newsletter 16-31 dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8....

6
BIOTEC Newsletter 16-31 ธันวาคม 2556 ไทย-ไตหวัน ประสบความสําเร็จในการพัฒนาวิธีการตรวจแบคทีเรีย สาเหตุกุงตายด(วน (EMS) และพรอมเป0ดเผยขอมูลเพื่อเป6นสาธารณประโยชน: คณะนักวิจัยไทยรวมกับไตหวัน ประสบความสําเร็จในการพัฒนาวิธีการตรวจแบคทีเรียสาเหตุกุงตายดวน (Early Mortality Syndrome: EMS) โดยคณะนักวิจัยไดตกลงเผยแพรขอมูลวิธีการตรวจสูสาธารณะเพื่อนําไปใชในการลดการระบาดของโรค ป>ญหากุงตายดวน หรือกุง EMS เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในประเทศจีน ในปB 2552 และ มีการแพรกระจายอยางรวดเร็วสูประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และไทย ในปB 2553 2554 และ 2555 ตามลําดับ จากตัวอยางกุงตายดวนที่ทําการศึกษา พบวามีตัวอยางที่มีโรค ของตับและตับออนวายฉับพลัน (Acute Hepatopancreatic Necrosis Disease, AHPND) เขามาเกี่ยวของ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นหลังการปลอยลูกกุงลงบอดินไมเกิน 35 วัน ใน ตนปB 2556 พบวาแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคนี้คือแบคทีเรียในกลุVibrio parahaemolyticus ในขณะนั้นถึงแมจะทราบสาเหตุของโรค แตการควบคุมและปWองกัน แบคทีเรียสาเหตุนี้เปXนไปไดยาก เนื่องจากยังขาดวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อกอโรคที่มี คณะนักวิจัยไทย นําโดย ศ. ดร. ทิมโมที เฟลเกล ผูเชี่ยวชาญจาก หนวยวิจัยเพื่อความเปXนเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุง ซึ่งเปXนหนวย งานวิจัยที่เกิดจากความรวมมือของศูนย\พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติและคณะวิทยาศาสตร\ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมมือกับคณะนักวิจัยไตหวันนําโดย Prof. Chu Fang Lo (National Cheng Kung University (NCKU)) ประสบความสําเร็จในการพัฒนา วิธีการตรวจแบคทีเรียสาเหตุกุงตายดวน EMS ดวยเทคนิคพีซีอาร\ (PCR) ซึ่งการตรวจแบคทีเรียกอโรคไดนี้จะชวยลดการแพรกระจายอยางรวดเร็วของเชื้อกอโรค EMS ลงได และลดความเสี่ยงในการ ระบาดของแบคทีเรียชนิดนี้ตอไป ดวยเล็งเห็นถึงผลกระทบของโรคระบาดนี้ตออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุงในระดับ โลก และความเรงดวนที่จะตองควบคุมการระบาด คณะนักวิจัยจึงไดเปgดเผย ขอมูลตางๆ ทั้งวิธีการ และลําดับเบสในการออกแบบไพรเมอร\สําหรับตรวจหา เชื้อดังกลาวสูสาธารณะ เพื่อใหผูประกอบการสามารถนําวิธีการไปใชเพื่อลด ความเสี่ยงการระบาดของโรคไดอยางกวางขวาง ในประเทศไทยงานวิจัยนี้เกิดจากความรวมมือระหวาง หนวยวิจัยเพื่อความ เปXนเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุง (Centex Shrimp) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร\ มหาวิทยาลัยบูรพาและคณะสาธารณสุขศาสตร\ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้ยังไดรับทุนสนับสนุนงานวิจัยในปB 2554 จาก สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค\การมหาชน) สวทช. มหาวิทยาลัยมหิดล ชมรมผูเลี้ยงกุป>ตตานี ชมรมผูเลี้ยงกุงสุราษฎร\ธานี สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย เครือเจริญโภคภัณฑ\ บริษัท ซายอาคควา สยาม จํากัด และ ไทยยูเนี่ยน กรุlป สวนหนวยงานในไตหวัน ไดแก สภาวิทยาศาสตร\แหงชาติไตหวัน (Taiwan National Science Council), มหาวิทยาลัย แหงชาติเชงกุง (National Cheng Kung University; NCKU), มหาวิทยาลัยแหงชาติไตหวัน (National Taiwan University; NTU) และ Uni- president Enterprises Corporation ความจําเพาะและรวดเร็ว ที่สามารถจะนําไปใชตรวจหาเชื้อกอโรคในพอพันธุ\แมพันธุ\ และคัดกรองลูกกุงกอนปลอยลงบอดินได

