new 2. · 2017. 5. 6. · 2....

19
1. เมื่อสัตว์มารวมอยู ่เป็นหมู ่พวก ย่อมมีการแสดงพฤติกรรมที่เข้าใจกันใน ระหว่างพวกของตนพฤติกรรมดังกล่าวเรียกว่า พฤติกรรมทางสังคม เช่น พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีเมื่อจะผสมพันธุ ์ พฤติกรรมการเตือนภัย หรือการ บอกแหล่งอาหาร เป็นต้น 2. พฤติกรรมที่ใช้เป็ นสื่อ ในการติดต่อซึ่งกันและกันภายในฝูงสัตว์หรือต ่างชนิด กัน อาจมีพฤติกรรมการเรียนรู ้ ซึ่งมีหลายอย ่าง เช่น :- 2.1 การสื่อด้วยท ่าทาง (Visual signal) เป็นการแสดงท่าทางและการเคลื่อนไหว ของสัตว์ต่างๆ ซึ่งใช้เป็นสัญญาณในการสื่อสารระหว ่างกัน มีหลายประเภท เช่น

Upload: others

Post on 17-Oct-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • 1. เมื่อสัตว์มารวมอยู่เป็นหมู่พวก ย่อมมีการแสดงพฤติกรรมที่เข้าใจกันใน

    ระหว่างพวกของตนพฤติกรรมดังกล่าวเรียกว่า พฤติกรรมทางสังคม เช่น

    พฤติกรรมการเกีย้วพาราสีเมื่อจะผสมพันธ์ุ พฤติกรรมการเตือนภัย หรือการ

    บอกแหล่งอาหาร เป็นต้น

    2. พฤติกรรมที่ใช้เป็นส่ือ ในการติดต่อซ่ึงกนัและกนัภายในฝูงสัตว์หรือต่างชนิดกนั อาจมพีฤติกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงมหีลายอย่าง เช่น :-

    2.1 การส่ือด้วยท่าทาง (Visual signal) เป็นการแสดงท่าทางและการเคลือ่นไหวของสัตว์ต่างๆ ซ่ึงใช้เป็นสัญญาณในการส่ือสารระหว่างกนั มีหลายประเภท เช่น

  • ภาพ ก. ลกัษณะการขู่ในสุนัขโดยการที่มีขนพอง

    ข. แสดงพฤติกรรม Submissive ในสุนัขป่าตัวที่แพ้จะเข้าไปเลยีปากและนอนหงายท้อง

    1. การแสดงท่าอ่อนน้อม เคารพ ยอมแพ้ เอาอกเอาใจ (Greeting หรือ

    Submissive behavior) เช่น ในสัตว์ที่ต่อสู้กนั เมื่อฝ่ายใดรู้สึกว่าตัวเองแพ้ ก็

    จะแสดงลกัษณะท่าทางยอมแพ้ อ่อนน้อม ทําให้อกีฝ่ายลดความโกรธลง เช่น

    สุนัข และงูกะปะ

  • 2. การแสดงออกโดนใช้ท่าทางและสีหน้า (Facial expression) เมื่อ

    เวลาคดิ โกรธ ตกใจ ร่าเริง เช่น ในสุนัข แมว คน และลงิชิมแพนซี

    3. พฤติกรรมในการเกีย้วพาราสี (Courtship behavior) ในการอยู่

    ร่วมกนัของสัตว์จะมช่ีวงหน่ึงเมือ่ถึงวยัและฤดูผสมพันธ์ุสัตว์ต้อง

    ใช้สัญลกัษณ์เฉพาะเพือ่เข้าไปใกล้กนัก่อนการผสมพันธ์ุ แบบแผน

    ของพฤตกิรรมจะเกดิขึน้สัมพนัธ์ซ่ึงกนัและกนั เช่น

  • ในนกกระเรียน (Crowned cranes) ใช้การเต้นรําแสดงการเกีย้วเหมือนคนป่าแถบแอฟริกาที่ใช้เต้นรําส่วยตัวไปมาในพธีิต่างๆ

    ในนกแกนเนท (Gannet) ที่อาศัยอยู่ทางแอตแลนติกเหนือ จะแสดงพฤติกรรมการเกีย้วที่มีแบบแผนเฉพาะดังรูป

  • 4. การส่ือด้วยท่าทางของผึง้งาม เมื่อผึง้ไปหาอาหาร และพบแหล่งอาหารจะ

    บินกลับมาแสดงการเต้นรํา (Special dance) เพื่อบอกถึงแหล่งอาหารให้

    พรรคพวกเดียวกนัทราบ คือ 4.1 การเต้นแบบวงกลม (Round dance) 4.2 การเต้นแบบเลขแปด (Waggle dance)

