polystyrene จะมีลักษณะแข็งใสคลายแกวและเปราะหรือแตกราวไดงาย อาจทํ าใหเปนสีโดยใสสีลงไปแตก็ยังมีลักษณะใสอยูสามารถทํ าใหทึบแสงไดโดยใสพวก coloured pigments ลงไป

Polystyrene สามารถทํ าใหเปนแผนบาง ๆ ไดโดยวิธี Extrusion หรือทํ าเปนกระปุกหรือฝาปดโดยวิธี Injection moulded และอาจทํ าเปนขวดหรือกระปุกไดโดยวิธี Blow moulded เนื่องจากความใสของ Polystyrene จึงนิยมใชมากสํ าหรับบรรจุพวกอาหารและเครื่องสํ าอาง แตไมคอยเหมาะสมท่ีจะนํ ามาบรรจุเนื่องจากมันยอมใหอากาศและไอนํ้ าซึมผานได และความตานทานตอพวก Solvents ก็นอย กระปุกท่ีทํ าจากพลาสติกชนิดนี้อาจใชบรรจุพวกข้ีผ้ึงและครีมท่ีมีสวนผสมของนํ้ าอยูนอย ๆ หรือไมมีสวนผสมของ organic solvents ได ไมเหมาะสํ าหรับข้ีผ้ึงท่ีมี Methyl salicylate อยูขวดท่ีทํ าจากพลาสติกนี้ก็เชนกันไมเหมาะสมท่ีจะนํ ามาบรรจุพวกยานํ้ า Polypropylene ถานํ ามาทํ าเปนกลองหรือรูปแบบท่ีเหมาะสมจะมีประโยชนในการบรรจุพวกหลอดและขวดยาฉีด รวมท้ังหลอดสํ าหรับฉีดยา มันจะชวยปองกันความรอนหรืออุณหภูมิท่ีสูงในระหวางการขนสงไดบาง เนื่องจากมีคุณสมบัติเปนฉนวนความรอน

Polyvinylidine Chloride (P.V.D.C.:Saran) เกิดจากการ Polymerisation ของ Vinylidine chloride CH2CCl2 แตท่ีใชสํ าหรับบรรจุจะเปน Copolymerised กับ vinyl chloride เพื่อใหเปนแผนนิ่มซ฿งจะยืดหยุนไดดีกวา Saran ท่ีใชในทางยาอาจใชเปนแผนประดานในของ cap wads อาจเปนตัวเคลือบบนแผน Cellulose และ Polypropylene สํ าหรับ strip packaging ของพวกยาเม็ดหรือแคปซูล หรือใชเปนตัวเคลือบบน P.V.C. สํ าหรับ Blister packaging สํ าหรับยาเม็ดและแคปซูล

Page 35: Packing Rx

35

ขอดีของ Saran ก็คือมีความตานทานตอ Chemical solvents ไดอยางกวางขวางและยอมใหไอนํ้ าซึมผานไดต่ํ ามาก

Polycarbonate นับเปนพลาสติกท่ีราคาคอนขางสูง แตมีขอดีหลายประการ เชน ทนตอความรอนไดสูงมาก จะเริ่มออนนุมท่ีอุณหภูมิประมาณ 1600 C จึงสามารถ sterile ไดโดยใช autoclave และสามารถนํ ามา sterile ซ้ํ าได จะไมเปราะหรือแตกจนกวาอุณหภูมิจะต่ํ าถึง �1350 C จึงเหมาะท่ีจะใชเก็บพวก Biological preparations ซ่ึงจะตองเก็บท่ีอุณหภูมิต่ํ ามาก ๆ มีความแข็งแบบแกวจึงไดมีการพิจารณาท่ีจะนํ ามาใชแทน vials และ syringes ท่ีทํ าจากแกว

Polycarbonate มีความตานทานตอกรดอยางออน oxidizing และ reducing agents, เกลือตาง ๆ นํ้ ามัน ไข ไดแตถูกกัดโดยพวก alkalis, amines, ketones, esters, aromatic hydrocarbons และ alcohols บางชนิด

NYLON (Polyamide) เปนพวก Synthetic polyamides เดิมท่ีทํ าจาก dibasic acids รวมกับ diamines โดยท่ี dibasic acids และ diamines มีหลายชนิดแตกตางกันจึงมี Nylons ตาง ๆ กันหลายชนิด สามารถ autoclave ได มีความทนทานมากและยากท่ีจะถูกทํ าลาย มีความตานทานตอ organic และ Inorganic chemicals ไดหลายชนิด ปองกันการซึมผานของออกซิเย็นไดสูง แตกันไอนํ้ าไดไมดีนัก

เนื่องจาก Nylon ยอมใหนํ้ าซึมผานไดในอัตราท่ีสูงจึงอาจทํ าใหยาท่ีบรรจุอยูเกิดมีปฏิกิริยากับ Nylon ข้ึนได ทํ าใหไมนิยมใชภาชนะท่ีเปน Nylon สํ าหรับบรรจุยาท่ีจะตองเก็บไวนาน ๆ

THERMOSETSUrea formaldehyde (u.f. resin) ไดจากการรวมตัวของ Urea,NH2CONH2 กับ

Formaldehyde, HCHO เม่ือสารสองอยางนี้ทํ าปฏิกิริยากันโดยมี alkaline catalyst จะได monomers ท่ีปราศจากสี และถาเติม acidic catalyst, lubricant, filler และ pigments ลงไปผสมและนวดใหเขากันแลวทํ าใหเปนผงเล็ก ๆ เม่ือเอาไปหลอมในเบาท่ีเหมาะสมจะทํ าใหเกิด polymerisation และ cross linkage เปนพลาสติกท่ีแข็งเปราะและแตกงายซ่ึงไมสามารถเปล่ียนแปลงหรือทํ าใหออนตัวลงไดอีกโดยไมเกิดการ degradation

สวนใหญจะใชทํ าฝาชนิดเกลียวหมุนเพราะมีความแข็งดี ไมมีกล่ิน ไมมีรสและไมมีพิษ มีความตานทานตอ solvents ทุกชนิดและตอพวกนํ้ ามัน แตจะ decompose ไดโดยพวกกรดและดางอยางแรง มีความทนทานตอความรอนไดดี แตฝาเกลียวท่ีทํ าจากพลาสติกชนิดนี้ sterile ดวยวิธี dry heat ไมได

Phenol formaldehyde เปน Thermosetting plastic อีกตัวหนึ่งซ่ึงรูจักกันมากในช่ือ �Bakelite� เกิดจากการรวมตัวของ Phenol, C6H5OH และ formaldehyde, HCHO โดยมี alkaline เปน catalyst

Page 36: Packing Rx

36

ท่ีนํ ามาใชมากในทางยาก็นํ ามาทํ าเปนฝาเกลียวซ่ึงไมจํ าเปนตองเติมสีลงไปเพราะธรรมชาติของ resin ตัวนี้มีสีนํ้ าตาลแกอยูแลว เพราะฉะนั้นฝาท่ีทํ าจากพลาสติกตัวนี้โดยท่ัวไปจะมีสีดํ า

โดยท่ัวไปแลวฝาเกลียวท่ีทํ าจาก Phenol formaldehyde จะมีลักษณะตาง ๆ คลาย ๆ กับฝาเกลียวท่ีทํ าจาก Urea formaldehyde อาจจะมีกล่ินของ Phenolic เล็กนอย แตก็มีชนิดท่ีไมมีกล่ินและรส มีความตานทานตอ solvent ไดทุกชนิดแตถูกกัดไดโดยพวก strong oxidising acids และ strong alkalis บางชนิด มีความทนทานตอความรอนไดดีกวา Urea formaldehyde และ สามารถ sterile ไดโดยวิธี autoclaving โดยเฉพาะชนิดท่ีใส asbestos หรือ silica fillers จะสามารถ sterile โดย dry heat ท่ี 150°C ได

ส่ิงท่ีควรจะพิจารณาในการเลือกใชพลาสติกสํ าหรับบรรจุยาภาชนะสํ าหรับบรรจุยาท่ีดีนั้นควรตองสามารถปองกันยาท่ีบรรจุอยูภายในใหสามารถ

เก็บอยูไดในสภาพท่ีดีและไมทํ าใหเกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนกับยาท่ีบรรจุอยูไมวาในทางฟสิกสหรือเคมี ตลอดเวลาท่ียาบรรจุอยู เพราะฉะนั้นการเลือกภาชนะท่ีเหมาะสมมาใชจึงมิใชเปนของงาย ๆ เพราะหากมีความผิดพลาดไปอาจทํ าใหเกิดผลอยางรายแรงข้ึนได

ส่ิงท่ีควรจะคํ านึงถึงในการใชภาชนะพลาสติกสํ าหรับบรรจุยามีอยู 5 อยางดวยกันคือ Permeation, Leaching, Sorption, Chemical reaction และการเปล่ียนในคุณสมบัติทางฟสิกสของพลาสติกและยาที่บรรจุอยู (Modification)

Permeation การซึมผานของแกส ไอนํ้ า หรือของเหลวเขาไปภายในภาชนะอาจทํ าใหมีผลตอยาท่ีบรรจุอยูภายในมาก ถายานั้นมีความไวตอการ Hydrolysis และ Oxidation ซ่ึงอาจทํ าใหอายุของยาลดลง อุณหภูมิและความช้ืนจะเปนแฟคเตอรสํ าคัญท่ีมีอิทธิพลตอการซึมผานผนังของพวกออกซิเย็นและไอนํ้ า ถาอุณหภูมิเพิ่มข้ึนจะทํ าใหการซึมผานของแกสเพิ่มข้ึน

การซึมผานอาจมีความแตกตางกันไดมากนอยยอมข้ึนอยูกับชนิดของแกสและพลาสติกท่ีใชดวย เชน Nyoln ซ่ึงโดยธรรมชาติจะเปนพวก hydrophillic จึงปองกันไอนํ้ าไดไมดี แต Polyethylene ซ่ึงเปนพวก hydrophobic จะปองกันไอนํ้ าไดดีกวา นอกจากนี้แลวอัตราการซึมผานยังเกี่ยวกับความแตกตางระหวางความกดดันภายในและภายนอกของภาชนะ และเกี่ยวกับ density ของพลาสติกดวย เชน high density polyethylene จะปองกันความช้ืนและแกสไดดีกวา Low density polyethylene พวก additives เชน plasticisers และ colorants จะชวยทํ าใหความช้ืนและแกสซึมผานไดเร็วข้ึน

Page 37: Packing Rx

37

รูปท่ี 4.1 ความช้ืนภายในขวดพลาสติกท่ีสูญไปจะเพิ่มข้ึนเม่ือใชขวดพลาสติกท่ีมีสี

รูปท่ี 4.2 การซึมผานของผนังขวดของ Oxygen จะเปนสวนกลับกับความหนาของผนังขวด

ความหนาของผนังขวดก็เปนอีกส่ิงหนึ่งท่ีเกี่ยวของกับการปองกันการซึมผาน ถาผนังขวดมีความหนามากย่ิงข้ึนเทาใดก็สามารถปองกันการซึมผานไดมากย่ิงข้ึนเทานั้น ขวดท่ีทํ าจากวิธี Blow moulding ความหนาของผนังขวดจะแตกตางกันได โดยเฉพาะท่ีเปนมุมหักจะบางกวาท่ีอื่น ๆรูปท่ี การซึมผานผนังขวดของ Oxygen จะเปนเสนสวนกลับกับความหนาของผนังขวด

Leaching เปนการท่ีพวก Additives ตาง ๆ ท่ีอยูในเนื้อพลาสติกแซมซึมหรือหลุดออกสูยาท่ีบรรจุอยูภายใน โดยท่ัวไปแลวภาชนะพลาสติกจะมีพวก Additives อยูเสมดเพื่อเปน stabiliser หรือเพื่อใหพลาสติกมีคุณสมบัติตามท่ีตองการ Additives เหลานี้เม่ือหลุดออกไปผสมกับยาอาจทํ าใหยาเส่ือมเสียคุณภาพหรือทํ าใหลักษณะตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปได

Sorption เปนการท่ีสวนประกิบของยาท่ีบรรจุอยูขางในถูกดูดซึมเขาไปขางในเนื้อของพลาสติก นับวาเปนส่ิงท่ีจะตองระมัดระวังอยางมากเพราะหากยาท่ีบรรจุเปนยาท่ีมีความแรงสูง ขนาดท่ีใชนอย การท่ีตัวยาถูกดูดซับเขาไปเพียงเล็กนอย ก็จะมีผลอยางมากตอประสิทธิภาพในการบํ าบัดโรค ปญหาท่ีพบเสมอ ๆ มักเกิดกับพวก Preservativces แฟคเตอรท่ีมีอิทธิพลตอการดูดซับของยา