Upload: others

Post on 30-Oct-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

BIOTEC

Newsletter16-31 ธันวาคม 2556

ไทย-ไต�หวัน ประสบความสําเร็จในการพัฒนาวิธีการตรวจแบคทีเรียสาเหตุกุ�งตายด(วน (EMS) และพร�อมเป0ดเผยข�อมูลเพ่ือเป6นสาธารณประโยชน:

คณะนักวิจัยไทยร�วมกับไต�หวัน ประสบความสําเร็จในการพัฒนาวิธีการตรวจแบคทีเรียสาเหตุกุ�งตายด�วน (Early Mortality Syndrome: EMS) โดยคณะนักวิจัยได�ตกลงเผยแพร�ข�อมูลวิธีการตรวจสู�สาธารณะเพ่ือนําไปใช�ในการลดการระบาดของโรค

ป>ญหากุ�งตายด�วน หรือกุ�ง EMS เร่ิมมีการระบาดคร้ังแรกในประเทศจีน ในปB 2552 และมีการแพร�กระจายอย�างรวดเร็วสู�ประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และไทย ในปB 2553 2554 และ 2555 ตามลําดับ จากตัวอย�างกุ�งตายด�วนท่ีทําการศึกษา พบว�ามีตัวอย�างท่ีมีโรคของตับและตับอ�อนวายฉับพลัน (Acute Hepatopancreatic Necrosis Disease, AHPND) เข�ามาเกี่ยวข�อง ซึ่งมักจะเกิดขึ้นหลังการปล�อยลูกกุ�งลงบ�อดินไม�เกิน 35 วัน ในต� นปB 2556 พบว� า แบค ที เ รี ย ท่ี ก� อ ให� เ กิ ด โ รคนี้ คื อ แบค ที เ รี ย ในกลุ� ม Vibrioparahaemolyticus ในขณะนั้นถึงแม�จะทราบสาเหตุของโรค แต�การควบคุมและปWองกันแบคทีเรียสาเหตุนี้เปXนไปได�ยาก เนื่องจากยังขาดวิธีการตรวจวินิจฉัยเช้ือก�อโรคท่ีมี

คณะนักวิจัยไทย นําโดย ศ. ดร. ทิมโมที เฟลเกล ผู�เช่ียวชาญจากหน�วยวิจัยเพ่ือความเปXนเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ�ง ซึ่งเปXนหน�วยงานวิจัย ท่ี เกิดจากความร�วมมือของศูนย\ พัน ธุ วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห�งชาติและคณะวิทยาศาสตร\ มหาวิทยาลัยมหิดล ร�วมมือกับคณะนักวิจัยไต�หวันนําโดย Prof. Chu Fang Lo (National Cheng Kung University (NCKU)) ประสบความสําเร็จในการพัฒนาวิธีการตรวจแบคทีเรียสาเหตุกุ�งตายด�วน EMS ด�วยเทคนิคพีซีอาร\(PCR) ซึ่งการตรวจแบคทีเรียก�อโรคได�นี้จะช�วยลดการแพร�กระจายอย�างรวดเร็วของเช้ือก�อโรค EMS ลงได� และลดความเสี่ยงในการระบาดของแบคทีเรียชนิดนี้ต�อไป ด�วยเล็งเห็นถึงผลกระทบของโรคระบาดนี้ต�ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ�งในระดับ

โลก และความเร�งด�วนท่ีจะต�องควบคุมการระบาด คณะนักวิจัยจึงได�เปgดเผยข�อมูลต�างๆ ท้ังวิธีการ และลําดับเบสในการออกแบบไพรเมอร\สําหรับตรวจหาเช้ือดังกล�าวสู�สาธารณะ เพ่ือให�ผู�ประกอบการสามารถนําวิธีการไปใช�เพ่ือลดความเสี่ยงการระบาดของโรคได�อย�างกว�างขวาง