    การเต้นแบบวงกลม แสดงว่าแหล่งอาหารอยู่ใกล้ ห่างจากรังไม่เกิน 70 เมตร

    การแสดงเร่ิมจากเดินไปข้างหน้า แล้ววิง่เป็นเลขแปด โดยวิง่เป็นวงกลมมาจึงเร่ิมต้นแล้ววิ่ง

    ไปข้างหน้าอีก หมุนตัวเป็นวงกลมไปอีกทิศทางหน่ึง

    การเต้นแบบเลขแปด แสดงว่าแหล่งอาหารอยู่ไกลเกินกว่า 70 เมตร การแสดง

    เร่ิมจากเดินไปข้างหน้า แล้วิง่เป็นเลขแปด โดยวิง่เป็นวงกลมมาจึงเร่ิมต้นแล้ววิง่ไปข้างหน้า

    อีก หมุนตัวเป็นวงกลมไปอีกทิศทางหน่ึง

  • ภาพพฤติกรรมการเต้นแสดงท่าของผึง้

    การเต้นท้ัง 2 แบบนี้จะส่ายท้องไปด้วย ความเร็วในการส่ายท้องจะบอกปริมาณ

    อาหาร ถ้าส่ายเร็วมากแสดงว่ามีอาหารมาก ถ้าส่ายช้าแสดงว่ามอีาหารน้อย

    ภาพการส่ือสารโดยใช้ท่าทางของห่าน

    ภาพการส่ือสารในปลาซิชลดิ

  • 1. ถ้าการส่ือสารน้ันเกดิขึน้เพือ่การผสมพนัธ์ุเฉพาะสัตว์ใน

    สปีชีส์เดยีวกนัเท่าน้ันทีจ่ะสนองตอบ ทาํให้เกดิการผสมพนัธ์ุ

    ภายในสปีชีส์เดยีวกนั ทาํให้ดาํรงพนัธ์ุอยู่ได้

    2. มคีวามสําคญัต่อส่ิงมชีีวติในด้านความปลอดภัยและอืน่ๆ เช่น

    การแสดงท่าอ่อนน้อม ยอมแพ้ ทาํให้อกีฝ่ายลดความก้าวร้าวลง

  • 2.2 การส่ือด้วยเสียง (Sound signal) เสียงของสัตว์ใช้เป็นส่ือติดต่อระหว่างกนั และก่อให้เกิดปฏิกิริยาตามชนิดของเสียงน้ัน ถือว่าเป็นการเรียนรู้อย่างหน่ึง ในธรรมชาติสัตว์มกัส่งเสียงเพือ่จุดประสงค์ต่างๆ กนั หลายอย่าง เช่น

    1. เสียงเรียกเตือนภัย (Warning calls) เป็นเสียงเตือนให้เพือ่นร่วมชนิดรู้ว่ามศัีตรูมา เช่น กระรอกและนกจะส่งเสียงร้องก่อนทีจ่ะหนี

    พวกกระแตในฟิลปิปินส์ จะส่งเสียงเป็นสัญญาณให้กนัและกนั มกีารตอบโต้ไปมาทาํให้ผู้ล่า (Predator) เช่น งู ไม่ทราบแน่ว่าเหยือ่อยู่ทีใ่ด

  • ในไก่ เมื่อมีภัยอนัตราย แม่ไก่จะส่งเสียงร้องเรียกลูกไก่เข้ามาอยู่ใต้ปีก เพื่อให้พ้นอันตราย (การส่งเสียงร้องของแม่ไก่ เป็นรีเฟลกซ์ต่อเน่ือง ส่วนลูกไก่วิง่เข้าหาเสียงร้องของแม่ไก่เป็นพฤตกิรรมแทกซิส)

    2. เสียงเรียกติดต่อ (Contact calls) ใช้เป็นสัญญาณให้เกิดการรวมกลุ่มกนั เช่น ในพวกแกะ นก และสิงโตทะเล

  • 3. เสียงเป็นส่ือแสดงความโกรธ การขู่ ความกลัว บอกการเป็นเจ้าของสถานที่ เช่น ในนก Black bird จะใช้เสียงดึงดูดตัวเมีย และในขณะเดียวกันก็จะใช้เสียงอันเดียวกันนี้ไ ล่ตัว ผู้อื่นๆ ให้ออกจากอาณาเขตที่ เ ป็นเจ้าของ (Territory) ถ้ามีนกตัวอื่นรุกลํ้าเข้าไป ตัวที่เป็นเจ้าของสถานที่จะแสดงพฤติกรรมข่มขู่โดยชูคอขึน้ จะงอยปากอ้า ขนที่หัวเรียบ หางตกพร้อมทั้งผึง่ออกทั้งหางและปีก แต่ตัวบุกรุกจะแสดงการอ่อนน้อม โดยการหมอบตัวลง ยกหางขึน้ ขนตั้งชัน