Page 38: Packing Rx

38

ของพลาสติกประกอบดวย Chemical structure, pH , Solvent , system ความเขมขนของตัวยา อุณหภูมิ ระยะเวลาท่ีสัมผัสและเนื้อท่ีทีสัมผัส

Chemical Reactinity เปนการท่ีตัวยาอยูในพลาสติกทํ าปฏิกิริยาทางเมีกับตัวยาท่ีบรรจุอยูภายใน การเกิดแฏิกิริยานี้แมเพียงเล็กนอยก็อาจทํ าใหคุณลักษณะของยาเปล่ียนแปลงไป

Modification เปนการเปล่ียนแปลงทางฟสิกสและเคมีของภาชนะบรรจุซ่ึงเกิดจากยาท่ีบรรจุอยู เชน จาก Permeation, Sorption และ Leaching ซ่ึงจะทํ าใหคุณสมบัติของพลาสติกเปล่ียนแปลงไป พบเสมอวาการเปล่ียนแปลงรูปรางของภาชนะท่ีทํ าจาก polyethylene เกิดจากการซึมผานของแกสและไอนํ้ า solvents บางอยางก็ทํ าใหคุณสมบัติของพลาสติกเปล่ียนไปได เชนพวก oils จะทํ าให polyethylene ออนนุมลง fluorinates hydrocarbons จะกัดภาชนะท่ีทํ าจาก polyethylene และ polyvinyl chloride

การเลือกภาชนะพลาสติกสํ าหรับบรรจุยาท่ีถูกตองนั้นพอสรุปไดวาเราจะตองคํ านึงถึงวาพลาสติกเหลานั้นมีลักษณะหรือคุณสมบัติอยางไรตามแฟคเตอรตาง ๆ ในตารางที

ตารางท่ี 4.2 แฟคเตอรในการเลือกวัสดุสํ าหรับขวดพลาสติก

WeightClarityToughnessWater absorptionWater vapor permeationCO2 permeabilityO2 permeabilityEffect on tasteEffect on odorEffect on color

Resistance toAcidsAlkalinesOilsSolventsHigh humiditySunlightHeatColdStress cracingProduct effect

Page 39: Packing Rx

39

FDA

accep

tabilit

yfor

Food

s

Yes

Yes

Yes

Yes

(Som

efor

mulat

ions)

Yes

Yes

Yes

Yes

Yes

Bottle

Cost

Rela

tive

to HD

PE

1 1.5 1.1 2 1.3 3.0 3.5 2.1 40

Oxyg

en Pe

rm.

Cc/1

00 sq

. in. @

730 F /

mil

120

450

380 15 230 3 230 30 3

Wate

r Vap

or Ra

tegm

/100

Sq in

/24

hrs @

100

0 F 95

0

R.H. 0.5 1.1 10.0 2.7 0.4 2.9 14.0

11.5 0.1

Inertn

ess

Outst

andin

g

Excel

lent

Very

poor

Poor

Good

to E

xcell

ent

Good

Poor

Fair

Outst

andin

g

Mate

rial (

densi

ty)

High

Den

sity P

E(0

.955)

Low

Densi

ty PE

(0.92

0)Po

lystyr

ene

(1.05

)Ri

gid PV

C(1

.35)

Polyp

ropyle

ne(0

.90)

Nylon

6, 1

0(1

.10)

Polyc

arbon

ate(1

.20)

Acryl

icM

ultipo

lymers

(1.10

)Po

lymon

otrifu

oroeth

ylene

(2.10

)

Page 40: Packing Rx

40Ou

tstan

ding

Disad

vanta

ges

Tran

sfer o

f tast

e , hi

ghdil

ute so

lution

absor

ption

Flexib

ility,

relati

vely

poor

barri

er to

nonp

olars,

high

WVT

High

WVT

,su

scepti

bility

tocra

cking

poor

impa

ct10

-20

ingred

ients

mayb

e, dif

ficult

proce

ssabil

ity, s

olven

tsu

scepti

bility

Low

tempe

rature

brittle

ness,

tend

ency

toun

zip, h

igh st

abiliz

edco

ntent

Cost,

wate

r abso

rption

,bo

rderli

ne fo

r wate

r-ba

sed m

ateria

lsCo

st, su

scepti

bility

toso

lvent

crack

ing, p

oor

WVT

, poo

r barr

ierPo

or W

VT, b

lusge

rs,po

or ba

rrier

Exce

ssive

cost,

diffi

cult

to fab

ricate

Outst

andin

gAd

venta

ges

Intern

ess, l

ow co

st low

WVT

, tou

ghne

ss

Sque

eze pr

opert

y,ine

rtness

, low

cost

Clari

ty, st

iffne

ss, co

st

Clari

ty, st

iffne

ss,O 2

barri

er, re

tentio

n of

nonp

olar m

ateria

ls

Inertn

ess, l

ow co

st,ES

CR re

sistan

ce

Good

barri

er for

nonp

olars,

toug

h, go

odo 2

barri

erVe

ry tou

gh, c

lear,

good

oxyg

en ba

rrier

Clari

ty, fa

ir ox

ygen

barri

er, go

od fo

r oils

Outst

andin

g barr

ier fo

rpo

lars a

nd ga

ses

Toug

hness

/Im

pact

Excel

lent

Excel

lent

Poor

Fair

Good

(Poo

r at 4

00 Fan

d belo

w)

Excel

lent

Outst

andin

g

Good

Excel

lent

Color

Clari

tyCo

lorles

s, Tr

anslu

cent

Color

less,

hazy

Color

less,

clear

Color

less,

clear

Color

less,

clear

Color

less,

hazy

Color

less,

clear

Color

less,

clear-

hazy

Color

less,

clear

Mate

rial

(den

sity)

High

Den

sity P

E(0

.955)

Low

Densi

ty PE

(0.92

0)

Polys

tyren

e (1

.05)

Rigid

PVC

(1.35

)

Polyp

ropyle

ne(0

.90)

Nylon

6, 1

0(1

.10)

Polyc

arbon

ate(1

.20)

Acryl

ic M

ultipo

lymers

(1.10

)Po

lymon

otrifu

oroeth

ylene

(2.10

)

Page 41: Packing Rx

41

โลหะ (Metals)วัสดุท่ีเปนโลหะซ่ึงนํ ามาใชทํ าเปนภาชนะสํ าหรับบรรจุยาท่ีใชมากมีอยู 2 อยางดวย

กัน คือ Aluminium และ TinAluminium นับเปนโลหะท่ีนํ ามาใชมากท่ีสุดท้ังนี้ก็เพราะมีคุณลักษณะท่ีดีเดนหลาย

ประการ เชน มีนํ้ าหนักเบา ไมแตก ไมมีรส ไมมีกล่ิน และไมเปนอันตราย ปองกันการซึมผานของไอนํ้ า แกส และกล่ินไดดีมาก และเปนวัสดุท่ีทึบแสงจึงสามารถปองกันแสงไดอยางดี ไมสงเสริมใหเกิดการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา และสามารถนํ าไป sterile ไดโดยทุกวิธี อาจจะนํ ามาทํ าเปนภาชนะท่ีมีลักษณะแข็งหรือออน

สํ าหรับภาชนะท่ีมีลักษณะแข็ง (Rigid container) จะมีลักษณะเปนหลอดหรือขวดท่ีไมมีตะเข็บซ่ึงทํ าโดยวิธี Extrusion นับเปนภาชนะท่ีเหมาะสํ าหรับบรรจุยาท่ีเปนของแข็งและแหง รวมท้ังยาเม็ด แคปซูล ยาเหน็บ และยาผง เปนตน แตตองคํ านึงอยูเสมอวาโลหะนี้อาจถูกทํ าใหเปนรอยขูดไดงายจากการเคล่ือนยายหรือขนสง ซ่ึงอาจทํ าใหยาเม็ดเกิดเปนรอยดํ าไดโดยเฉพาะท่ีเปนยาเม็ดเคลือบ ดังนั้นจึงนิยมเคลือบดานในภาชนะดวยสารท่ีเหมาะสม

อลูมิเนียมบางครั้งก็ใชแทนแผนดีบุกสํ าหรับทํ า aerosols มีราคาแพงกวาแตเนื่องจากไมมีตะเข็บจึงทํ าใหดูสวยงามกวาเม่ือนํ าไปพิมพดานนอก อยางไรก็ตามอลูมิเนียมมีความตานทานตอการกัดกรอนและการเกิดสนิมไดนอยกวาพวกดีบุก การนํ ามาใชสํ าหรับ aerosols จึงควรทํ าการทดสอบใหดีเสียกอน

สํ าหรับหลอดหรือ Collapsible tube นับเปนภาชนะท่ีทํ าจากอลูมิเนียมท่ีนํ ามาใชบรรจุยามากท่ีสุดโดยเฉพาะพวกข้ีผ้ึงและครีม มีความบริสุทธ์ิของอลูมิเนียมประมาณ 99.70% โดยท่ัวไปท่ีผุผลิตทํ าออกมามีขนาดเสนผานศูนยกลางต้ังแต 10 ถึง 60 มม. และความยาวประมาณ 35-260 มม. มีความจุต้ังแต 1.6 มล. ถึง 558 มล. สวนปากหรือ Nozzle จะมีเสนผานศูนยกลางต้ังแต 3.18 ถึง 8.38 มม. แลวแตขนาดของหลอดและความเหมาะสมสํ าหรับความขนเหลวของยาท่ีจะบรรจุ

Collapsible tubes ท่ีทํ าจากอลูมิเนียมอาจไมเหมาะสมสํ าหรับ Ointments หรือ Creams ทุกชนิด ตัวยาบางตัวอาจมีปฏิกิริยากับอลูมิเนียมได ดังนั้นจึงจํ าเปนจะตองทํ าการทดสอบใหแนใจเสียกอนจึงนํ ามาใช หากพบวาตัวยาเกิดมีปฏิกิริยากับอลูมิเนียมและยังจํ าเปนจะตองบรรจุในหลอดท่ีทํ าจากอลูมิเนียมก็ควรหาทางแกไขเสียกอน ซ่ึงอาจแกไขโดยการเติมตัวปองกันลงไปในยานั้น ๆ หรือโดยการเคลือบภายในหลอดดวยสารท่ีเหมาะสมเชน Epoxy resin หลอดท่ีเคลือบดวยพวกนี้กอนนํ ามาใชควรนํ ามาตรวจสอบเสียกอนเพื่อดูวาการเคลือบนั้นสม่ํ าเสมอและปกคลุมผิวอลูมิเนียมดานในไดหมด ซ่ึงสามารถทดสอบไดโดยวิธีท่ีเรียกวา Conductivity test โดยอาศัยเครื่อง Power supply และใชสารละลายของ Sodium chloride เปน Electrolyte solution

Page 42: Packing Rx

42

อีกส่ิงหนึ่งท่ีทํ าจากอลูมิเนียมและนํ ามาใชสํ าหรับบรรจุยากันมากก็คือ Foil ปรกติแลว Aluminium foils จะปองกันไอนํ้ าและแกสไดดีพอควร แตพวกท่ีมีความหนานอย ๆ จะพบรูเล็ก ๆ ท่ีมองดวยตาเปลาไมเห็น (Pinholes) ย่ิงถาบางมาก ๆ ก็จะพบจํ านวนรูเล็ก ๆ มากข้ึน

ปรกติแลว Foil จะถูกเคลือบดวยพวก polyethylene เพื่อเปนตัวชวยใหการ seal ติดกันไดสนิทและไมทํ าใหเกิดรอยรั่ว ความบริสุทธ์ิของอลูมิเนียมท่ีนํ ามาทํ า foil โดยปรกติจะประมาณ 99.5% โดยมีสวนผสมของ Iron ประมาณ 0.4% และ silicon ประมาณ 0.1% ถาสวนผสมของ Iron สูงข้ึนจะทํ าให foil มีความตานทานตอการกัดกรอนหรือการเกิดสนิมลดลง