ในประเทศไทยงานวิจัยนี้เกิดจากความร�วมมือระหว�าง หน�วยวิจัยเพ่ือความเปXนเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ�ง (Centex Shrimp) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร\ มหาวิทยาลัยบูรพาและคณะสาธารณสุขศาสตร\ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้ยังได�รับทุนสนับสนุนงานวิจัยในปB 2554 จาก สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัยแห�งชาติ (วช.) สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค\การมหาชน) สวทช. มหาวิทยาลัยมหิดล ชมรมผู�เลี้ยงกุ�งป>ตตานี ชมรมผู�เลี้ยงกุ�งสุราษฎร\ธานี สมาคมอาหารแช�เยือกแข็งไทย เครือเจริญโภคภัณฑ\ บริษัท ซายอาคควา สยาม จํากัด และ ไทยยูเนี่ยน กรุlป ส�วนหน�วยงานในไต�หวัน ได�แก� สภาวิทยาศาสตร\แห�งชาติไต�หวัน (Taiwan National Science Council), มหาวิทยาลัยแห�งชาติเชงกุง (National Cheng Kung University; NCKU), มหาวิทยาลัยแห�งชาติไต�หวัน (National Taiwan University; NTU) และ Uni-president Enterprises Corporation

ความจําเพาะและรวดเร็ว ท่ีสามารถจะนําไปใช�ตรวจหาเช้ือก�อโรคในพ�อพันธุ\แม�พันธุ\ และคัดกรองลูกกุ�งก�อนปล�อยลงบ�อดินได�

Page 2: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

BIOTEC Newsletter

Page 2 of 6

การประชุมเวทีข�าวไทย คร้ังท่ี 7

เ ม่ือวันท่ี 16 ธันวาคม 2556 สวทช. ร�วมกับ มูลนิ ธิข�าวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ\ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร\ กรมการข�าว ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ\การเกษตร (ธ.ก.ส.) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค\การมหาชน) (สวก.) และสมาคมชาวนาข�าวไทย จัดการประชุมเวทีข�าวไทย ค ร้ั ง ท่ี 7 ภ า ย ใ ต� หั ว ข� อ “อ น า ค ต ข� า ว ไ ท ย ใ น เ ว ที ก า ร ค� า ข� า ว โ ล ก ” ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร\ วิทยาเขตบางเขน ภายในงานได�รับเกียรติจากนายสัตวแพทย\ยุคล ลิ้มแหลมทอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว�าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ\ เปXนประธานเปgดการประชุม และปาฐกถาพิเศษ เร่ือง “นโยบายรัฐและแนวทางการพัฒนาข�าวและชาวนาไทย” โดยมีเกษตรกรชาวนา ผู�แทนภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวข�องกับข�าว นักวิชาการ นักวิจัยผู�เช่ียวชาญเร่ืองข�าว เข�าร�วมประชุม จํานวนโดยประมาณ 500 คน

โดยในงานนี้ สวทช. ไบโอเทค และ เนคเทค ได�ร�วมนําเสนอผลงานวิจัย ได�แก� การปรับปรุงพันธุ\ข�าว, โปรแกรมบริหารจัดการคุณภาพข�าวไทย Mobile GAP : Rice, ระบบแผนท่ีนาเพ่ือการเพ่ิมผลผลิตและลดต�นทุนการผลิต และโปรแกรม

การประชุมเวทีข�าวไทยจัดขึ้นเปXนประจําทุกปB คร้ังนี้ นับเปXนคร้ังท่ี 7 โดยมีวัตถุประสงค\เพ่ือให�ผู�เข�าประชุมมีความเข�าใจท่ีดีขึ้นเกี่ยวกับเร่ืองเวทีการค�าข�าวโลก ความสัมพันธ\กับการค�าข�าวไทย และสถานภาพข�าวของประเทศคู�แข�ง รวมท้ังการเปลี่ยนแปลงในตลาดข�าวโลกท่ีคาดว�าจะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้ โดยร�วมกันวิเคราะห\ผลกระทบต�อการค�าข�าวไทยในตลาดโลก

คํานวณการผสมปุyยเคมี เปXนต�น ซึ่งเทคโนโลยีเหล�านี้ สามารถช�วยลดความเสียหายพืชผลของเกษตรกรจากภัยธรรมชาติ และยังสามารถช�วยเพ่ิมผลผลิตและลดต�นทุนการผลิตได�อีกด�วย