  • 4. เสียงเรียกคู่ (Mating calls) เป็นเสียงส่งสัญญาณให้สัตว์อื่นๆ ที่เป็นชนิดเดยีวกนัรู้ ทําให้เกิดการค้นหาเพื่อการผสมพันธ์ุ เสียงน้ันจะบอกชนิดของเจ้าของเสียง เพราะสัตว์แต่ละสปีชีส์จะมีเสียงเรียกคู่เฉพาะ เช่น

    4.1 ในพวกยุงลาย ตวัผู้จะสนใจเสียงขยบัปีกของยุงตวัเมยีชนิดเดยีวกนั และจะบินตามเสียงนีเ้มือ่พบตวัเมยีกจ็ะผสมพนัธ์ุกนั

    4.2 ในพวกจิง้หรีด ตวัผู้จะสีปีกเข้าด้วยกนัทาํให้เกดิเสียงทีด่งึดูดจิง้หรีดตวัเมยีให้มาหา และกระตุ้นให้เกดิพฤตกิรรม ผสมพนัธ์ุ

  • 4.3 กบตัวผู้มีถุงที่ทําให้เกิดเสียง (Vocal sac) สําหรับเรียกตัวเมียมาผสมพันธ์ุกับตัวเมียที่มีฮอร์โมนเพศอยู่ในเลือดระดับสูง และมีไข่อยู่เต็มท้อง จะตอบสนองต่อเสียงของกบตัวผู้โดยการเคลือ่นที่เข้าหาเพือ่การผสมพนัธ์ุ

    4.4 ในนก จะใช้เสียงเพลงเป็นส่ือความหมายโดยมีเสียงเพลงที่เฉพาะเจาะจงในแต่ละสปีชีส์ซ่ึงมีผลทําให้ดึงดูดตัวเมียและในเวลาเดียวกันก็ใช้เป็นเสียงไล่ตัวผู้อื่นๆ ด้วย นกตัวใดที่ร้องเพลงได้ดังที่สุดจะมีอาณาบริเวณใหญ่ที่สุด ซ่ึงจะมีผลต่อการสืบพันธ์ุในระยะต่อมา เช่น ในนกกระจอกชนิดหน่ึง (Song -sparow)

    5. เสียงกําหนดสถานที่ของวัตถุ (Echolocation) เช่น ในปลาโลมา ค้างคาว สามารถกาํหนดสถานที่ของแหล่งอาหารโดยรับเสียงสะท้อนกลบั

  • 2.3 การส่ือด้วยการสัมผัส (Physical contact) การสัมผัสเป็นส่ือสําคัญอย่างหน่ึงของสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนํ้านม เช่น พฤติกรรมการเลีย้งลูกของลิง ซ่ึงมีการสัมผัสซ่ึงกันและกันมีส่วนสําคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาทางอารมณ์ของลูกอ่อน เช่น การลดพฤตกิรรมการก้าวร้าว เกดิความมัน่ใจ ไม่มคีวามหวาดกลัว ลิงที่ขาดการเลีย้งดูโดยแม่มักจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวออกมาเสมอ เช่น ฮาร์โลว์ (1962) ทดลองเลีย้งลิงรีซัส (Rhesus monkey) ไว้โดยไม่มีแม่ พบว่าเมื่อโตขึ้น ลิงตัวเมียไม่ค่อยแสดงพฤติกรรมในการเลีย้งลูกของมนั บางคร้ังยงัแสดงการข่มขู่อกีด้วย

  • 1. การสัมผัส เป็นส่ือบอกถึงความเป็นมิตรหรืออ่อนน้อม เช่น สุนัข จะเข้าไปเลียปากให้กับตัวที่มีอํานาจเหนือกว่า หรือลิงชิมแพนซีจะยืน่มอืให้ลงิตวัทีม่อีาํนาจเหนือกว่าจบัในลกัษณะหงายมอืให้จบั