ความตานทานตอสารเคมีของอลูมิเนียม ภาชนะท่ีทํ าจากอลูมิเนียมมีความตานทานตอสารเคมีและปฏิกิริยาท่ีเกิดจากความช้ืนในอากาศไดดีกวาภาชนะท่ีทํ าจากพวกเหล็กอยางไรก็ตามท้ังกรดและดางสามารถทํ าใหเกิดการกัดกรอนและข้ึนสนิทได Hydrochloride acid และ Phosphoric acid ท้ังชนิดออนและแรงจะกัดกรอนภาชนะท่ีทํ าจากอลูมิเนียม โดยเฉพาะ Nitric acid และ Sulphuric acid ท่ีมีความแรงจนถึง 50% จะมีการกัดกรอนมากข้ึน แตถาความแรงสูงข้ึนกวา 50% ความตานทานของอลูมิเนียมจะสูงข้ึนตามลํ าดับ สํ าหรับ Citric และ Acetic acids ท่ีอุณหภูมิธรรมดาจะไมมีผลกับอลูมิเนียม

สารละลายอยางแรงของแอมโมเนีย จะมีผลตออลูมิเนียมเพียงเล็กนอย แต Hydroxides ของ Potassium, Sodium และ Magnesium จะมีผลอยางแรงกับอลูมิเนียม ยกเวน Calcium hydroxide ซ่ึงผลท่ีเกิดไมคอยรุนแรงมากนัก

สํ าหรับพวก Halogens ถาในสภาพแหงจะไมกัดกรอนอลูมิเนียม แตถามีนํ้ าอยูพวก Bromine, Chlorine, Fluorine และ Iodine จะทํ าใหเกิดการกัดกรอนตออลูมิเนียม Alcoholic solutions ของ Iodine (Tincture of Iodine) ก็เชนเดียวกัน ดังนั้นฝาเกลียวท่ีมีแผนอลูมิเนียมอยูดานในจึงไมเหมาะสมท่ีจะนํ ามาใชกับยาเหลานี้ ฉลากกระดาษท่ีมีสวนผสมของ chlorides เกินกวา 0.05% เม่ือนํ าไปใชกับภาชนะอลูมิเนียมอาจทํ าใหเกิดรูเล็ก ๆ ซ่ึงเกิดจากการกัดกรอนและทํ าใหมีฟองอากาศเกิดข้ึนใตฉลาก กาวท่ีใชสํ าหรับปดฉลากควรจะมี pH ระหวาง 5.5-8.5 Chlorides ท่ีเปนสวนผสมอยูในกลองหรือลังกระดาษก็อาจทํ าใหเกิดการกัดกรอนตอผิวของภาชนะอลูมิเนียมได

ภาชนะอลูมิเนียมท่ีผลิตออกมาโดยท่ัวไปจะมีความบริสุทธ์ิของอลูมิเนียมระหวาง 99.0-99.7% อลูมิเนียมท่ีมีความบริสุทธ์ิสูงมาก (99.99%) จะมีความตานทานตอส่ิงเหลานี้สูงท่ีสุด แตมีลักษณะนิ่มเกินไปท่ีจะนํ ามาใชทํ าภาชนะ

Tin and Tinplate เนื่องจากดีบุกมีความดานทานตอสารเคมีไดดีกวาพวกอลูมิเนียมภาชนะท่ีทํ าจากดีบุกจึงมีความเหมาะสมกวา แตเนื่องจากราคาแพงกวาถาชนะดีบุกจึงมิไดนํ ามาใชสํ าหรับบรรจุยากันอยางกวางาขวางนัก สวนใหญจะใชก็ตอเม่ือไมสามารถใชภาชนะท่ีทํ าจากอลูมิเนียมแทนได เนื่องจากดีบุกมีความนิ่มและสามารถตานทานตอพวก Halogens ได จึงสามารถนํ ามาใชกับพวก Alcoholic solution ของ Iodine ได ถึงแมวาภาชนะท่ีทํ าจากดีบุกจะมีราคาคอนขางแพงแตนับวามีประโยชนมาก เพราะสามารถใชไดกับยาหลายชนิดโดยท่ีไมทํ าใหเกิดปฏิกิริยาใดๆ ข้ึน

Page 43: Packing Rx

43

Collapsible tube ท่ีทํ าจากดีบุกท่ีมีความบริสุทธ์ิ 99.25% จะมีความเหมาะสมสํ าหรับใชบรรจุยาพวก Ointments และ creams แทบทุกชนิด แตก็เนื่องจากราคาแพงกวา จึงนิยมใชหลอดท่ีทํ าจากอลูมิเนียมแทนในกรณีท่ีสามารถใชแทนได

ดีบุกสวนใหญท่ีใชจะนํ ามาใชในรูปของ Tinplate ซ่ึงเปนเหล็กออนท่ีฉาบบาง ๆ ท้ังสองดานดวยดีบุกเพื่อปองกันเหล็ก โดยความหนาของดีบุกท่ีฉาบหนาเพียงประมาณ 15 um และความหนาอาจจะไมสม่ํ าเสมอตลอดท้ังแผน ดังนั้นเม่ือสัมผัสกับความช้ืนอาจทํ าใหเกิดการกัดกรอนและข้ึนสนิมได เม่ือใชสํ าหรับบรรจุของเหลวหรือข้ีผ้ึงท่ีมีสวนผสมของนํ้ าอยูจเกิดมีสนิมข้ึนโดยเฉพาะเม่ืออุณหภูมิเหล่ียนแปลงข้ึนลงบอย ๆ จะทํ าใหนํ้ าระเหยออกมาและรวมตัวจับอยูท่ีผนังสวนบนท่ีวางอยู ซ่ึงจะทํ าใหสวนนั้นกลายเปนสนิม

ภาชนะท่ีทํ าจาก Tinplate ไมเหมาะสมท่ีจะนํ ามาใชบรรจุยาท่ีมีปฏิกิริยากับเหล็กได พวกยาข้ีผ้ึงท่ีมี Phenol หรือ Phenolic derivatives อยู เชน Salicylic acid หรือ Benzoic acid จะกัด Tinplate โดยเฉพาะสวนท่ีโคงหรือหักมุมซ่ึงผิวดีบุกท่ีฉาบอาจมีรอยท่ีจะทํ าใหเนื้อเหล็กสัมผัสยาได แตจะปองกันไดโดยการฉาบผิว Tinplate ดวยพวก Lacquer ท่ีมีความดานทานตอยานั้น ๆ ได

บทที่ 5การปด (Closures)

ภาชนะบรรจุยาทุกชนิดจะตองปดหรือ seal ใหสนิทไมโดยวิธีหนึ่งก็วิธีใด ท้ังนี้ข้ึนอยูกับวัสดุท่ีนํ ามาทํ าภาชนะ ยาท่ีบรรจุอยูภายใน วัตถุประสงคและลักษณะท่ีจะนํ ามาใช ในบทนี้จะกลาวถึงเฉพาะการปดภาชนะบรรจุยาท่ีใชกันมากเทานั้น ซ่ึงก็ไดแกภาชนะท่ีเปนขวดแกว ภาชนะท่ีเปนพลาสติกและพวก Collapsible tubesขวดแกว (Glass Bottles)

การปดขวดแกวอาจทํ าไดหลายวิธี คือ1. โดยใชฝาเกลียว (Screw caps)2. โดยใชฝาจุก (Stoppers and Plugs)3. โดยใชฝาครอบ (Snap-on closures)ฝาเกลียว (Screw caps) ท่ีนิยมใชกันมากจะทํ าจากวัสดุ 2 ชนิดดวยกันคือ จากโลหะ

(Metal) และ จากพลาสติก (Plastics)ฝาปดท่ีทํ าจากโลหะเปนท่ีนิยมใชกันมากเพราะสามารถปดไดโดยใชมือหรือเครื่อง

ปดอัตโนมัติแตการปดดวยมืออาจไมแนนดีพอเหมือนการปดดวนเครื่องซ่ึงสามารถปรับความแนนไดตามตองการ ความแนนของฝาปดอาจวัดไดดวยเครื่องมือท่ีเรียกวา Torque tester

Page 44: Packing Rx

44

โลหะท่ีใชทํ าใชฝาปดสวนใหญใช Aluminium และ Aluminium alloy หรือ Tinplate ซ่ึงอาจเคลือบดานในเพื่อลดปฏิกิริยาท่ีอาจเกิดจากการสัมผัสกับยา และเคลือบหรือพิมพสีดานนอกเพื่อใหดูสวยงามย่ิงข้ึน ฝาปดท่ีทํ าจาก Tinplaste จะมีราคาถูกกวาแตมีขอเสียท่ีวาเกิดการกัดกรอนและข้ึนสนิมไดงายโดยเฉพาะเม่ือถูกความช้ืน นอกจากนี้แลวเนื่องจาก Tinplaste มีความแข็งกวาจึงไมสามรารถทํ าใหแนนเหมือนอลูมิเนียม

ปจจุบันฝาอลูมิเนียมมักทํ าเปนชนิดท่ีเรียกวา Rolled-on คือ ชนิดไมตองตีเกลียวมากอนจะใชฝาคลอบลงไปบนปากขวดแลวใชเครื่องตีเกลียว (Capping machine) ดีไปตามรองเกลียวของปากขวด และในขณะเดียวกันเครื่องตีเกลียวจะสามารถรีดสวนปลายฝาใหรัดกระชับแนนกับขอบคอปากขวด การปดฝาโดยวิธีนี้จะทํ าใหปดไดแนนมาก และเม่ือจะเปดจะตองบิดใหสวนบนและสวนลางท่ีรัดแยูท่ีคอขวดขาดออกจากกันกอนจึงสามารถจะเปดออกได ซ่ึงนับวาเปนขอดีอยางหนึ่งของฝาปดชนิด Rolled-on คือสามารถบอกไดวาขวดยานั้นเคยถูกเปดใชมากอนหรือไม ภาษาอังกฤษจึงเรียกการปดหรือฝาปดชนิดนี้วา Pilfer-proof (r.o.p.p.)

ฝาเกลียวท่ีทํ าจากพลาสติกก็เปนท่ีนิยมใชไมนอยเพราะราคาถูกและใชงานไดดี สวนใหญจะทํ าจากพลาสติกพวก Thermosets คือ Urea formaldehyde และ phenol formaldehyde ฝาพลาสติกท่ีทํ าจาก Phenol formaldehyde จะมีคุณลักษณะตาง ๆ หลายอยางดีกวาฝาปดท่ีทํ าจาก Urea formaldehyde แตควรเลือกใช Phenol formaldehyde ชนิดท่ีไมมีกล่ินเพื่อหลีกเล่ียงกล่ินของ Phenol ท่ีจะเกิดข้ึน

สวนฝาเกลียวพลาสติกท่ีทํ าจากพวก Thermoplastics ก็มีเชนกัน ท่ีใชมากสวนใหญทํ าจาก Polystyrene, Polyethylene และ Polypropylene เนื่องจากความแข็งของ Polystyrene และการท่ีสามารถใสสีตาง ๆ ลงไปผสมเพื่อใหเกิดสีท่ีสวยงามได Polystyrene จึงเปนท่ีนิยมใชมากสํ าหรับพวกเครื่องสํ าอาง

ฝาเกลียวท่ีทํ าจากพวก medium density polyethylene เหมาะสมท่ีจะใชกับสารเคมีท่ีมีฤทธ์ิกัดกรอนตอภาชนะเชนพวก กรดและดางตาง ๆ แตก็ไมเหมาะสมท่ีจะใชกับ solvent หลาย ๆ อยางท้ังนี้ก็เพราะคุณสมบัติท่ีมันยอมใหการซึมผาน (Permeability) และจากการท่ีเกิดแตกราวไดงายเม่ือโดนแรงกดหรือการขันเกลียวใหแนนข้ึน

เม่ือลองเปรียบเทียบคุณสมบัติตาง ๆ ระหวางเกลียวท่ีทํ าจาก Polypropylene และ Polyethylene ดูแลวจะเห็นวาฝาเกลียวท่ีทํ าจาก Polypropylene นอกจากราคาจะถูกกวาแลวยังทนทานตอแรงกดหรือแรงท่ีเกิดจากการขันเกลียวท่ีทํ าจาก Urea formaldehyde หรือ Phenol formaldehyde จะพบวาฝาเกลียวท่ีทํ าจาก Polyethylene หรือ Polypropylene เม่ือขันเกลียวใหแนนข้ึนจะไมแตกงายเหมือนทํ าจาก Urea formaldehyde และ Phenol formaldehyde นอกจากนั้นแนวโนมท่ีฝาจะถอนหลังหลอมออกมาเนื่องจากการกระทบกระเทือนในระหวางการขนสงหรือจากความช้ืนและอุณหภูมิจะมีนอยกวา