ท้ังความท�าทายต�อระบบการผลิตข�าวและชีวิตความเปXนอยู�ของชาวนาไทย สรุปความคิดเห็นของผู�ท่ีมีส�วนเกี่ยวข�องกับข�าวไทยโดยตรง และจัดทําข�อเสนอแนะแก�หน�วยงานท่ีเกี่ยวข�องท้ังภาครัฐและเอกชน

ประกาศผลสํารวจ 10 ข(าวดังวิทยาศาสตร:และเทคโนโลยีประจําป? 2556

เม่ือวันท่ี 27 ธันวาคม 2556 สวทช. ประกาศผลการจัดอันดับ 10 ข�าวดังวิทยาศาสตร\และเทคโนโลยี ประจําปB 2556 เพ่ือส�งเสริมความเข�าใจข�าวสารทางวิทยาศาสตร\และเทคโนโลยีของประชาชนท่ัวไป ซึ่งในปBนี้ได�รับความร�วมมือจากหน�วยงานภายใต�สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร\และเทคโนโลยี ทําการเก็บรวบรวมข�อมูลจากนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป โดยได�รวบรวมข�าวสารด�านวิทยาศาสตร\และเทคโนโลยีท้ังในและต�างประเทศท่ีเกิดขึ้นระหว�างวันท่ี 1 ธันวาคม 2555 – 15 พฤศจิกายน 2556 ผลการสํารวจ 10 ข�าวดังวิทยาศาสตร\และเทคโนโลยีประจําปB 2556 ได�แก� 1. น้ํามันร่ัวและ

Page 3: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

BIOTEC Newsletter

Page 3 of 6

เทคโนโลยีการกําจัดคราบน้ํามันท่ีจังหวัดระยอง 2. App. จีนแต�งรูปสุดฮิต ใครไม�อัพตกเทรนด\ 3. ข�าว สารรมข�าว และผลการตรวจสอบ 4. ระทึกอุกกาบาตตกท่ีรัสเซีย 5. การประมูลทีวีดิจิทัล 6. อาวุธเคมีซีเรีย ปลิดชีพ 1,300 ศพ 7. สั่งจําคุก 7 ปBนักธุรกิจอังกฤษหลอกขาย จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค�าสูงจากข�าวและยางของไทย 9. มศว. เปgดเคร่ืองรักษามะเร็งมูลค�า 60 ล�านบาทใช�คลื่นความร�อนยิงผ�านผิวหนังไร�แผล ไม�ต�องผ�าตัด 10. ล�างพิษตับ เทรนด\สุขภาพใหม� - จริงหรือลวง

หนังสือ พืชจีเอ็ม: มุมมองกระแสโลก

หนังสือ “พืชจีเอ็ม: มุมมองกระแสโลก” เปXนหนังสือท่ี ไบโอเทค จัดทําขึ้น เพ่ือรวบรวมข�อมูลสถานภาพพืชดัดแปลงพันธุกรรมในแง�ต�างๆ ตั้งแต�พ้ืนฐานของการของการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม สถานภาพแนวโน�มการวิจัยและพัฒนา และสถานภาพการปลูกเพ่ือการพาณิชย\ของประเทศต�างๆ รวมท้ัง นําเสนอสถานภาพล�าสุดของประเทศไทย ท้ังในแง�การวิจัยพัฒนา การกํากับดูแล ประเด็นท�าทายท่ีประเทศไทยจะต�องเผชิญ และข�อเสนอแนวทางมาตรการเพ่ือรองรับในเร่ืองดังกล�าว ซึ่งเปXนประโยชน\ต�อนักวิชาการ ผู�ท่ีเกี่ยวข�องกับการกําหนดนโยบาย และผู�สนใจในการใช�เปXนข�อมูลประกอบการวิเคราะห\เพ่ือนําไปสู�การพัฒนาท่ีเหมาะสมของประเทศ

อ� า น ร าย ล ะ เ อี ย ด เ พ่ิ ม เ ติ ม ไ ด� ท่ี http://www.biotec.or.th/th/index.php/announced-thai/news-organization/460-2013-12-20-03-51-52

ผลการแข(งขันกีฬาภายใน สวทช.