    การใช้ส่ือสัมผสัในสัตว์ จะแสดงความหมายและวตัถุประสงค์ต่างกนั

    หลายลกัษณะ เช่น

  • ภาพแสดงการที่ลูกนกนางนวลใช้จะงอยปากจิกที่

    จะงอยปากของแม่

    ภาพลูกนกนางนวลจิกที่จุดสีแดงที่ปากแม่

    เพือ่ขออาหาร

    2. การสัมผัสเป็นส่ือเพื่อขออาหาร เช่น ลูกนกนางนวลบางชนิด (Herring gull) ใช้จะงอยปากจิกที่จุดสีแดงบริเวณจะงอยปากของแม่เพือ่กระตุ้นให้ตัวแม่ไปหาอาหารมาให้

  • 2.4 การส่ือด้วยสารเคมี (Chemical signal) สารเคมีที่สัตว์สร้างขึน้มาสามารถใช้เป็นส่ือติดต่อเพื่อจุดประสงค์ต่างๆ สัตว์บางชนิดใช้ฟีโรโมนเป็นส่ือเพือ่ส่ือให้พวกเดยีวกนัแสดงพฤตกิรรมต่างๆ เช่น

    1. ใช้ดงึดูดเพศตรงข้าม (Sex attractant) เช่น พวกผเีส้ือกลางคืนตัวเมียสามารถปล่อยฟีโรโมนออกมาจากร่างกายแม้เพียงเล็กน้อย แต่ก็สามารถกระตุ้นให้ผีเส้ือกลางคืนตัวผู้ที่อยู่ห่างไกลหลายกโิลเมตรบินมาหาได้ถูก

    ในแมลงสาบตัวเมียขณะที่รังไข่เจริญเต็มที่ ผิวลําตัวจะหลั่ง ฟีโรโมน

    ออกมาเพือ่ไปกระตุ้นให้ตวัผู้มาเกีย้วพาราสีและจะหลัง่ฟีโรโมนอกีคร้ัง แต่

    จะหยุดหลัง่เมือ่ได้รับการผสมพนัธ์ุเรียบร้อย

  • 2. ใช้แสดงความเป็นเจ้าของอาณาเขต (Territory) เช่น กวางบางชนิดเช็ดสารทีห่ลัง่จากต่อมบริเวณหน้า (Facial gland) ป้ายตามต้นไม้ตามทาง

    3. ใช้บอกแหล่งอาหาร เช่น ในมดจะปล่อยฟีโรโมนที่เป็นสารเคมีพวกกรดฟอร์มิกไว้ตามทางเดิน (Trail pheromone) จากแหล่งอาหารจนถึงรัง ทําให้มดสามารถเดินตามกลิน่น้ันไปยังแหล่งอาหารได้ แต่ถ้าไม่พบอาหารก็จะปล่อยสารฟีโรโมนออกมา เวลาเดินกลบัรัง

  • 4. การเตือนเหตุ (Alarm substance) เช่น

    ปลาบางชนิดเมื่อได้รับบาดเจ็บ สารเคมีที่สะสมอยู่ที่เซลล์ผิวหนังจะแพร่กระจายไปในนํ้าเป็นสารเตือนภัย ไม่ให้

    พรรคพวกเข้ามาในแหล่งนํ้าแหล่งน้ัน โดยสารเคมีน้ัน

    สามารถออกฤทธ์ิอยู่นานเป็นช่ัวโมงหรือเป็นวนั

    ผึ้ง เมื่อต่อยศัตรูมันจะปล่อยสารเคมีออกไปเพื่อใช้บอกตําแหน่งของศัตรู และชักนําให้ผึง้งานซ่ึงอยู่ใกล้บินมาช่วย

  • 5. ใช้นําทาง เช่น สุนัขและสัตว์ปีก ใช้ปัสสาวะ อุจจาระหรือสารเคมจีากต่อมพเิศษบอกเส้นทางเดนิ

    6. ใช้สําหรับการรวมกลุ่ม (Aggregated pheromone) เช่น ด้วงเจาะ

    ไม้ ตัวเมียจะเข้าเจาะต้นไม้ก่อน แม้จะมียางต้นไม้ไหลออกมา

    สารระเหยจากยางต้นไม้จะเสริมฤทธ์ิ ฟีโรโมนจากตัวเมียดึงดูด

    ตวัผู้ให้มารวมกลุ่ม เมื่อมีแมลงมารวมกันมากขึน้ ตัวผู้จะสร้างฟี

    โรโมนออกมาห้ามทั้ง ตัวผู้และตัวเมียไม่ให้มาเกาะที่ต้นน้ันอีก

    ทําให้แมลงเหล่าน้ันไปเจาะต้นอื่นเป็นเหตุให้เกิดการระบาดของ

    แมลงได้รวดเร็ว