Page 45: Packing Rx

45

เพื่อปองกันการซึมรั่วหรือใหประสิทธิภาพในการ seal ดีย่ิงข้ึนมักจะนิยมใชแผนบาง ๆ ท่ีเรียกวา Wad ใสไวดานในของฝา Wads นี้อาจทํ าจากวัสดุตาง ๆ กันรวมท้ังท่ีทํ าจากพวก thermoplastics, pulpboard และ composition cork (Cork agglomerate) ในกรณีท่ีจะตอง sterile โดย autoclave จะนิยมใช wad ท่ีทํ าจากยาง

Pulpboard เม่ือเคลือบดวยวัสดุท่ีเหมาะสมจะมีประโยชนมากสํ าหรับใชในกรณีท่ัวไปแตมีความยืดหยุนนอยกวาพวก composition cork ซ่ึงนิยมใชสํ าหรับฝาท่ีมีขนาดเสนผานศูนยกลางมากข้ึนเชน ขนาดท่ีโตกวา 28 มม. Composition cork มีอยู 2 แบบดวยกันคือ Gum-bonded และ Resin bonded แบบ Resin bonded เหมาะสํ าหรับยานํ้ า และครีม เพราะเปน synthetic resin ซ่ึงสงเสริมใหเกิดการเจริญเติบโตของเชื้อราไดนอยกวาแบบท่ีเปน Gem-bonded composition cork

นอกจากพวก Wax เหลานี้แลว cap wads ไมวาจะทํ าจาก pulpboard หรือ composition cork ควรจะตานทานตอยาท่ีบรรจุอยูภายในได ซ่ึงอาจทํ าไดโดยการ treat ผิวหนาของ wads โดยวัสดุและวิธีการท่ีเหมาะสม ซ่ึงวัสดุเหลานี้อาจไดแก

- Blackal ซ่ึงเปน oleo-resin- Cerresin ซ่ึงเปน oleo-resin varnish- Melinex หรือ polyethylene teraphthalate- Polyethylene- P.V.D.C.-Saran , Steran- Aluminium foil- Tinfoil- Tinfoil-Mexlinex- Alumimium foil / waxอยางไรก็ตามวัสดุเหลานี้แตละชนิดมิไดมีความเหมาะสมท่ีจะใชกับยาท่ีเปนของเหลว

หรือของแข็งทุกอยางไป การท่ีจะเลือกใชอันใดใหเหมาะสมยอมข้ึนอยูกับคุณสมบัติของยาท่ีจะบรรจุ และความตองการท่ีจะใหตานทานได เพราะฉะนั้นกอนท่ีจะตัดสินใจอันใดเพื่อความแนนอน ควรจะทํ าการทดลองเสียกอน

Blackal และ Ceresine พบวาไดนํ ามาใชและเหมาะสมกับยาหลายอยาง แตปจจุบันนี้นิยมใชพลาสติกแทน P.V.D.C. นับเปนวัสดุท่ีเหมาะสมสํ าหรับใชในกรณีตาง ๆ ไดมากท่ีสุด

Melinex เปนวัสดุท่ี B.P.C. แนะนํ าใหใชเปฯ sterilizable facing สํ าหรับ rubber wads ท่ีใชในฝาปดสํ าหรับยาหยอดตาท่ีมีสวนผสมของ benzalkonium chloride ซ่ึงถาใช silicone rubber จะมีราคาแพงกวามาก

Aluminium foil และ Tinfoil มีขอดีท่ีไมยอมให alcohol และ volatile solvents ซึมผาน แต Aluminium foil ไมเหมาะสํ าหรับพวกกรดและดางอยางแรง Tinfoil จะทนทานตอดางไดและมีความออนนุมกวา aluminium จึงใหการ seal ไดดีกวา แต Tinfoil แพงกวา Aluminium foil

Page 46: Packing Rx

46

Tinfoil/Melinex มีราคาคอนขางแพง แตเนื่องจากคุณสมบัติท่ีมิยอมใหมีการซึมผานของ Tinfoil และการปองกันท่ีเกิดข้ึนจาก Melinex ทํ าใหสามารถใชปดยานํ้ าไดอยางมีประสิทธิภาพดี

Aluminium foil/wax ทํ าข้ึนมาในตอนแรกเพ่ือใชกับยาท่ีเปนของแข็งซ่ึงมีความไวตอความชื้น foil จะปองกันการซึมผานของไอนํ้ า และ wax จะชวยใหการปดสนิทดีย่ิงข้ึน

เนื่องจากความยืดหยุนของพลาสติกบางชนิดมีนอย จึงมีผูพยายามออกแบบฝาปดโดยท่ีมีตัวอาศัย Wads ฝาปดเหลานี้ทํ าจาก Urea formaldehyde หรือ formadehyde แตตัว Wads จะถูกแทนโดย Polyethylene ท่ีมีลักษณะกลวงเปนรูคลาย ๆ จุก ซ่ึงเม่ือปดเเกลียวเขาไปจะทํ าใหปดกับปากขวดไดอยางแนนสนิท

ฝาจุก (Stoppers and Plugs) สมัยกอนนี้ฝาจุกท่ีนิยมใชมากท่ีสุดก็เห็นจะหนีไมพนพวก Corks แตสํ าหรับยาหรือสารท่ีมีปฏิกิริยาอยางแรง เชน กรดหรือดางก็จะใช stoppers ท่ีทํ าจากแกวแทน stoppers ท่ีทํ าจากแกวยังใชกันอยูในปจจุบันนี้โดยเฉพาะสํ าหรับขวดท่ีใส solvents หรือ Reagents ตาง ๆ ท่ีใชในหองทดลอง

ปจจุบันนี้ไดมีผูหันมาใช stoppers ท่ีทํ าจาก Polyethylene สํ าหรับยาท่ัว ๆ ไปมากย่ิงข้ึนโดยทํ าเปนลักษณะคลาย stoppers ท่ีทํ าจากแกวแตดานในกลวง

สํ าหรับหลอดทดลองหรือขวด โดยเฉพาะท่ีใชสํ าหรับบรรจุยาเม็ดและแคปซูล มีการนิยมใช Polyethylene ท่ีมีลักษณะเปน Plug ยาเม็ดหรือแคปซูลท่ีมีความไวตอความชื้นสูง อาจใชฝาปดชนิด Plug-type ซ่ึงมีดานในกลวงสํ าหรับใสพวก Dessicant ซ่ึง Dessicant จะชวยดูดเอาความช้ืนไว

นอกจากจุกกอก แกว และพลาสติกแลว ก็มีจุกท่ีทํ าจากยางหรือ rubber stoppers ซ่ึงปจจุบันนี้ไมคอยนิยมใชแลว จุกยางใชปดไดอยางมีประสิทธิภาพดีมาก ท้ังนี้เนื่องจากความนิ่มและยืดหยุนได Butyl rubber stopper นิยมใชกันมากสํ าหรับยาฉีดชนิดผงท่ีบรรจุใน Vials

ฝาครอบ (Snap-on closures) สวนใหญจะทํ าจาก Polyethylene นิยมใชมากสํ าหรับภาชนะท่ีมีลักษณะเปนหลอดซ่ึงใชสํ าหรับบรรจุยาเม็ดและแคปซูล Snap-on closure นี้มีขอท่ีราคาถูก ดูสวยงาม สามารถตานทานตอสารเคมีไดดีและใชงาย แตในการทํ าจะตองใหมีขนาดท่ีพอดีกับปากและคอขวด มิฉะนั้นแลวอาจทํ าใหปดไดไมแน อากาศและความชื้นสามารถซึมผานเขาออกได ดังนั้นในการใช Snap-on closures สํ าหรับ Volatile liquids เชนพวก alcohol จึงมักใช rubber plugs หรือ Polyethylene plugs ใสไวขางในอีกทีหนึ่ง

Snap-on closures อาจทํ าเปนแบบ Pilfer-proof seal ซ่ึงชวยใหฝาปดไดแนนข้ึนและยังปองกันการขโมยหรือเปดใชกอนได เชนเดียวกับฝาเกลียวอลูมิเนียมชนิด Pilfer-proofภาชนะพลาสติก (Plastics containers)

โดยท่ัวไปแลวฝาปดท่ีใชสํ าหรับขวดแกวสามารถนํ ามาใชกับภาชนะท่ีทํ าจากพลาสติกได ฝาเกลียวจะเปนท่ีนิยมใชมากกวาอยางอื่น ๆ ฝาเกลียวท่ีใชกับขวดพลาสติกท่ีทํ าจาก High density

Page 47: Packing Rx

47

polyethylene จะมีแนวโนมท่ีจะคลายเกลียวออกหากหมุนเขาไปแนน ๆ ท้ังนี้อาจเนื่องจากอุณหภูมิและความยืดหยุนระหวางผิวของปากขวดและฝาปด

ส่ิงหนึ่งท่ีจะตองระมัดระวังในการใชฝาขวดพลาสติกก็คือ การ seal ท่ีไมแนนพอซ่ึงทํ าใหเกิดรอยหรือชองวางท่ียอมใหไอนํ้ าและอากาศซึมผานได พบวาขวดย่ิงมีปากกวางมาก ๆ โอกาสท่ีจะรั้วก็มีมากข้ึน นอกจากนี้แลวยังเกิดจากการท่ีปากขวดไมเรียบสนิทหรืออาจมีเศษของพลาสติกอยู

คอขวดของภาชนะท่ีทํ าจาก Polystyrene , Polypropylene และ Unplasticised P.V.C. มีความแข็งกวาขวดท่ีทํ าจาก Polyethylene ดังนั้นแรงกดของฝาหรือ Wads จะมีประสิทธิภาพกวาฝาปดหรือฝาจุกสํ าหรับยาฉีด (Injection Closures)

สวนใหญยาฉีดท่ีเปน Aqueous solution, Oily solutions, Freeze-dried solids และ Powders จะใชฝาปดท่ีทํ าจากยาง ซ่ึงคุณลักษณะของฝาจุยาฉีดจะตอง

1. ปองกันเช้ือแบคทีเรียได2. สามารถยืดหยุนหรือปดรอยรูเข็มกลับไดอยางสนิทเม่ือถอดเข็มออก3. จะตองไมทํ าใหประสิทธิภาพของยาเส่ือมไป หรือตองไมมีปฏิกิริยากับยาท่ีบรรจุอยูภายใน

4. จะตองไมทํ าใหเกิดสารแปลกปลอมชนิดใด ๆ ข้ึน5. ไมทํ าใหเกิดผงหรือชิ้นสวนหลุดลงไปปะปนกับยาท่ีบรรจุอยู เม่ือใชเข็มแทงลงไป

6. สามารถทนทานตอการ sterile ได7. จะยอมใหความช้ืนซึมผานหรือดูดเอาความช้ืนไวนอยท่ีสุดมาตรฐานอังกฤษหรือ British Standard BS 3263 ไดต้ังขอกํ าหนดสํ าหรับฝาจุกยา

ฉีดและวิธีการทดสอบไวสํ าหรับส่ิงเหลานี้ คือPenetrabilityFragmentationSelf-sealabilityWater extractivesAcidity or AlkalinityProduct compatabilityWater vapour permeabilityฝาปดหรือจุกสํ าหรับยาฉีดท่ีนิยมใชมาก ๆ มีอยู 2 แบบ คือ

Page 48: Packing Rx

48

1. Flanged hollow plugs มีลักษณะแบน ๆ เปนตุมกลวงอยูตรงกลาง ขาง ๆ จะมีลักษณะเปนขอบ ซ่ึงในการปดจะมีฝาอลูมิเนียมครอบและ seal ทับไวอีกทีหนึ่ง

2. Flat rubber dises เปนแผนยางแบบ Wads ซ่ึงสอดเขาไปในฝาอลูมิเนียมซ่ึง seal ใหติดแนนกับปากขวด ประสิทธิภาพของฝาแบบนี้จะข้ึนอยูกับแรงกดของแผนยางระหวางฝาครอบและผิวของปากขวด

จุกสํ าหรับยาฉีดทํ าจากยางธรรมชาติหรือยางสังเคราะหก็ได ยางสังเคราะห (Synthetic rubbers) มีคุณสมบัติทางเคมีตางกับยางธรรมชาติโดยท่ัวไปจะมีความคงทนตอความรอนไดดีกวา Butyl rubbers จะทนทานตอ fixed oils และปองกันการซึมผานของความช้ืนไดดีจึงเหมาะท่ีจะใชกับยาพวก freeze dried พวก penicillins และ vaccines

Silicone rubbers (Silastomers) ก็เปนยางท่ีทนทานตอความรอนไดดีแตยอมใหความช้ืนซึมผานไดสูง