สวทช. กําหนดจัดกีฬาภายใน สวทช. ระหว�างวันท่ี 20 พฤศจิกายน - 20 ธันวาคม 2556 โดยมีการแบ�งออกเปXน 6 สีตามหน�วยงานต�างๆ ดังนี้ ฟWา (CT) ม�วง (TMC) แดง (NECTEC) เขียว (BIOTEC) เหลือง (MTEC) และส�ม (NANOTEC) ซึ่งมีการแข�งขันกีฬาประเภทต�างๆ ท้ังหมด 18 ประเภท ได�แก� ฟุตบอล ฟุตซอล วอลเลย\บอลชาย วอลเลย\บอลหญิง บาสเกตบอลชาย บาสเกตบอลหญิง กอล\ฟ ว่ิงมินิมาราธอน ปาเปWา เซป>กตระกร�อ เปตอง แบดมินตัน เทนนิส เทเบิลเทนนิส โบว\ลิ่ง ว�ายน้ํา จักรยานแรลลี่ กีฬามหาสนุก และกีฬาสาธิต 1 ประเภท ได�แก� ยิงป�น นอกจากนี้ยังมีการแข�งขันประกวดกองเชียร\อีกด�วย

ด�วยความร�วมแรงร�วมใจของชาวไบโอเทค ทําให�สีเขียวเปXนแชมป�ในกีฬา 3 ประเภท คือ เปตอง แบดมินตนั และว่ิงมินิมาราธอน

ในปBนี้สีท่ีได�ครองถ�วยชนะเลิศรวมกีฬา ได�แก� สีแดง ส�วนรองชนะเลิศได�แก� สีเหลือง สีเขียว สีส�ม ตามลําดับ สําหรับการประกวดกองเชียร\นั้น รางวัลชนะเลิศตกเปXนของ สีส�ม รองชนะเลิศได�แก� สีแดง สีม�วง สีเหลือง ตามลําดับ

Page 4: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

Page 4 of 6

BIOTEC Newsletter

กิจกรรมหน(วยบริการเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาชนบท

สามารถดูภาพบรรกาศในงานเพ่ิมเติม ได�ท่ี S:\Share-All\กีฬาสี สวทช.2556ขอบคุณภาพจาก คุณวุฒิชัย เหมือนทอง คุณชัยวัฒน\ บุตรไชย คุณระพีพัฒน\ สุวรรณกาศ และคุณไพรัตน\ ป>ญญารักกิจ

วันท่ี 20 ธันวาคม 2556 คุณชายกร สินธุสัย นักวิชาการหน�วยบริการเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาชนบท จัดฝ�กอบรม เพ่ือเพ่ิมความรู�ความเข�าใจ เกี่ยวกับเร่ือง อันตรายท่ีเกิดขึ้นในอาหารและชีวิตประจําวัน หลักการ 5 ส. สุขาภิบาลเบ้ืองต�นในการประกอบอาหาร และระบบมาตรฐานสุขลักษณะท่ีดีในการปฏิบัติงาน (GHP) รวมท้ัง หลักเกณฑ\วิธีการท่ีดีในการผลิตอาหาร (GMP) การฝ�กอบรมคร้ังนี้เปXนส�วนหนึ่งในกิจกรรมภายใต� โครงการถ(ายทอดความรู�และติดตามผลการดําเนินงานของสถานีวิจัยโครงการหลวง ซึ่งจัดให�แก�เจ�าหน�าท่ีและพนักงานของศูนย\พัฒนาโครงการหลวงทุ�งหลวง ศูนย\พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง และศูนย\พัฒนาโครงการหลวงแม�สะป�อก จ. เชียงใหม�

สามารถดูภาพบรรกาศในงานเพ่ิมเติม ได�ท่ี S:\Share-All\กีฬาสี สวทช.2556ขอบคุณภาพจาก คุณวุฒิชัย เหมือนทอง คุณชัยวัฒน\ บุตรไชย คุณระพีพัฒน\ สุวรรณกาศ และคุณไพรัตน\ ป>ญญารักกิจ

Page 5: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

Page 5 of 6

BIOTEC Newsletter

กิจกรรมเย่ียมชม

16 ธันวาคม 2556 ดร. วีระพงษ\ มาลัย กรรมการและเลขานุการ พร�อมคณะกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค\การมหาชน) เข�าเยี่ยมชมพร�อมหารือความร�วมมือกับไบโอเทค โดยมี อ. วันเชิญ โพธาเจริญ ท่ีปรึกษาห�องปฏิบัติการเก็บรวบรวมสายพันธุ\จุลินทรีย\ และคุณดวงแก�ว จงขจรพงษ\ ผู�อํานวยการอาวุโส ฝ�ายความร�วมมือระหว�างประเทศและประชาสัมพันธ\ ให�การต�อนรับ จากนั้นคณะฯ ได� เข�า เยี่ยมชมห�องปฏิบัติการเทคโนโลยี เอนไซม\ ห�องปฏิบัติการเก็บรวบรวมสายพันธุ\จุลินทรีย\ และห�องปฏิบัติการปฏิสัมพันธ\ของจุลินทรีย\ โดยมี ดร. ดุริยะ จันทสิงห\ ดร. ศศิธร จินดามรกฎ และ ดร. สายัณห\ สมฤทธ์ิผล แนะนํางานวิจัย

23 ธันวาคม 2556 คณะอาจารย\และนักศึกษา จากคณะวิทยาศาสตร\ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เข�าเยี่ยมชม ห�องปฏิบัติการสรีรวิทยาและชีวเคมีด�านพืช ห�องปฏิบัติการผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดี โดยมี ดร. เกรียงไกร โมสาลียานนท\ และ ดร. อรวรรณ หิมานันโต แนะนํางานวิจัย

25 ธันวาคม 2556 Prof. Makoto Azuma ตําแหน�ง Professor of Management, Graduate School of Innovation Studies จาก Tokyo University of Science และ Dr. Nobuhiro Gemma ตําแหน�ง Chief Fellow, Corporate Research & Development จาก Toshiba Corporation เข�าเยี่ยมชมห�องปฏิบัติการเทคโนโลยีเอนไซม\ ห�องปฏิบัติการผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดี และ ห�องปฏิบัติการไมโครอะเรย\แบบครบวงจร โดยมี คุณดวงแก�ว จงขจรพงษ\ ผู�อํานวยการอาวุโส ฝ�ายความร�วมมือระหว�างประเทศและประชาสัมพันธ\ให�การต�อนรับ บรรยายภาพรวมไบโอเทค พร�อมนําคณะฯ เยี่ยมชมและแนะนํางานวิจัยตามลําดับ

Page 6: newsletter 16-31 Dec 2013 final - biotec.or.th · จีที 200 8. นวัตกรรมมูลค าสูงจากข าวและยางของไทย 9. มศว

Page 6 of 6

BIOTEC Newsletter

ติดตามข(าวสารไบโอเทค ได�ที่

BIOTEC Homepage: http://www.biotec.or.th

http://www.youtube.com/biotecthailand

http://www.facebook.com/biotecthailand

BIOTEC Newsletter จัดทําขึ้นเพ่ือเผยแพร�ประชาสัมพันธ\กิจกรรมของ ไบโอเทค สําหรับชาว สวทช.สนใจฝากประกาศข�าวประชาสัมพันธ\ กรุณาติดต�องานประชาสัมพันธ\ไบโอเทค [email protected]

ตารางกิจกรรม

ศูนย\การประชุมแห�งชาติสิริกิติ์ จ. กรุงเทพฯ

The 10th International Mycological Congress

3-8 สิงหาคม 2557

ศูนย\นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา จ. กรุงเทพฯ

การสัมมนา Korea – Thailand Joint Symposium on Nutraceuticals and Cosmeceuticals

20 กุมภาพันธ\ 2557

ศูนย\นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา จ. กรุงเทพฯ

The 1st ASEAN Microbial Biotechnology Conference 2014 (AMBC2014)

19-21 กุมภาพันธ\ 2557

โรงแรม เคพี แกรนด\ จ. จันทบุรีงานกุ�งจันท\ตะวันออกแฟร\ คร้ังท่ี 1818-19 มกราคม 2557

อ. มวกเหล็ก จ. สระบุรีเทศกาลโคนมแห�งชาติ 17-22 มกราคม 2557

อุทยานวิทยาศาสตร\ประเทศไทย จ. ปทุมธานี

การสัมมนา เร่ือง Curator Course Program for Microbial Resources Management

13-16 มกราคม 2557