ส่ิงท่ีจะตองระมัดระวังในการใชฝาจุกยางสํ าหรับยาฉีดก็คือ เรื่องของ Sorption หรือการดูดซับและ Leaching หรือการท่ีสวนผสมในยางหลุดออกมา การดูดซับนี้โดยเฉพาะอาจเกิดข้ึนกับพวก Bacteriostatics เชน benzyl alcohol, cresol chlorocresol, Chloroxylenol, Phenol, Phenol mercuric nitrate และ thiomersal ซ่ึงถาทํ าใหปริมาณของตัวยาเหลานี้ลดลงก็อาจทํ าใหเกิดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียข้ึนได

B.P. จึงไดแนะนํ าวาฝาจุกยางควรจะนํ ามา autoclave ใน Bactericidal solution ซ่ึงมีปริมาณของ Bactericide อยูอยางนอยสองเทาของท่ีมีอยูในยาฉีดนั้น ๆ และหากยาฉีดมี Sodium metabisulphate อยูดวยใน Bactericidal solution ก็ควรจะเติม Sodium metabisulphate ลงไปดวยประมาณ 0.1% และจุกยางควรจะแชอยูใน solution นี้อยางนอย 48 ช่ัวโมงกอนท่ีจะนํ าเอามาใช

การท่ีจุกยางดูดซับเอาพวก Bactericides ไว พอสรุปไดวาข้ึนอยูกับแฟคเตอรเหลานี้1. ชนิดของยางท่ีใช2. ความเขมขนของ solution3. อุณหภูมิ4. อัตราสวนระหวางปริมาณของเหลวและเนื้อท่ีของจุกยาง5. การสัมผัสระหวาง solution และจุกยาง6. เวลานอกจากนี้แลวพบวาอาจเกิดจาก Sulphur อันเปนสวนผสมของยา และสัดสวนของ

พวก fillersสํ าหรับการ Leaching หรือการหลุดออกมาของสวนผสมตาง ๆในจุกยางนั้น สาเหตุ

สวนใหญเกิดจาก solvents ซ่ึงไปสะกัดสารเหลานั้นออกมาเชนพวก soluble additives อันไดแก accelerators และ antioxidants เปนตน

Page 49: Packing Rx

49

มีผูพยายามทํ าการทดลองเพื่อปองกัน Sorption และ Leaching เชนโดยการเคลือบดวย paraffin wax การ treat ดวย p.t.f.e. และการเคลือบดวย epoxy resins เปนตน แตสํ าหรับการเก็บนาน ๆ วิธีการเหลานี้ก็ยังไมไดผลดีเปนท่ีพอใจ

นอกจาก Sorption และ Leaching แลวอีกส่ิงหนึ่งท่ีจะตองระมัดระวังในการใชฝาจุกยางก็คือ เรื่องของ Particulate matter ซ่ึง particles เหลานี้เกิดจากการท่ีจุกยางเกิดสึกกรอนระหวางการลาง เกิดจาก Additives เชน fillers หลุดออกจากเนื้อยางหรืออาจเกิดจากสารท่ีเกาะติดอยูตามผิวของจุกยางหลอด (Collapsible Tubes)

หลอดท่ีใชสํ าหรับบรรจุยาพวกขี้ผ้ึงและครีมสวนใหญจะทํ าจากโลหะพวกอลูมิเนียมและมีบางท่ีทํ าจากพลาสติก

สํ าหรับหลอดโลหะนั้นฝาปดท่ีใชสวนมากจะเปนฝาเกลียวและโดยท่ัวไปผูผลิตหลอดจะปดฝามาใหเสร็จเรียบรอยแลวกอนท่ีจะสงมาให ฝาจุกเหลานี้อาจทํ าจากพลาสติกชนิดแข็งหรือพลาสติกอยางออนก็ได พลาสติกอยางแข็งท่ีใชกันก็ไดแก Urea formaldehyde หรือ Phenol formaldehyde แตถาตองการใหทนตอการ sterile โดยความรอนไดก็ตองใชพวก Phenolic ภายในฝาอาจจํ าเปนตองใส Wad ดวยซ่ึงอาจเปนพวก Cork ท่ี facing ดวยพวก foil แตถาหลอดท่ีนํ ามาใชบรรจุยาตา Wad ไมควรจะทํ าจาก Cork

ฝาเกลียวออนซ่ึงทํ าจาก Polyehtylene ไมจํ าเปนตองใส Wads แตเวลาจะ sterile สามารถทํ าไดโดยการใชรังสีหรือสารเคมีเทานั้น

ฝาเกลียวไมวาจะทํ าดวยพลาสติกอยางแข็งหรืออยางออน ประสิทธิภาพในการปดควรจะดีและเปนไปตามการทดสอบท่ีบงไวใน British Standard สํ าหรับยาบางชนิดท่ีมีสวนผสมของ volatile ingredients หรือในกรณีท่ีตองการ seal ใหสนิท อาจจํ าเปนตองใชหลอดท่ีผูผลิต seal ปากหลอดมาใหเสร็จ ซ่ึงเราเรียกวา Menbrane nozzle

หลังจากท่ีบรรจุยาลงไปในหลอดแลวซ่ึงสวนใหญจะใชเครื่องบรรจุแบบอัตโนมัติหรือกึ่งอันโนมัติกนหลอดจะถูกปดโดยการบีบและพับซ่ึงในขณะเดียวกันอาจจะปม Lot No. ของยานั้นลงบนของท่ีพับไดดวย

สํ าหรับยาท่ีมีลักษณะเปนนํ้ ามัน (Oily consistency) หรือในกรณีท่ีตองการใหการปดท่ีกนหลอดแนนสนิทมาก ๆ อาจใชหลอดท่ีมี sealing band ท่ีกนหลอด ซ่ึงเคลือบท่ีปลายหลอดไวดวย sealing material มีความกวางประมาณ 6 มม.

สวนหลอดท่ีทํ าจากพลาสติกสวนใหญก็ใชฝาชนิดเกลียวเชนกัน แตการ seal ท่ีกนหลอดหลังจากการบรรจุยาลงไปแลวจํ าเปนจะตองอาศัยความรอนหรือกระแสไฟท่ีมีความถี่สูง ในกรณีท่ีไมมีเครื่อง seal ดวยความรอนผูใชอาจขอทางผูผลิตหลอดทํ าการ seal กนมาใหเสร็จและเวลาบรรจุยาลงไปก็ใชบรรจุเขาทางปากหลอดหรือ Nozzle ซ่ึงในกรณีอาจจะตองทํ าปากหลอดใหโตกวา

Page 50: Packing Rx

50

ปรกติเล็กนอยและหากตองการใหยาออกไดทีละนอย ๆ ก็อาจใส stopper หรือ plug ซ่ึงมีรูเล็ก ๆ ตามขนาดท่ีตองการได

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยาเม็ดที่ใชรับประทาน

1. ขอบขาย1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กํ าหนด รูปราง ขนาดระบุ ความจุและมิติ คุณ

ลักษณะท่ีตองการ การทํ าเครื่องหมาย การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน และการทดสอบขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยาเม็ดท่ีใชรับประทาน

1.2 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมเฉพาะ ขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยาเม็ดท่ีใชรับประทาน ซ่ึงตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา �ขวดยาแกว�

1.3 ขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยาท่ีใชภายนอก อนุโลมใหใชตามมาตรฐานนี้2. บทนิยาม

ความหมายของคํ าท่ีใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ มีดังตอไปนี้2.1 ขนาดระบุ (nominal size) หมายถึง ขนาดท่ีใชเรียกชื่อขวดซ่ึงจะมีคาเทากับความจุ

ถึงระดับบรรจุ (fill point) เปนลูกบาศกเซนติเมตร ตามท่ีระบุไวในแบบ (Drawing) ในการส่ังทํ า

3. รูปราง ขนาดระบุ ความจุ และมิติ3.1 ขวดยาแกว ใหมีรูปราง ขนาดระบุ ความจุ และมิติ ดังรูปท่ี 1 และตารางท่ี 13.2 ปากขวด (finish) ของขวดยาแกวมีขอกํ าหนดตาง ๆ ดังตอไปนี้

3.2.1 มีรูปรางและมิติดังในรูปท่ี 2เม่ือ H คือ ระยะจากปลายสุดของผิวปากขวดถึงฐานของเกลียว β คือ มุมเอียงของเกลียว (helix angle)

2

)(tan

avav ETpitch

+=

πβ

Page 51: Packing Rx

51

รูปท่ี 1 รูปรางของขวดยาแกว (ขอ 3.1)

Page 52: Packing Rx

52

ตารางท่ี 1 ขนาดระบุ ความจุ และมิติของขวดยาแกวมิติตัวขวด ml

ขนาดระบุความจุถึงขอบปากขวด cm3

นํ้ า ห นั ก โ ด ยประมาณ กรัม A C

ขนาดปากขวดระบุ

152030601001201502003005007501000

21+1.026+1.038+1.569+2.0123+3.0143+3.0173+3.5223+4.0332+5.0530+6.0782+7.51032+8.4

3035537099121142170255340454567

55.0+0.857.0+0.865.0+0.879.4+0.884.0+1.090.0+0.9100.0+1.0115.0+1.0134.0+1.0149.0+1.190.0+1.595.3+1.6

30.0+0.833.0+0.838.0+0.844.4+0.852.0+1.057.0+1.059.0+1.062.0+1.270.0+1.583.0+1.490.0+1.595.3+1.6

2828

31.531.54646464653535353

• หมายเหตุ �นํ้ าหนักโดยประมาณ� กํ าหนดไวเพียงเปนแนวทาง

Page 53: Packing Rx

53

Page 54: Packing Rx

54

3.2.2 รอยตอของเกลียวท่ีตอกันไมสนิทอันเนื่องมาจากแบบหลอยอมใหคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.10 มิลลิเมตร ท่ีตะเข็บของแบบหลอ และยอมใหเสนผานศูนยกลางของเกลียวตรงตะเข็บของแบบหลอคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.2 มิลลิเมตร ในชวงโคง 20 องศา

3.2.3 ความยาวของเกลียว ตองไมนอยกวา 1 ¼ รอบ ตรงปลายเกลียวสอบเขา ยาวไมนอยกวา ¼ รอบ ของความยาวเกลียว

3.2.4 มิติตาง ๆ จะวัดโดยใชวิธีมาตรฐานใดก็ได ยกเวนการวัดคา T และคา L ตองใชเครื่องวัดผานและไมผาน (go, no go gauges) ดังตัวอยางในรูปท่ี 3

4. คุณลักษณะที่ตองการ4.1 ลักษณะท่ัวไปความหนาของผนังขวดยาแกวตองสม่ํ าเสมอ ผนังขวดและปากท่ีจะปดฝาขวดตองเรียบ ยกเวนรอยตะเข็บของแบบหลอ4.2 สีตองเปนแกวใสไมมีสี (flint) หรือสีชา (amber)4.3 วัสดุท่ีใชขวดยาแกว ตองทํ าจากแกวโซดา-ไลม เม่ือทดสอบความเปนดางตาม มอก.362 แลวติเตรตดวยสารละลายกรดซัลฟวริก ความเขมขน 0.01 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร ปริมาตรเฉล่ียท่ีใชตองไมเกิน 15 ลูกบาศกเซนติเมตร

Page 55: Packing Rx

55

รูปท่ี 3 เครื่องวัดผานและไมผาน (ขอ 3.2.4)

หมายเหตุ 1. ⊗ คือ min20

1Tπ หรือ min

20

1Lπ

2. (ก) คือ เครื่องวัดไมผาน เม่ือสวมปากขวดโดยรอบดานใด ๆ ก็ตามจะสวมไม เขา

3. (ข) คือ เครื่องวัดผานเม่ือสวมปากขวดโดยรอบดานใด ๆ ก็ตามจะสวมผานไดตลอดความยาว H เม่ือวัดคา T ความยาว F เม่ือวัดคา L

4. เครื่องวัดผานและไมผาน ใหมีการสึกหรอ (under size) ตามความกวางไดไมเกิน 1/12 สวนของเสนรอบวงของเกลียว

5. ปากขวดขนาดตาง ๆ กันจะใชเครื่องวัดแตละอัน

Page 56: Packing Rx

56

4.4 ความทนทานตอความรอนขวดยาแกวตองสามารถทนทานตอความรอนได โดยไมแตกหรือเสียหายการทดสอบใหเปนไปตาม มอก. 3624.5 การสงผานของแสง (light transmission)ขวดยาแกวสีชาตองมีอัตราการสงผานของแสงไมเกินรอยละ 10 ท่ีความยาวคล่ืนใด ๆ ระหวาง 290 นาโนเมตร ถึง 450 นาโนเมตรการทดสอบใหเปนไปตาม มอก.3624.6 จํ านวนฟองอากาศ4.6.1 ตองไมมีฟองอากาศขนาดเกิน 2 มล.4.6.2 ฟองอากาศท่ีมีขนาดไมเกิน 2 มล. ใหมีไดไมเกิน 200 ฟองตอนํ้ าหนักแกว

100 กรัมการทดสอบใหเปนไปตาม มอก.3625. การทํ าเคร่ืองหมาย5.1 ท่ีกนยาแกวดานนอกทุกขวด อยางนอยตองมีเลข อักษรหรือเครื่องหมาย แสดงขอความตอไปนี้ เปนอักษรตัวนูนในเนื้อแกวใหเห็นไดงาย ชัดเจน และถาวร

(1) ช่ือผูทํ าหรือโรงงานท่ีทํ า หรือเครื่องหมายการคา(2) ขนาดระบุในกรณีท่ีใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยท่ีกํ าหนดไว5.2 ผูทํ าผลิตภัณฑอุตสาหกรรมท่ีเปนไปตามมาตรฐานนี้ จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นได ตอเม่ือไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมแลว

6. การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน6.1 การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน ใหเปนไปตาม มอก.362 หรืออาจใชแผนการชักตัวอยางอื่น ท่ีเทียบเทากันทางวิชาการกับแผนท่ีกํ าหนดไว

Page 57: Packing Rx

57

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยานํ้ าท่ีใชรับประทานขนาดระบุ 15 ถึง 1000

1. ขอบขาย1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กํ าหนด แบบ รูราง ขนาดระบุ ความจุ มิติ คุณ

ลักษณะท่ีตองการ การทํ าเครื่องหมาย การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน และการทดสอบ

1.2 มาตรฐานนี้ กลาวถึงขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยานํ้ าท่ีใชรับประทานขนาดระบุ 15 ถึง 1000 ซ่ึงตอไปนี้มาตรฐานจะเรียกวา �ขวดยาแกว�

1.3 ขวดยาแกวสํ าหรับบรรจุยานํ้ าท่ีใชภายนอก อนุโลมใหใชตามมาตรฐานน้ี2. บทนิยาม

ความหมายของคํ าท่ีใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ มีดังตอไปนี้2.1 ขนาดระบุ (nominal size) หมายถึง ขนาดท่ีใชเรียกชื่อขวดซ่ึงจะมีคาเทากับความจุ

ระดับบรรจุต่ํ าสุดเปนลูกบาศกเซนติเมตรสํ าหรับขวดขนาดระบุนั้น ๆ3. แบบ รูปราง ขนาดระบุ ความจุ มิติ

3.1 ขวดยาแกว แบงออกเปน 2 แบบ คือ3.1.1 แบบกลม มีรูปราง ขนาดระบุ ความจุ และมิติ ดังรูปท่ี 1 และตารางท่ี 13.1.2 แบบแบน มีรูปราง ขนาดระบุ ความจุ และมิติ ดังรูปท่ี 2 และตารางท่ี 2

3.2 ปากขวด (finish) ของขวดยาแกวท้ัง 2 แบบมีขอกํ าหนดตาง ๆ ดังตอไปนี้3.2.1 มีรูปรางและมิติดังในรูปท่ี 3

เม่ือ H คือ ระยะจากปลายบนสุดของผิวปากขวดถึงฐานของเกลียว β คือ มุมเอียงของเกลียว (helix angle)

2

)(tan

avav ETpitch

+=

πβ

3.2.2 รอยตอของเกลียวท่ีตอกันไมสนิทอันเนื่องจากแบบหลอยอมใหคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.10 มิลลิเมตร ท่ีตะเข็บของแบบหลอและยอมใหเสนผานศูนยกลางของเกลียวตรงตะเข็บของแบบหลอคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.2 มิลิเมตร ในชวงความโคง 20 องศา

3.2.3 ความยาวของเกลียวตองไมนอยกวา 1 ¼ รอบ ตรงปลายเกลียวเขายาวไมนอยกวา ¼ รอบของความยาวเกลียว

Page 58: Packing Rx

58

3.2.4 มิติตาง ๆ จะวัดโดยใชวิธีมาตรฐานใดก็ได ยกเวนการวัดคา T และ L ตองใชเครื่องวัดผานไมผาน (go, no go guages) ดังตัวอยางในรูปท่ี 4

รูปท่ี 1 ขวดยาแกวแบบกลม (ขอ 3.1.1)

Page 59: Packing Rx

59

ขนาดปากขวด

ระบุ 22 22 24 28 28 28 31.5

31.5

31.5

31.5

31.5

31.5

31.5

C

27.0+

0.834

.0+0.8

40.0+1.0

47.0+1.0

49.0+1.0

52.5+1.1

56.0+1.1

60.5+1.1

65.0+1.2

77.0+1.2

79.5+1.4

88.5+1.5

97.0+1.5

B 20.0

30.0

36.0

33.0

33.0

38.0

43.0

45.0

45.0

50.0

52.0

56.0

59.0

มิติตัวขวด มล

.

A

65.0+

0.882

.5+0.8

100.0

+1.0

115.0

+1.0

124.0

+1.0

133.0

+1.0

140.0

+1.0

154.0

+1.1

165.0

+1.1

180.0

+1.1

187.0

+1.1

217.0

+1.2

235.0

+1.3

นํ้ าหนักโดย

ประมาณ

กรัม

30 53 70 100

121

142

150

190

213

312

340

454

553

ถึงขอบปากขวด

19.0+1.0

36.5+1.5

72.0+

2.011

5.0+2

.513

5.0+3

.016

8.0+3

.520

2.0+3

.526

4.0+4

.032

4.0+4

.548

6.0+5

.553

6.0+6

.078

9.5+7

.310

58.0+

8.4

ความจุ ลบ.ซม

.

ถึงระดับบรรจุ

16.0+1.0

31.5+1.5

62.0+

2.010

3.0+3

.012

3.0+3

.015

3.0+3

.018

4.0+4

.024

4.0+4

.030

4.5+4

.545

6.0+6

.050

6.0+6

.075

7.5+7

.510

08.5+

8.5

ขนาดระบุ

15 30 60 100

120

150

180

240

300

450

500

750

1000

หมายเหตุ 1

. �นํ้ าหนักโดยประมาณ

� กํ าหนดไวเพียงเปนแนวทาง

2. มิติ �B

� เปนระยะสํ

าหรับทดสอบความจุถึงระดับบรรจุ โดยใชสเกลวัดจากขอบปากขวดลงไปเทากับระยะ �

B� และเติมของเหลวลงในขวดจนถึงปลาย

สเกล

เทของเหลวออกวัดปริมาตร

ตารางที่ 1

ขนาดระบุ

ความจุ และมิติของขวดยาแกวแบบกลม

(ขอ 3

.1.1)

Page 60: Packing Rx

60

รูปท่ี 2 ขวดยาแกวแบบแบน (ขอ 3.2.1)

Page 61: Packing Rx

61

ขีดบอก

ปริมาตร

ขีดละ

ประมาณ

5ลบ

.ซม.

(1 ชอนชา)

ขีดละ

ประมาณ

15

ลบ.ซม

.(1

ชอนโตะ

)

ขนาดปาก

ขวดระบุ

18 18 22 22 22 28 28 28

D

19.8+

0.822

.2+0.8

27.3+1.0

33.0+1.0

36.0+1.1

37.0+1.1

40.6+1.1

42.8+1.2

C

31.1+

0.837

.7+0.8

48.0+1.0

58.0+1.0

60.0+1.1

61.5+1.1

66.0+1.1

73.0+1.2

B 23.0

30.0

30.0

35.0

35.0

41.0

41.0

41.0มิติขวด มิลลิเมตร

A

73.5+

0.892

.2+0.8

114.9

+0.9

134.8

+1.0

146.0

+1.0

157.0

+1.0

174.5

+1.1

183.0

+1.1

นํ้ าหนักโดย

ประมาณ

กรัม 30 50 80 140

160

180

240

290

ถึงขอบปาก

ขวด

18+1

.535

+1.5

70+3

.0

132+

3.016

5+3.0

198+

5.025

8+5.0

318+

5.0

ความจุ ลบ.ซม

.

ถึงระดับ

บรรจุ

ขนาดระบุ

15 30 60 120

150

180

240

300

หมายเหตุ 1

. �นํ้ าหนักโดยประมาณ

� กํ าหนดไวเพียงเปนแนวทาง

2.

มิติ �

B� เปนระยะทดสอบความจุถึงระดับบรรจุ โดยเติมของเหลวถึงระดับ B

แลวเทของเหลวออกวัดปริมาตร

ตารางที่ 2

ขนาดระบุ

ความจุ และมิติของขวดยาแกวแบบแบน

(ขอ

3.1.2

)

Page 62: Packing Rx

62

Page 63: Packing Rx

63

Page 64: Packing Rx

64

4. คุณลักษณะที่ตองการ4.1 ลักษณะท่ัวไป

ความหนาของผนังขวดยาแกวตองสม่ํ าเสมอ ผิวหนาขอบปากขวดท่ีจะปดฝาตองเรียบ

4.2 สี

Page 65: Packing Rx

65

ตองเปนแกวใสไมมีสี (flint) หรือสีชา (amber)4.3 วัสดุท่ีใช

ขวดยาแกว ตองทํ าจากแกวโซดา-ไลม เม่ือทดสอบความเปนดาง ตามผนวก ก. โดยติเตรตดวยกรดซัลฟวริก 0.01 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร ปริมาตรเฉล่ียท่ีใชตองเกิน 15 ลูกบาศกเซนติเมตร

4.4 ความทนทานตอความรอนขวดยาแกวตองสามารถทนทานตอความรอนไดโดยไมแตกหรือเสียหาย เม่ือทดสอบตามขอ 7.2

4.5 การสงผานของแสง (light transmission)ขวดยาแกวสีชา ตองมีอัตราการสงผานของแสงไมเกินรอยละ 10 ท่ีมีความยาวคล่ืนใด ๆ ระหวาง 290 นาโนเมตร ถึง 450 นาโนเมตร เม่ือทดสอบตามขอ 7.3

4.6 จํ านวนฟองอากาศ4.6.1 ตองไมมีฟองอากาศขนาดเกิน 2 มิลลิเมตร4.6.2 ฟองอากาศท่ีมีขนาดไมเกิน 2 มิลลิเมตรใหมีไดไมเกิน 200 ฟองตอนํ้ าหนัก

แกว 100 กรัมการทดสอบใหเปนไปตามขอ 7.4

5. การทํ าเคร่ืองหมาย5.1 ท่ีกนขวดยาแกวดานนอกทุกขวด อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมาย แสดง

ขอความตอไปนี้เปนตัวนูนใหเห็นไดงาย ชัดเจนและถาวร(1) ช่ือผูทํ าหรือโรงงานท่ีทํ า หรือเครื่องหมายการคา(2) ขนาดระบุ

ในกรณีท่ีเปนขวดยาแกวแบบแบน นอกจากแสดงขนาดระบุไวท่ีกนขวดแลว ใหแสดงขีดบอกปริมาตรและคํ าวา �ชอนชา� หรือ �ชอนโตะ� กํ ากับไวขางขวดดวย (ดูตารางท่ี 2)

ในกรณีท่ีใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยท่ีกํ าหนดไว5.2 ผูทํ าผลิตภัณฑอุตสาหกรรมท่ีเปนไปตามมาตรฐานนี้ จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

กับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นไดตอเม่ือไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานอุตสาหกรรมแลว

6. การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสินหากมิไดมีการตกลงเปนอยางอื่น การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสินใหเปนไปตาม

กํ าหนดดังนี้6.1 นิยาม

Page 66: Packing Rx

66

6.1.1 รุน หมายถึง ขวดยาแกว แบบ ขนาด และสีเดียวกัน ซ่ึงทํ าข้ึนในคราวเดียวกัน

6.1.2 ขอบกพรอง (defect) หมายถึง สภาพของขวดยาแกวท่ีไมเปนไปตามความตองการท่ีกํ าหนด

6.1.3 ผลิตภัณฑบกพรอง (defective) หมายถึง ขวดยาแกวท่ีมีขอบกพรองอยางนอยหนึ่งขอ

6.2 การชักตัวอยางเพื่อทดสอบความจุ มิติ ลักษณะท่ัวไป ความทนทานตอความรอน ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางในตารางท่ี 3

6.3 การชักตัวอยางเพื่อทดสอบวัสดุท่ีใช การสงผานของแสง จํ านวนฟองอากาศ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางในตารางท่ี 4

6.4 เกณฑการตัดสินถาจํ านวนผลิตภัณฑบกพรองมีเทากับหรือนอยกวาเลขจํ านวนท่ียอมรับในตารางท่ี 3 และตารางท่ี 4 แลวแตกรณี ก็ใหยอมรับผลิตภัณฑรุนนั้น

ตารางท่ี 3 แผนการชักตัวอยาง (ขอ 6.2)ขนาดรุนขวด

ขนาดตัวอยาง ขวด

เลขจํ านวนท่ียอมรับขวด

ไมเกิน 280281 ถึง 500

501 ถึง 12001201 ถึง 32003201 ถึง 10000

10001 ข้ึนไป

325080120200315

357101421

ตารางท่ี 4 แผนการชักตัวอยาง (ขอ 6.3)ขนาดรุนขวด

ขนาดตัวอยางขวด

เลขจํ านวนท่ียอมรับขวด

ไมเกิน 12001201 ข้ึนไป

313

01

7. การทดสอบ

Page 67: Packing Rx

67

7.1 การวัดมิติใหใชเครื่องวัดท่ีเหมาะสมและอานไดละเอียดไมต่ํ ากวา 0.01 มิลลิเมตร และใหรายงานผลดวยจํ านวนเลขท่ีไมนอยกวาจํ านวนตัวเลขท่ีมีนัยสํ าคัญตามท่ีระบุไวในตารางท่ีเกี่ยวของ7.2 ความทนทานตอความรอน7.2.1 เครื่องมือ เครื่องอังนํ้ า7.2.2 วิธีทดสอบ

จุมขวดยาแกว ใหจมในเครื่องอังนํ้ า ท่ีมีอุณหภูมิ 72+2 องศาเซลเซียสเปนเวลา 1 นาที (ถาอุณหภูมิในเครื่องอังนํ้ าเครื่องหลังไมใช 27 องศาเซลเซียส ใหปฏิบัติดังนี้คือ ถาอุณหภูมิลดลง (หรือเพิ่มข้ึน) ทุก 5.6 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิท่ีกํ าหนด (27 องศาเซลเซียส) ก็ใหลด (หรือเพิ่ม) ความแตกตางระหวางอุณหภูมิสูงกับอุณหภูมิต่ํ าเปน 0.5 องศาเซลเซียส) เวลาท่ีใชในการยกขวดยาแกว จากเครื่องอังนํ้ าเครื่องแรกมายังเครื่องหลังตองไมเกิน 15 วินาที

7.3 การสงผานของแสง7.3.1 เครื่องมือ

สเปกโตรโฟโตมิเตอร มีความไวและความแมนยํ าท่ีเหมาะสมดัดแปลงใหใชวัดปริมาณการสงผานของแสงของขวดยาแกว

7.3.2 การเตรียมตัวอยางใชเล่ือยวงกลมท่ีมีลอขัดถูชนิดเปยกติดอยู เชน ลอกากเพชร ตัดขวดยาแกวตามยาว แตงขอบช้ินทดสอบใหไดขนาดท่ีพอเหมาะสํ าหรับติดกับสเปกโตรโฟโตมิเตอร เม่ือตัดแตงช้ินทดสอบเสร็จใหลางแลวทํ าใหแหง ระวังอยาใหผิวช้ินทดสอบมีรอยขูดขีด ถาชิ้นทดสอบเล็กกวาสวนท่ีจับชื้นทดสอบ (sample holder) ของสเปกโตรโฟโตมิเตอรใหใชกระดาษทึบหรือแถบสํ าหรับปด ปดชองวาท่ีเหลือ แตมีเงื่อนไขวาความยาวของช้ินทดสอบตองยาวกวาชองเปด (slit) ในสเปกโตรโฟโตมิเตอร กอนติดช้ินทดสอบเขากับท่ีจับชิ้นทดสอบ ใหใชกระดาษเช็ดเลนสเช็ดท่ีช้ินทดสอบ การติดช้ินทดสอบใหใชข้ีผ้ึงเหนียวติด (tacky wax) หรือใชวิธีอื่นท่ีสะดวกกวา ระวังอยาใหมีรอยนิ้วมือหรือรอยอื่นปรากฏอยูบนผิวช้ินทดสอบสวนท่ีจะใหแสงผาน

7.3.3 วิธีทดสอบวางท่ีจับช้ินทดสอบซ่ึงไดติดช้ินทดสอบไวแลวเขาในสเปกโตรโฟโตมิเตอร ใหแกนต้ังขนานกับระนาบของชองเปดและอยูประมาณกึ่งกลางของชองเปด

Page 68: Packing Rx

68

เม่ือตัดวางท่ีจับช้ินทดสอบดีแลวลํ าแสงจะต้ังฉากกับผิวช้ินทดสอบและมีสวนท่ีจะสะทอนกลับออกนอยท่ีสุดใหวัดแสงท่ีสงผานแกวในชวงคล่ืน 290 ถึง 450 นาโนเมตร โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ดังนี้(1) ถาสเปกโตรโฟโตมิเตอรมีเครื่องบันทึกในตัวใหวัดตอเนื่องกันไป(2) ถาสเปกโตรโฟโตมิเตอรไมมีเครื่องบันทึกในตัวใหวัดทุกชวง 20 นา

โนเมตร7.4 การหาจํ านวนฟองอากาศ

7.4.1 เครื่องมือ(1) กลองสํ าหรับตรวจสอบฟองอากาศ ประกอบดวยแหลงกํ าเนิดแสงให

แสงพอเหมาะ และจานแกวขนาดเสนผานศูนยกลาง 100 มิลลิเมตร บรรจุโมโนคลอโรเบนซีน (monochlorobenzene) สํ าหรับจุมช้ินทดสอบและเลนสขยายได 2.5 เทา

(2) ปากคีบสํ าหรับจับชิ้นทดสอบ(3) เครื่องนับจํ านวน

7.4.2 การเตรียมตัวอยาง7.4.2.1 ขวดยาแกวแบบกลม

ใหตัดช้ินทดสอบตามขวางของขวด มีขนาดสูงประมาณ 40 มิลลิเมตร แบงช้ินทดสอบออกเปน 4 ช้ินเทา ๆ กันตามแนวต้ัง แลวใชช้ินทดสอบ 2 ช้ิน ท่ีอยูตรงขามกันสํ าหรับทดสอบ

7.4.2.2 ขวดยาแกวแบบแบนใหตัดช้ินทดสอบขนาด 40 มิลลิเมตร x 40 มิลลิเมตร จากผนังขวดดานกวางดานละ 1 ช้ิน

7.4.2.3 ขวดยาแกวท่ีมีขนาดเล็กมากใหใชช้ินทดสอบท่ีมีกระบวนการทํ าเชนเดียวกัน หนักประมาณ 30 กรัม จํ านวน 2 ช้ิน

7.4.3 วิธีทดสอบ7.4.3.1 ช่ังตัวอยางใหไดคาละเอียด 1 กรัม7.4.3.2 การตรวจสอบฟองอากาศท่ีมีขนาดเกิน 2 มิลลิเมตรข้ึนไป

Page 69: Packing Rx

69

ใหตรวจช้ินทดสอบโดยจับใหอยูในท่ีมีมีแสงสวางเพียงพอแลวตรวจสอบดูฟองอากาศท่ีมีขนาดเกิน 2 มิลลิเมตรข้ึนไปดวยตาเปลา

7.4.3.3 การนับจํ านวนฟองอากาศท่ีมีขนาดไมเกิน 2 มิลลิเมตร ต้ังกลองสํ าหรับตรวจสอบฟองอากาศโดยเปดไฟ ใชปากคีบคีบชิ้นทดสอบ 1 ช้ิน วางจุมลงในโมโนคลอโรเบนซีน และหันดานนูนข้ึน ใหสวนโคงของชิ้นทดสอบสัมผัสกับแหลงกํ าเนิดแสงการวางช้ินทดสอบ ใหวางกึ่งกลางจานแกวเพื่อใหไดรับแสงสม่ํ าเสมอ นับจํ านวนฟองอากาศท่ีปรากฏเปนจุดสวาง บันทึกดวยเครื่องนับจํ านวน ตรวจสอบช้ินทดสอบท่ีเหลือ บันทึกจํ านวนฟองอากาศรวมท่ีตรวจสอบท้ังสองช้ิน

7.4.4 การคํ านวณจํ านวนฟองอากาศตอ 100 กรัม= จํ านวนฟองอากาศท้ังหมด x 100 นํ้ าหนักของชิ้นทดสอบเปนกรัม

ผนวก ก.การทดสอบความเปนดางของแกว (ขอ 4.3)

ก.1 เคร่ืองมือ(1) ออโตเครฟ (autoclave) ชนิดทนความดันได 170 กิโลปาสกาล* และสารถ

ปรับอุณหภูมิไดตามขอ ก.4 มีเครื่องควบคุมความดันใหสม่ํ าเสมอได หรือมีเครื่องควบคุมอุณหภูมิใหคงท่ีท่ี 121±0.5 องศาเซลเซียส ออโตเครฟ ตองมีขนาดใหญพอท่ีจะบรรจุขวดแกวรูปกรวยขนาด 250 ลบ.ซม. ได 6 ใบ ภายในออโตเครฟ มีช้ันสํ าหรับวางขวดแกวรูปกรวย มีเทอรโมมิเตอรมาตรวัดความดันและทอปรับความดัน (vent cock)หมายเหตุ * มีคาเทากับ 1.7 กิโลกรัมแรงตอตารางเซนติเมตร (24 หอนดตอตารางนิ้ว)

(2) เครื่องช่ังท่ีมีความไว 5 มิลลิกรัม หรือดีกวา

Page 70: Packing Rx

70

(3) บีกเกอรขนาด 50 ลบ.ซม. ทํ าดวยแกวท่ีมีความทนทานตอสารเคมีและทนทานตอการเก็บไวในออโตเครฟท่ีมีไอนํ้ ารอน 121 องศาเซลเซียส เปนเวลา30 นาที

(4) อางนํ้ าเย็น บรรจุนํ้ าได 1 ลูกบาศกเดซิเมตร โดยประมาณ(5) เตาอบ อบไดถึงอุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส(6) ขวดแกวรูปกรวย (conical flask) ขนาด 250 ลบ.ซม. ทํ าจากแกวท่ีมีความ

ทนทานตอสารเคมี และทนทานตอการเก็บไวในออโตเครฟ ท่ีมีไอนํ้ ารอน121 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที

(7) คอน หนักประมาณ 1 กิโลกรัม(8) โกรง และสาก ทํ าดวยเหล็กกลาแข็งและออกแบบใหไดขนาดดังรูปท่ี ก.1 หรือ

คลายคลึงกัน(9) ปเปต ขนาด 50 ลบ.ซม.(10) แรง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 200 มม. ตาตะแกรงทํ าดวยเหล็กกลาไรสนิมมี

ขนาดดังนี้(1) ขนาด 1 มม. (แรง ก.)(2) ขนาด 420 ไมโครเมตร (แรง ข)(3) ขนาด 300 ไมโครเมตร (แรง ค)ฝาครอบ จานรองรับ และขอบทํ าดวยเหล็กไรสนิมหรือไมทาแลกเกอร

(11) ภาชนะสํ าหรับเก็บตัวอยางพรอมท้ังฝาปด(12) เทอรโมมิเตอร อานไดละเอียด 0.5 องศาเซลเซียส(13) เครื่องอังนํ้ า ชนิดทํ าใหรอนโดยใชกาซหรือไฟฟา ควบคุมอุณหภูมิได บรรจุ

ขวดแกวปริมาตรขนาด 1 ลบ.เดซิเมตร ได(14) ขวดช่ังนํ้ าหนัก ขนาด 20 ลบ.ซม. พรอมฝาปด(15) เดสิกเกเตอร

ก.2 สารเคมี สารละลายที่ใช และวิธีเตรียมสารละลายทีใชท้ังหมด ตองเปนสารละลายข้ันรีเอเจนต(1) อะซิโตน(2) สารละลายตัวกัน (beffer solution) มีความเปนกรด-ดาง 5.2

เตรียมโดยเติมกรดซิตริก 0.1 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร จํ านวน 92.8 ลบ.ซม. ลงไปในไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.2 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตรจํ านวน 107.2 ลูกบาศกเซนติเมตร

(3) กรดซิตริก 0.1 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร

Page 71: Packing Rx

71

เตรียมโดยละลายกรดซิตริก (C6H8O7.H2O) นํ้ าหนัก 21.008 กรัม ในนํ้ าและทํ าใหเจือจางไดปริมาตรครบ 1 ลูกบาศกเดซิเมตร

(4) ไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.2 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตรเตรียมโดยละลายไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเหต (Na2HPO4.2H2O) 35.60กรัมในนํ้ า และทํ าใหเจือจางจนไดปริมาตรครบ 1 ลูกบาศกเดซิเมตร

(5) กรดดซัลฟุริก 0.01 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร(6) เมทิลเรดอินดิเคเตอรฃ

เตรียมโดยละลายเกลือโซเดียมของเมทิลเรด 25 มิลลิกรัมในนํ้ า 100 ลูกบาศกเซนติเมตร

(7) นํ้ ากล่ัน ตองเปนนํ้ ากล่ันหรือนํ้ า ดี-อิออไนส ท่ีปราศจากกาซและโลหะหนักละลายอยู (โดยเฉพาะทองแดงซึ่งทดสอบไดดวยวิธีไดไทโซน) มีความเหนี่ยวนํ าจํ าเพาะไมเกิน 0.1 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ท่ี 20 องศาเซลเซียส ใหทดสอบนํ้ ากล่ันทันทีกอนนํ าไปใชงาน

ก.3 การเตรียมตัวอยางก.3.1 หอตัวอยางท่ีมีความหนาเกิน 1.5 มิลลิเมตร หนักประมาณ 100 กรัม ดวย

กระดาษสีขาวสะอาด ใชคอนทุบ 2 ถึง 3 ครั้งใหแตกถายเศษแกวท่ีมีขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 10 ถึง 30 มิลลิเมตร ลงในโกรงเหล็กกลาแข็งวางสากลงแลวใชคอนทุบ 3 ถึง 4 ครั้ง ถายแกวใสแรง ก รอนเอาแกวท่ีละเอียดออกแลวนํ าไปรอนดวยแรง ข นํ าสวนท่ีคางบนแรง ก และ แรง ข ไปบดแลวรอนโดยวิธีเดียวกันอีก 2 ครั้ง เอาแกวออกจากจานรองรับใหหมด แลวใชมือเขยาแรงเปนเวลา 5 นาที เก็บเม็ดแกวทีเหลือคางบนแรง ค เพื่อทดสอบ

ก.3.2 ใชตัวอยางอยางนอย 35 กรัม หากมีความจํ าเปนตองบดและรอนตัวอยางเพิ่ม ใหใชตัวอยางท่ีคางบนแรง ค โดยไมตองรอนใหมอีก

ก.3.3 เม่ือบดและรอนตัวอยางเสร็จแลว ใหรวมตัวอยางเขาดวยกันเกล่ียตัวอยางบนกระดาษสีขาวสะอาด ใชแมเหล็กขจัดเศษเหล็ก ถายตัวอยางลงในภาชนะสํ าหรับเก็บแลวปดฝา

ก.4 วิธีทดสอบก.4.1 ถายตัวอยางท่ีบดแลว 11 กรัม ลงในขวดแกวรูปกรวยขนาด 250 ลูกบาศก

เซนติเมตร 3 ใบ เขยาเม็ดแกวในอะซิโตน 30 ลูกบาศกเซนติเมตร ขจัดผงท่ีปะปนอยู รินอะซิโตนออกใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได ทํ าเชนนี้ 6 ครั้ง วางขวดแกวรูปกรวยบนแผนใหความรอน เพื่อใหอะซิโตนระเหย แลวนํ า

Page 72: Packing Rx

72

เขาเตาอบท่ีอุณหภูมิ 140 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที เอาขวดแกวออกจากเตาอบ ถายเม็ดแกวจากแตละขวดแยกใสขวดช่ังนํ้ าหนัก เผยฝาขวดไวเล็กนอย แลวปลอยใหเย็นลงในเดสิกเคเตอร

ก.4.2 ถายตัวอยางท่ีเตรียมไว 10.00 กรัม จากขวดช่ังแตละใบแยกใสลงในขวดแกวรูปกรวยขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร เติมนํ้ ากล่ัน 50 ลูกบาศกเซนติเมตร โดยการใชปเปตและใชปเปตดูดนํ้ ากล่ัน 50 ลูกบาศกเซนติเมตร ใสลงในขวดแกวรูปกรวยอีกใบหนึ่งเพื่อทํ าเปนละลายแบลงก

ก.4.3 ควํ่ าบีกเกอรขนาด 50 ลูกบาศกเซนติเมตร ปดปากขวดแกวรูปกรวย โดยใหกนบีกเกอรดานในแนบสนิทกับปากขวดแกวรูปกรวยพอดี วางขวดแกวท้ัง 4 ใบในช้ันออโตเรฟบรรจุนํ้ าประมาณ 1 ลบ.ดม. โดยใหขวดแกวรูปกรวยวางอยูเหนือระดับนํ้ า ปดออโตเครฟ ยกเวนเฉพาะทอปรับความดันใหความรอนจนมีไอนํ้ าออกทางทอเปนเวลา 10 นาที ปดทอแลวเพิ่มอุณหภูมิในอัตรา 1 องศาเซลเซียสตอนาที จนมีอุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส รักษาอุณหภูมิท่ี 121±0.5 องศาเซลเซียสไวเปนเวลา 30 นาที แลวปลอยใหเย็นลงในอัตรา 0.5 องศาเซลเซียสตอนาทีจนอุณหภูมิลดลงเหลือ 100 องศาเซลเซียสเปดทอปรับความดันเพื่อปองกันการเกิดการสุญญากาศ

ก.4.4 ยกขวดแกวรูปกรวยออกจากออโตเครฟวางลงในอางนํ้ าเย็นและทํ าใหเย็นดวยการใหนํ้ าไหลผาน หยดเมทิลเรด 5 หยด เปนอินดิเคเตอร ลงในขวดแกวรูปกรวยแตละใบ และติเตรตกับกรดซัลฟวริก 0.01 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตรทันเทียบจุดยุติ (End point) กับสารละลายตัวดวยกัน 50 ลูกบาศกเซนติเมตร ซ่ึงหยดอินดิเคเตอรเชนเดียวกัน 5 หยุด ติเตรตสารละลายตัวอยางท้ังสองและสารละลายแบลงกโดยวิธีเดียวกัน

หมายเหตุ ในกรณีท่ีเปนแกวสีใหรินสารละลายสวนท่ีใสลงในขวดแกวรูปกรวย ขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ลางเม็ดแกวโดยเขยาในนํ้ ากล้ัน 25 ลูกบาศกเซนติเมตร แลวรินนํ้ าท่ีใชลางนี้รวมในสารละลายแรก เติมนํ้ ากล่ัน 25 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในสารละลายแบลงกแลวติเตรตและคํ านวณผลตามขอ ก.5

ก.5 การรายงานใหรายงานผลเปนปริมาตรของกรดซัลฟุริก 0.1 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร โดยเอา

คาท่ีไดจากการติเตรตสารละลายแบลงกลบออกจากคาท่ีไดจากการติเตรตสารละลายตัวอยางท้ังสามแลวหาคาเฉล่ีย

หมายเหตุ ถาความหนาของผนังขวดท่ีใชทดสอบนอยกวา 1.5 มิลลิเมตร ใหรายงานดวย

Page 73: Packing Rx

73

รูปท่ี ก.1 โกรงและสาก (ขอ ก.1(8))

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมขวดยาแกว

สํ าหรับรับบรรจุยานํ้ าที่ใชรับประทานขนาดระบุ 2000 และ 4000

1. ขอบขาย1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กํ าหนด รูปราง ขนาดระบุ ความจุและมิติ คุณ

ลักษณะท่ีตองการ การทํ าเครื่องหมาย การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน และการทดสอบ

1.2 มาตรฐานนี้กลาวถึงขวดยาแกว สํ าหรับบรรจุยานํ้ าท่ีใชรับประทานขนาดระบุ 2000 และ 4000 ซ่ึงตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา �ขวดยาแกว�

2. บทนิยามความหมายของคํ าท่ีใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ มีดังตอไปนี้2.1 ขนาดระบุ (nomonal size) หมายถึง ขนาดท่ีใชเรียกชื่อขวดยาแกว ซ่ึงจะมีคาเทากับ

ความจุถึงระดับบรรจต่ํ าสุด เปนลูกบาศกเซนติเมตร สํ าหรับขวดยาแกวขนาดระบุนั้น ๆ

3. รูปราง ขนาดระบุ ความจุ และมิติ3.1 ขวดยาแกวมีรูปราง ขนาดระบุ ความจุ มิติและรอยกันล่ืน (stippling) ท่ีกนขวด ดัง

รูปท่ี 1

Page 74: Packing Rx

74

3.2 ปากขวด (finish) มีขอกํ าหนดตาง ๆ ดังตอไปนี้3.2.1 มีรูปรางและมิติดังในรูปท่ี 2

เม่ือ β คือ มุมเอียงของเกลียว (helix angle)

)2

(tan

avav ETpitch

+=

πβ

3.2.2 รอยตอของเกลียวท่ีตอกันไมสนิทอันเนื่องจากแบบหลอ ยอมใหคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.10 มิลลิเมตร ท่ีตะเข็บของแบบหลอ และยอมใหเสนผานศุนยกลางของเกลียวตรงตะเข็บของแบบหลอคลาดเคล่ือนไดไมเกิน 0.2 มิลลิเมตร ในชวงความโคง 20 องศา

3.2.3 ความยาวของเกลียวตองไมนอยกวา ¼ รอบ ตรงปลายเกลียวสอบเขายาวไมนอยกวา ¼ รอบของความยาวเกลียว

3.2.4 มิติตาง ๆ จะวัดโดยใชวิธีมาตรฐานใดก็ได ยกเวนการวัดคา T ตองใชเครื่องวัดชนิดผานและไมผานดังตัวอยางรูปท่ี 3

4. คุณลักษณะที่ตองการ4.1 ลักษณะท่ัวไป

ความหนาของผนังขวดยาแกวตองสม่ํ าเสมอ ปากท่ีจะปดฝาขวดตองเรียบ4.2 สี

ตองเปนแกวใสไมมีสี (flint) หรือสีชา (amber)4.3 วัสดุท่ีใช

ขวดยาแกว ตองทํ าจากแกวโซดา-ไลม เม่ือทดสอบความเปนดางตาม มอก.362 ผนวก ก. แลวติเตรตดวยกรดซัลฟุริก 0.1 โมลตอลูกบาศกเซนติเมตร ปริมาตรเฉล่ียท่ีใชตองไมเกิน 15 ลูกบาศกเซนติเมตร

4.4 ความทนทานตอความรอนขวดยาแกว ตองสามารถทนทานตอความรอนไดโดยไมแตกหรือเสียหาย เม่ือทดสอบตาม มอก. 362 ขอ 7.2

4.5 การสงผานของแสงขวดยาแกวสีชา ตองมีอัตราการสงผานของแสงไมเกินรอยละ 10 ท่ีความยาวคล่ือนใด ๆ ระหวาง 290 นาโนเมตร ถึง 450 นาโนเมตร เม่ือทดสอบตาม มอก.362 ขอ 7.2

4.6 จํ านวนฟองอากาศ4.6.1 ตองไมมีฟองอากาศขนาดเกิน 2 มิลลิเมตร

Page 75: Packing Rx

75

4.6.2 ฟองอากาศท่ีมีขนาดไมเกิน 2 มิลลิเมตร ใหมีไดไมเกิน 200 ฟองตอนํ้ าหนักแกว 100 กรัม

การทดสอบเปนไปตาม มอก. 362 ขอ 7.45. การทํ าเคร่ืองหมาย

5.1 ท่ีกนขวดแกวดานนอกทุกขวด อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมาย แสดงขอความตอไปนี้เปนอักษรตัวนูน ใหเห็นไดงายชัดเจน และถาวร(1) ช่ือผูทํ าหรือโรงงานท่ีทํ า หรือเครื่องหมายการคา(2) ขนาดระบุในกรณีท่ีใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยท่ีกํ าหนดไว

5.2 ผูทํ าผลิตภัณฑอุตสาหกรรมท่ีเปนไปตามมาตรฐานนี้ จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นได ตอเม่ือไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมแลว

6. การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน6.1 ใหเปนไปตาม มอก. 362

Page 76: Packing Rx

76

Page 77: Packing Rx

77

Page 78: Packing Rx

78

Page 79: Packing Rx

79